งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวทางบริหารการให้วัคซีน ป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาลประจำปี 2560

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวทางบริหารการให้วัคซีน ป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาลประจำปี 2560"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวทางบริหารการให้วัคซีน ป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาลประจำปี 2560
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 9 นครราชสีมา Update 20 เมษายน 2560

2 1. วัตถุประสงค์ เริ่มรณรงค์ 1 มิ.ย. 2560 เน้นหนัก 1 มิ.ย. - 31 ส.ค. 60
1. กลุ่มเป้าหมายได้รับวัคซีนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของวัคซีนทั้งหมด ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 7 กลุ่ม (ปอดอุดกั้นเรื้อรัง , หอบหืด , หัวใจ , หลอดเลือดสมอง , ไตวาย , เบาหวาน , ผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับเคมีบำบัด) ผู้สูงอายุ > 65 ปี หญิงตั้งครรภ์ > 4 เดือน เด็กอายุ 6 เดือน - 2 ปี 2. วัคซีนสูญเสียไม่เกินร้อยละ 5 ของวัคซีนทั้งหมด เริ่มรณรงค์ 1 มิ.ย. 2560 เน้นหนัก 1 มิ.ย ส.ค. 60

3 2. กลุ่มเป้าหมาย ปี บุคลากรกลุ่มเสี่ยง : บุคลากรทางการแพทย์ เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการ , เจ้าหน้าที่ทำลายสัดว์ปีก ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 7 กลุ่ม : ปอดอุดกั้นเรื้อรัง หอบหืด หัวใจ หลอดเลือดสมอง ไตวาย เบาหวาน ผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัด + ปี + 1. ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 7 กลุ่ม 2. ผู้สูงอายุ > 65 ปี ปี 1. ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 7 กลุ่ม 2. ผู้สูงอายุ > 65 ปี 3. หญิงตั้งครรภ์ > 4 เดือน 4. เด็กอายุ 6 เดือน - 2 ปี + ปี กรมควบคุมโรค จัดสรรวัคซีนบุคลากร สปสช. จัดสรรวัคซีนประชาชน

4 กลุ่มเป้าหมายปี 2560 400,000 โด๊ส บุคลากรกลุ่มเสี่ยง : บุคลากรทางการแพทย์ เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการ , เจ้าหน้าที่ทำลายสัดว์ปีก ประชาชนกลุ่มเสี่ยง ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 7 โรค อายุ > 65 ปี หญิงตั้งครรภ์ > 4 เดือน เด็กอายุ 6 เดือน - 2 ปี 3.1 ล้านโด๊ส ปี 53 – บุคลากร 400,000 dose , ประชาชน 1,977,000 dose = 2,377,000 dose ปี 54 – บุคลากร 400,000 dose , ประชาชน 2,400,000 dose = 2,800,000 dose ปี 55 – บุคลากร 450,000 dose , ประชาชน 2,844,000 dose = 3,294,000 dose (แผนซื้อวัคซีนประชาชน 3.1 ล้าน dose , แต่ไม่ผ่านการทดสอบ 256,000 dose) ปี 56 – บุคลากร 500,000 dose , ประชาชน 3,000,000 dose = 3,500,000 dose ปี – บุคลากร 400,000 dose , ประชาชน 3,000,000 dose = 3,400,000 dose บุคคลกลุ่มเสี่ยงอื่นๆ (ตามที่คณะอนุกรรมการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคกำหนด) ผู้พิการทางสมองที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ ผู้ป่วยธาลัสซีเมีย , ผู้ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง (รวมถึงผู้ติดเชื้อ HIV ที่มีอาการ) บุคคลโรคอ้วน (น้ำหนักตัว > 100 กิโลกรัม หรือ BMI > 35 kg/ตารางเมตร ) ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 7 กลุ่ม : ปอดอุดกั้นเรื้อรัง , หอบหืด , หัวใจ , หลอดเลือดสมอง , ไตวาย , เบาหวาน , ผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับเคมีบำบัด

