กลุ่ม 1 ด้านการคาดการณ์ลักษณะอากาศระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว ระยะสั้น (48 ชั่วโมง) ข้อมูล ระบบวิเคราะห์ แผนงาน เพื่อจัดทำข้อมูล ระบบวิเคราะห์ และพัฒนาบุคลากร ผลการตรวจอากาศ : อุณหภูมิ, ความกดอากาศ, ความชื้น, ทิศทางความเร็วลม, เมฆ, ฝน ข้อมูลการตรวจวัดระยะไกล: เรดาร์/ดาวเทียม ผลจากแบบจำลองการพยากรณ์อากาศ; ECMWF, GFS, KMA, JMA, US Navy, และ อื่นๆ ระบบ HPC ของ กรมอุตุฯ (ส่งมอบ 26 ก.ย. 60 และอยู่ระหว่างตรวจรับงวดสุดท้าย) แบบจำลอง WRF/WRF-ROMS การวิเคราะห์แผนที่อากาศด้วยวิธีการลากเส้นแสดงค่าองค์ประกอบทางอุตุนิยมวิทยา เช่น ความกดอากาศ ความเร็วและทิศทางลมทุก 6 ชั่วโมง เพื่อให้ทราบลักษณะอากาศปัจจุบัน การพยากรณ์อากาศโดยใช้ความรู้ ประสบการณ์ของนักพยากรณ์อากาศผนวกเข้ากับการพยากรณ์อากาศจากแบบจำลอง ผสานเข้ากับผลการวิเคราะห์ด้วยเรดาร์และดาวเทียม พัฒนาเทคนิคขั้นสูงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของระบบคาดการณ์ เช่น Data assimilation (3DVAR, 4DVAR) พัฒนาเทคนิคขั้นสูงในการปรับผลจากแบบจำลอง เช่น Model Output Statistics : MOS , Bias-Correction พัฒนาบุคลากรที่มีความรู้ด้านอุตุนิยมวิทยา อาทิ การแปลความหมายจากภาพถ่ายเรดาร์และดาวเทียม องค์ความรู้พายุหมุนเขตร้อน พัฒนาบุคลากรที่มีความรู้ในการพัฒนาแบบจำลองการพยากรณ์อากาศเชิงตัวเลข WRF: Weather Research and Forecasting, ROMS: Regional Ocean Modeling System , ECMWF: European Centre for Medium-Range Weather Forecasts, GFS: Global Forecast System KMA: Korea Meteorological Administration , JMA: Japan Meteorological Agency, US Navy: United States Navy หน้า 1/3
กลุ่ม 1 ด้านการคาดการณ์ลักษณะอากาศระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว ระยะกลาง (7-10 วัน) ข้อมูล ระบบวิเคราะห์ แผนงาน เพื่อจัดทำข้อมูล ระบบ วิเคราะห์ และพัฒนาบุคลากร ผลจากแบบจำลองการพยากรณ์อากาศ; ECMWF, GFS, KMA, JMA, US NAVY, และ อื่นๆ ใช้เทคนิคเดียวกับการคาดการณ์ระยะสั้น แผนเดียวกับการคาดการณ์ระยะสั้น ดัชนีมรสุม ต่างๆ Madden Julian Oscillation (MJO), Indian ocean dipole (IOD), El Nino Southern Oscillation (ENSO), ข้อมูลผลการตรวจอากาศ, ข้อมูล SST จากแบบจำลองต่าง ๆ วิเคราะห์โดยใช้ CPT (Climate Predictability Tool), CCA (Canonical Correlation Analysis) วิเคราะห์โดยใช้วิธีสถิติ นักอุตุนิยมวิทยาตัดสินใจพยากรณ์ระยะนาน วิจัยและพัฒนา ระบบวิเคราะห์ แบบจำลองสำหรับคาดการณ์ และจัดเตรียมข้อมูลที่เหมาะสม พัฒนาบุคคลากรที่มีความรู้ด้านภูมิอากาศและแบบจำลองภูมิอากาศและสถิติ ระยะยาว (2 สัปดาห์ ถึง 1 เดือน) ECMWF: European Centre for Medium-Range Weather Forecasts, GFS: Global Forecast System KMA: Korea Meteorological Administration , JMA: Japan Meteorological Agency, US Navy: United States Navy หน้า 2/3
กลุ่ม 1 ด้านการคาดการณ์ลักษณะอากาศระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว ระยะยาว (ฤดูกาล) ข้อมูล ระบบวิเคราะห์ แผนงาน เพื่อจัดทำข้อมูล ระบบ วิเคราะห์ และพัฒนาบุคลากร แบบจำลองภูมิอากาศ : ECMWF, KMA, TCC, BCC, WRF ข้อมูลเชื่อมโยงระยะไกล, Pacific Decadal Oscillation (PDO), Ocean Nino Index (ONI) และ Dipole Mode Index (DMI) วิเคราะห์หาค่าปกติจากข้อมูลผลการตรวจอากาศ เฉลี่ย 30 ปี (ปี พ.ศ. 2524 - 2553) วิเคราะห์ว่าผลการพยากรณ์จากแบบจำลองมีลักษณะอย่างไร เมื่อเทียบกับค่าปกติ (สูงกว่า/ต่ำกว่า/ใกล้เคียง) พิจารณาความสอดคล้องของแต่ละ Model ทำการพยากรณ์ออกไป โดยการใช้ค่าปกติเป็นพื้นฐาน วิเคราะห์สถิติพายุจร คาดการณ์ความเร็วและ เส้นทางพายุ พยากรณ์โดยใช้เทคนิคการจัดกลุ่มความคล้ายคลึงของดัชนีเชื่อมโยงระยะไกล พัฒนาเทคนิคขั้นสูงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของระบบคาดการณ์ เช่น Dynamic Model และ Hybrid system พัฒนาบุคคลากรที่มีความรู้ด้านภูมิอากาศแบบจำลองภูมิอากาศ และสถิติ ECMWF: European Centre for Medium-Range Weather Forecasts KMA: Korea Meteorological Administration TCC : Tokyo Climate Center BCC: Beijing Climate Center หน้า 3/3