งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำ และจัดสรรน้ำ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำ และจัดสรรน้ำ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำ และจัดสรรน้ำ
ครั้งที่ 17/2555 วันพฤหัสบดีที่ 20 กันยายน 2555 สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร 1

2 วาระการประชุม ติดตามสถานการณ์จากการคาดการณ์สัปดาห์ที่แล้ว
ติดตามสถานการณ์จากการคาดการณ์สัปดาห์ที่แล้ว การคาดการณ์สถานการณ์น้ำในสัปดาห์หน้า วิเคราะห์และประเมินสถานการณ์น้ำประจำสัปดาห์ สรุปผลการประเมินและวิเคราะห์สถานการณ์น้ำประจำสัปดาห์ เพื่อนำเสนอที่ประชุมคณะอนุกรรมการ วันศุกร์ น. เกณฑ์การบริหารจัดการน้ำลุ่มน้ำเจ้าพระยา 2

3 หัวข้อการประชุม ข้อเสนอแนะจากคณะอนุฯ วันที่ 19 ก.ย. 55 และคณะทำงานฯ วันที่ 13 ก.ย. 55 เฝ้าระวังฝนตกหนัก ช่วงวันที่ ก.ย. 55 จะมีฝนตกหนักบริเวณภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคใต้ตอนบน เนื่องจากร่องมรสุมกำลังปานกลางพาดผ่านบริเวณดังกล่าว ส่วนภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือจะมีฝนลดลง การบริหารน้ำในเขื่อน เฝ้าติดตามปริมาณน้ำในเขื่อนที่อยู่ในสภาวะน้ำน้อยวิกฤต ประกอบด้วย เขื่อน ลำตะคอง ปริมาณน้ำกักเก็บ 30% เขื่อนลำพระเพลิง ปริมาณน้ำกักเก็บ 31% เขื่อนลำปาว ปริมาณน้ำกักเก็บ 27% โดยเขื่อนทั้งสามปริมาณน้ำกักเก็บต่ำกว่าปี 2553 ซึ่งเป็นปีที่เกิดภัยแล้ง เขื่อนภูมิพลและเขื่อนสิริกิติ์ เนื่องจากบริเวณท้ายเขื่อนมีปริมาณน้ำค่อนข้างมาก จึงเสนอให้ระบายน้ำที่เขื่อนภูมิพลไม่เกินวันละ 3 ล้านลูกบาศก์เมตร ส่วนเขื่อนสิริกิติ์ไม่เกินวันละ 3 ล้านลูกบาศก์เมตร ทั้งนี้หากปริมาณน้ำไม่เพียงพอต่อการผลิตน้ำประปา กฟผ. จะหารือกับกรมชลประทาน เพื่อปรับการระบายให้เหมาะสมต่อไป 3

4 หัวข้อการประชุม ข้อเสนอแนะจากคณะอนุฯ วันที่ 19 ก.ย. 55 และคณะทำงานฯ วันที่ 13 ก.ย. 55 (ต่อ) 3) การระบายน้ำในลุ่มน้ำเจ้าพระยา เนื่องจากเกิดน้ำท่วมในหลายพื้นที่บริเวณแม่น้ำเจ้าพระยาตอนล่าง ประกอบกับจะมีฝนตกในพื้นที่ ช่วงวันที่ ก.ย. 55 จึงเสนอให้ ฝั่งตะวันออก เสนอให้ระบายผ่าน ปตร.พระนารายน์ ไม่เกินวันละ 60 ลูกบาศก์เมตร/วินาที ทั้งนี้ให้พิจารณาปริมาณน้ำท่าในพื้นที่เป็นสำคัญ พร้อมกับควบคุมการระบายน้ำผ่านเขื่อนพระรามหก เพื่อรองรับปริมาณฝนที่จะตกเพิ่มเติมและควบคุมปริมาณน้ำที่จะไหลเข้าสู่แม่น้ำเจ้าพระยา ฝั่งตะวันตก เสนอให้แบ่งระบายน้ำทางด้านตะวันตกของแม่น้ำท่าจีนผ่านทางคลองเจ็ดริ้วและคลองตาขำ เพื่อระบายน้ำลงสู่คลองสุนัขหอนผ่านคลองชายทะเลลงสู่อ่าวไทย นอกจากนี้ให้เพิ่มการระบายผ่านคลองลัดแม่น้ำท่าจีน เพื่อใช้เร่งพร่องน้ำจากพื้นที่ด้านบน 4

5 สรุปสถานการณ์ปัจจุบัน
20 กันยายน 2555

6 รายงานสถานการณ์ฝน

7 แผนภาพฝนสะสมรายวัน (13-15 ก.ย. 55)
13 ก.ย. 55 14 ก.ย. 55 15 ก.ย. 55 ที่มา: กรมอุตุนิยมวิทยา