5 3. ข้อมูลวัคซีนสายพันธุ์ปี 2017 Vaccine Southern strain
ประกอบด้วย 3 สายพันธุ์ : ชนิด A (H1N1) , ชนิด A (H3N2) , ชนิด B ปี Vaccine Southern strain ชนิด A (H1N1) ชนิด A (H3N2) ชนิด B 2551 Solomon Islands/3/2006 Brisbane/10/2007 Florida/4/2006 2552 Brisbane/59/2007 2553 Calilfornia/7/2009 Perth/16/2009 Brisbane/60/2008 2554 2555 2556 Victoria/361/2011 Wisconsin/1/2010 2557 Texas/50/2012 Massuchusetts/2/2012 2558 Switzerland/ /2013 Phuket/3073/2013 2559 A/Hong Kong/4801/2014 2560 Michigan/45/2015

6 6

7 ผลิตจากเชื้อไวรัสชนิดเชื้อตาย (Inactivated vaccine)
ประกอบด้วย Ag ที่คล้าย Ag ของไวรัส แพร่พันธุ์ในไข่ไก่ฟัก ** ห้ามใช้ในคนที่แพ้ไข่ โปรตีนจากไก่ วัคซีนไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 แบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ วัคซีนที่ผลิตจาก 'ไวรัสเชื้อเป็น' กับ 'ไวรัสเชื้อตาย' 1. วัคซีนเชื้อตาย (Inactivated vaccine) ใช้วิธีการฉีดเหมือนวัคซีนทั่วไป ข้อดีคือ มีความปลอดภัยสูงเพราะเชื้อไวรัสตายแล้วไม่เพิ่มจำนวนให้เกิดอันตรายแก่ร่างกาย และใช้วิธีฉีดที่คุ้นเคย ข้อเสียคือ ต้องใช้ไข่ปลอดเชื้อจำนวนมาก วัคซีน 1 โด๊สอาจต้องใช้ไข่ไก่ 1 ฟอง ประกอบกับการผลิตทำได้ช้ากว่าวัคซีนเชื้อเป็น 2. วัคซีนเชื้อเป็น (Live attenuate vaccine) ต้องใช้วิธีพ่นผ่านจมูกเข้าไปตามระบบทางเดินหายใจของมนุษย์ เชื้อไวรัสเมื่อเจอกับอุณหภูมิร่างกายจะเจริญเติบโตได้ในระดับหนึ่ง แต่เชื้อไวรัสจะอ่อนฤทธิ์จนไม่สามารถทำให้ร่างกายเป็นโรค ทำได้เพียงกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันขึ้นมาเท่านั้น ข้อดีคือ ร่างกายสามารถสร้างภูมิคุ้มกันได้มากกว่าวัคซีนเชื้อตาย และผลิตได้ปริมาณมากกว่า เท่าต่อไข่ 1 ฟอง แต่ทว่าประเทศที่มีเทคโนโลยีผลิตวัคซีนเชื้อเป็นมีแค่อเมริกากับรัสเซียเท่านั้น

8 ภูมิคุ้มกันเกิดขึ้น ภายใน 2 - 3 สัปดาห์หลังฉีด
ภูมิคุ้มกัน อยู่ได้นาน 1 ปี >> ต้องฉีดทุกปี ไม่สามารถป้องกันโรคหวัดทั่วไป / โรคอื่นที่มีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ อาการไม่พึงประสงค์ ปวดศรีษะ เหงื่อออก ปวดกล้ามเนื้อ ปวดข้อ ไข้ รู้สึกไม่สบายตัว สั่น อ่อนแรง อาการเฉพาะที่ : ปวด บวม แดง ห้อเลือด ตุ่มนูนรอบบริเวณที่ฉีด ** หายได้เองภายใน 1 -2 วัน โดยไม่ต้องรับการรักษา

9 การฉีดวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่
Route of administration ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ (IM) ปริมาณวัคซีน (cc) อายุ 6 เดือน – 3 ปี cc / dose อายุ > 3 ปี cc / dose จำนวนครั้งที่ให้วัคซีน อายุ 6 เดือน – 9 ปี ฉีด 2 ครั้ง ห่างกัน 1 เดือน อายุ > 9 ปี ฉีด 1 ครั้ง

10 ผลิตโดยบริษัท Abbott Biologicals , ประเทศเนเธอแลนด์
จัดสรรวัคซีนประชาชน Influvac 2017 – Single dose (ราคา บาท/dose) ผลิตโดยบริษัท Abbott Biologicals , ประเทศเนเธอแลนด์

11 อยู่ระหว่างรอภาพจริงปี 2017
Influenza vaccine – Multiple dose (4 dose/vial) (ราคา บาท/vial = บาท/0.5 ml dose) อยู่ระหว่างรอภาพจริงปี 2017 ผลิตโดยบริษัท Sanofi Pasteur , ประเทศฝรั่งเศส แบ่งบรรจุโดย GPO-MBP

12 4. ปริมาณจัดสรรวัคซีน (ประชาชน)
ระดับประเทศ ประชาชน 4 กลุ่มเป้าหมาย = 12,227,180 คน จัดซื้อวัคซีน = 3,100,000 โด๊ส ( %) ปี 58 ประชาชน 4 กลุ่มเป้าหมาย = 11,323,717 คน จัดซื้อวัคซีน = 3,000,000 โด๊ส ( %)

13 ประชาชน 4 กลุ่มเป้าหมาย
ระดับเขต 9 จังหวัด ประชาชน 4 กลุ่มเป้าหมาย ยอดจัดสรรวัคซีน (สสจ. ยืนยัน) ปรับเกลี่ยระดับเขต 7 โรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ > 65ปี เด็ก 6ด.-2ปี ญ.ตั้งครรภ์ >4ด. รวม นครราชสีมา 189,394 209,237 69,997 12,989 481,617 122,106 บุรีรัมย์ 106,471 119,082 43,366 9,083 278,002 70,483 สุรินทร์ 76,719 119,443 37,701 9,310 243,173 61,653 ชัยภูมิ 88,007 93,654 28,619 5,953 216,233 54,822 เขต 9 460,591 541,416 179,683 37,335 1,219,025 309,064 ยอดจัดสรรรายหน่วยบริการ

14 “ First come First serve ”
5. แผนการดำเนินงาน 1. เพื่อให้เกิดประสิทธิผลสูงสุดต่อการควบคุมโรค หน่วยบริการควรทำแผนเร่งรัดการดำเนินงาน 2 ช่วง - ช่วงเร่งรัด 2 เดือนแรก ( 1 มิ.ย. – 31 ก.ค. 60) - ช่วงเก็บตกเดือน ส.ค. 60 2. องค์การเภสัชกรรมจ้างบริษัท Zuellig / DKSH จัดส่งวัคซีน ภายในเดือน พ.ค. 60 “ First come First serve ”

15 6. งบประมาณสนับสนุน 1. งบประมาณ 2. การบันทึกข้อมูล :
** ปีงบ 2560 งบค่าใช้จ่ายการจัดการและค่าชดเชยบริการให้วัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่จะไม่แยกออกมาเป็นการเฉพาะดังที่ผ่านมา แต่จะเหมารวมอยู่ในงบบริการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสำหรับบริการพื้นฐานที่จัดสรรให้หน่วยบริการ 2. การบันทึกข้อมูล : บันทึกผ่าน OP/PP Individual record 43/50 แฟ้ม , แฟ้ม EPI รหัสวัคซีนส่งออก 815 Chronic Obstructive Pulmonary Desease (COPD) J41-J43 J44 Asthma J45-J46 Heart Disease I05-09,I11,I13,I20-I52 Cerebrovascular Disease I60-I69 Diabetes Mellitus (DM) E10-E14 Chronic Renal Failure N18-N19 Cancer Z511 Thalassemia D56 Systemic lupus erythematosus M32 Human Immunodeficiency (HIV) B20-B24 Pregnancy O00-O99 Obesity E66 Mental/Congenital Abnormalities F70-F79,Q00-Q99

16 7. ผลการดำเนินงานปี 2559 ระดับประเทศ :
% ผลงานเทียบประชาชนกลุ่มเป้าหมาย (%Coverage) = % (เป้าหมาย > 25%) % ผลงานเทียบกับปริมาณจัดสรรวัคซีน (%Achieve) = % (เป้าหมาย > 80%) ปี 57 % Coverage (ผลงานเทียบประชาชนกลุ่มเป้าหมาย) = 24.13% (เป้าหมาย > 25%) % Achieve (ผลงานเทียบยอดจัดสรรวัคซีน) = 88.37% (เป้าหมาย > 90%) ที่มา : ปี โปรแกรมโครงการวัคซีนไขหวัดใหญ่ , ปี OP Individual 43 แฟ้ม + โปรแกรมFlu + BPPDS ณ 30/11/2559