8 แผนภาพฝนสะสมรายวัน (16-19 ก.ย. 55)
16 ก.ย. 55 17 ก.ย. 55 18 ก.ย. 55 19 ก.ย. 55 ที่มา: กรมอุตุนิยมวิทยา

9 แผนภาพฝนสะสมระหว่างวันที่ 13-19 ก.ย. 55
ที่มา: กรมอุตุนิยมวิทยา

10 ปริมาณฝนสะสมย้อนหลัง
ย้อนหลัง 3 วัน ย้อนหลัง 7 วัน

11 รายงานสถานการณ์น้ำในเขื่อน

12 สถานการณ์น้ำเขื่อนภูมิพล
ปริมาณน้ำกักเก็บ ปริมาณน้ำไหลลงอ่างรายวัน 57% (19 ก.ย.55) ปริมาณน้ำระบายรายวัน รับน้ำได้อีก 5,816 ล้าน ลบ.ม. 19 ก.ย. 55 ระบาย 0.50 ล้าน ลบ.ม. ที่มา : กรมชลประทาน,การไฟฟ้าฝ่ายผลิต

13 สถานการณ์น้ำเขื่อนสิริกิติ์
ปริมาณน้ำในอ่าง ปริมาณน้ำไหลลงอ่างรายวัน 64% (19 ก.ย.55) ปริมาณน้ำระบายรายวัน รับน้ำได้อีก 3, 382 ล้าน ลบ.ม. 19 ก.ย. 55 ระบาย 2 ล้าน ลบ.ม. ที่มา : กรมชลประทาน,การไฟฟ้าฝ่ายผลิต

14 สถานการณ์น้ำเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
ปริมาณน้ำในอ่าง ปริมาณน้ำไหลลงอ่างรายวัน 54% ( 19 ก.ย.55) รับน้ำได้อีก 358 ล้าน ลบ.ม. 19 ก.ย.55 ระบาย 13 ล้าน ลบ.ม. ที่มา : กรมชลประทาน,การไฟฟ้าฝ่ายผลิต

15 สถานการณ์น้ำเขื่อนลำปาว
ปริมาณน้ำในอ่าง ปริมาณน้ำไหลลงอ่างรายวัน 26% (19 ก.ย.55) ปริมาณน้ำไหลเข้าน้อยมาก ปริมาณน้ำระบายรายวัน รับน้ำได้อีก 1,457 ล้าน ลบ.ม. 19 ก.ย.55 ระบาย 3 ล้าน ลบ.ม. ที่มา : กรมชลประทาน,การไฟฟ้าฝ่ายผลิต

16 รายงานสถานการณ์น้ำท่า

17 คลองพระยาบรรลือ สถานี THA006- บางตาเถร อ.สองพี่น้อง
2.46 ม.รทก. (19/9/ น.)

18 คลองพระพิมล สถานี THA007- บางเลน จ.นครปฐม
2.39 ม.รทก. (19/9/ น.)

19 แม่น้ำปราจีนบุรี สถานี PRC002 - เมืองปราจีนบุรี
5.22 ม.รทก. (19/9/ น.)

20 แม่น้ำเจ้าพระยา สถานี C.2 – ค่ายจิรประวัติ
1,784 ลบ.ม./วิ (20/9/55 )

21 แม่น้ำเจ้าพระยา สถานี C.13 – เขื่อนเจ้าพระยา
1,631 ลบ.ม./วิ (20/9/55 )

22 สถานการณ์น้ำที่ปตร.มโนรมย์
122 ลบ.ม./วิ (20/9/55 )

23 สถานการณ์น้ำที่ปตร.มหาราช
30 ลบ.ม./วิ (20/9/55 )

24 สถานการณ์น้ำที่ปตร.มะขามเฒ่า-อู่ทอง
5 ลบ.ม./วิ (19/9/55 )

25 สถานการณ์น้ำที่ปตร.พลเทพ
20 ลบ.ม./วิ (19/9/55 )

26 สถานการณ์น้ำที่ปตร.บรมธาตุ
39 ลบ.ม./วิ (19/9/55 )

27 สถานการณ์น้ำที่เขื่อนพระรามหก
347 ลบ.ม./วิ (20/9/55 )

28 สถานการณ์น้ำที่ ปตร.พระนารายน์
31 ลบ.ม./วิ (20/9/55 )

29 รายงานสมดุลน้ำรายเดือน ลุ่มเจ้าพระยาตอนบน

30 สมดุลน้ำรายเดือนลุ่มน้ำปิงเปรียบเทียบ ม.ค. – 16 ก.ย. 2555
อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่ อ.แม่แจ่ม อ.ฮอต จ.เชียงใหม่ อ.ดอยสะเก็ด อ.สารภี อ.สันกำแพง จ.เชียงใหม่ อ.เมือง อ.แม่ทา จ.ลำพูน อ.คลองขลุง อ.เมือง จ.กำแพงเพชร อ.อมก๋อย จ.เชียงใหม่ อ.แม่ระมาด อ.สามเงา จ.ตาก