17 ผลงานปี 2559 (แยกรายเขต) เขต 9 นครราชสีมา
% ผลงานเทียบประชาชนกลุ่มเป้าหมาย (%Coverage) = % (เป้าหมาย > 25%) % ผลงานเทียบกับปริมาณจัดสรรวัคซีน (%Achieve) = % (เป้าหมาย > 80%) ปี 57 % Coverage (ผลงานเทียบประชาชนกลุ่มเป้าหมาย) = 24.13% (เป้าหมาย > 25%) % Achieve (ผลงานเทียบยอดจัดสรรวัคซีน) = 88.37% (เป้าหมาย > 90%) ที่มา : OP Individual 43 แฟ้ม +โปรแกรมFlu + BPPDS (บันทึกข้อมูล 1 พ.ค. – 31 ต.ค. 59)

18 ผลงานปี 2559 (แยกรายจังหวัด)
ที่มา : OP Individual 43 แฟ้ม +โปรแกรมFlu + BPPDS (บันทึกข้อมูล 1 พ.ค. – 31 ต.ค. 59)

19 สรุปประเด็นแตกต่างจากปี 2559
ปี 2560 1. ตัวชี้วัด 1. กลุ่มเป้าหมายได้รับวัคซีนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของวัคซีนทั้งหมด 2. วัคซีนสูญเสียไม่เกินร้อยละ 5 ของวัคซีนทั้งหมด เหมือนเดิม 2. ข้อมูลวัคซีน 1. สายพันธุ์วัคซีน Type A H1N1 Calilfornia/7/2009 Type A H3N2 A/Hong Kong/4801/2014 Type B Brisbane/60/2008 Type A H1N1 Michigan/45/2015 2. บริษัทวัคซีน (ประชาชน) Single dose – Influvac 2016 ผลิตโดย Abbott Biologicals, เนเธอแลนด์ Multiple dose – Influenza Vaccine ผลิตโดย Sanofi Pasteur , ฝรั่งเศส แบ่งบรรจุโดย GPO-MBP 3. งบประมาณ 1. ค่าบริการตามผลงาน (Workload) เหมาจ่าย 20 บาท/dose ตามจำนวนวัคซีนที่หน่วยบริการได้รับจัดสร เหมารวมอยู่ในงบบริการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค สำหรับบริการพื้นฐานที่จัดสรรให้หน่วยบริการ 2. ค่าสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ จัดสรรให้ CUP ละ 15,000 บาท 4. กำหนดการรณรงค์ 1 พฤษภาคม – 31 กรกฎาคม 2559 1 มิถุนายน – 31 สิงหาคม 2560 (เลื่อนไป 1 เดือน)

20 ประเด็นแตกต่างจากปี 58 (ต่อ)
ปี 59 3. งบประมาณ 1. ค่าบริการตามผลงาน (Workload) เหมาจ่าย 20 บาท/dose ตามจำนวนวัคซีนที่หน่วยบริการได้รับจัดสรร เหมารวมอยู่ในงบบริการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค สำหรับบริการพื้นฐานที่จัดสรรให้หน่วยบริการ 2. ค่าสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ จัดสรรให้ CUP ละ 15,000 บาท

21 ทำอย่างไรให้บริการฉีดวัคซีน
อย่างมีประสิทธิภาพ และคุ้มค่าที่สุด เน้นประชาชน 4 กลุ่มเสี่ยงเข้าถึงบริการเป็นสำคัญ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 7 กลุ่ม (ปอดอุดกั้นเรื้อรัง , หอบหืด , หัวใจ , หลอดเลือดสมอง , ไตวาย , เบาหวาน , ผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับเคมีบำบัด) ผู้สูงอายุ > 65 ปี หญิงตั้งครรภ์ > 4 เดือน เด็กอายุ 6 เดือน - 2 ปี *


ดาวน์โหลด ppt แนวทางบริหารการให้วัคซีน ป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาลประจำปี 2560

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google