31 สมดุลน้ำรายเดือนลุ่มน้ำวังเปรียบเทียบ ม.ค. – 16 ก.ย. 2555
อ.เมืองปาน อ.แจ้ห่ม จ.ลำปาง อ.แจ้ห่ม อ.วังเหนือ จ.ลำปาง อ.เมืองปาน อ.เมือง อ.ห้างฉัตร จ.ลำปาง อ.แม่ทะ อ.แม่เมาะ จ.ลำปาง อ.เสริมงาม จ.ลำปาง อ.เถิน อ.แม่พริก จ.ลำปาง อ.แม่พริก อ.บ้านตาก จ.ตาก

32 สมดุลน้ำรายเดือนลุ่มน้ำยมเปรียบเทียบ ม.ค. – 16 ก.ย. 2555
อ.สอง อ.ร้องกวาง จ.แพร่ อ.ปง จ.พะเยา อ.เมือง อ.สูงเม่น อ.เด่นชัย จ.แพร่ อ.วังชิ้น จ.แพร่ , อ.ศรีสัชนาลัย จ.สุโขทัย อ.บางระกำ อ.พรหมพิราม จ.พิษณุโลก อ.เมือง อ.กงไกรลาศ จ.สุโขทัย อ.สามง่าม อ.โพธิ์ประทับช้าง จ.พิจิตร

33 สมดุลน้ำรายเดือนลุ่มน้ำน่านเปรียบเทียบ ม.ค. – 16 ก.ย. 2555
อ.เมือง อ.เวียงสา จ.น่าน อ.ทุ่งช้าง อ.ปัว อ. เฉลิมพระเกียรติ จ.น่าน อ.ท่าปลา จ.อุตรดิตถ์ อ.นาหมื่น จ.น่าน อ.น้ำปาด อ.ฟากท่า อ.บ้านโคก จ.อุตรดิตถ์ อ.เมือง อ.ลับแล อ.ตรอน จ.อุตรดิตถ์ อ.บางมูลนาก อ.โพทะเล จ.พิจิตร อ.ชุมแสง จ.นครสวรรค์

34 สมดุลน้ำรายเดือนลุ่มน้ำป่าสักเปรียบเทียบ ม.ค. – 16 ก.ย. 2555
อ.เมือง อ.หล่มสัก จ.เพชรบูรณ์ อ.ด่านซ้าย จ.เลย อ.หล่มสัก อ.หล่มเก่า จ.เพชรบูรณ์ อ.หนองไผ่ อ.วิเชียรบุรี จ.เพชรบูรณ์ อ.น้ำปาด อ.ฟากท่า อ.บ้านโคก จ.อุตรดิตถ์ อ.เมือง อ.ลับแล อ.ตรอน จ.อุตรดิตถ์ อ.บางมูลนาก อ.โพทะเล จ.พิจิตร อ.ชุมแสง จ.นครสวรรค์

35 สมดุลน้ำรายเดือนลุ่มน้ำเจ้าพระยาตอนบน 10 – 16 ก.ย. 2555
ลุ่มน้ำปิงเกินสมดุล 995 ล้าน ลบ.ม. ลุ่มน้ำวังเกินสมดุล 476 ล้าน ลบ.ม. ลุ่มน้ำยมเกินสมดุล 887 ล้าน ลบ.ม. ลุ่มน้ำน่านเกินสมดุล 508 ล้าน ลบ.ม. ลุ่มน้ำป่าสักเกินสมดุล 174 ล้าน ลบ.ม.

36 รายงานสถานการณ์ฝน Block 1 Block 4 และ Block 9 ปริมาณน้ำไหลเข้าเขื่อนภูมิพล เขื่อนสิริกิติ์ และเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์

37 37

38 คาดการณ์ปริมาณน้ำไหลเข้าสะสมของเขื่อนภูมิพล

39 39

40 คาดการณ์ปริมาณน้ำไหลเข้าสะสมของเขื่อนสิริกิติ์

41 41

42 คาดการณ์ปริมาณน้ำไหลเข้าสะสมของเขื่อนป่าสักฯ

43

44 ดัชนี ONI IOD และ PDO เดือนกรกฏาคม เปรียบเทียบปี 2555 กับในอดีต

45

46

47

48

49

50

51

52

53 ดัชนี ONI PDO และ IOD ของปี 2555 ใกล้เคียงกับปี 2551

54

55

56

57 SSTA 17 กันยายน 2555 ONI= 0.09 IOD = 0.24 PDO = -1.52 ดัชนี PDO ต่ำกว่าปกติค่อนข้างมาก (แรงขึ้นจากเดือนก่อนหน้าจาก เป็น -1.52) ดัชนี ONI ยังคงสภาพเป็นกลาง ปัจจุบันมีค่าเท่ากับ 0.09 และจากนี้ไปมีแนวโน้มจะเปลี่ยนสภาพเป็น Elnino ต่อเนื่องถึงปลายปี 2555 ดัชนี IOD ยังคงสภาพเป็นกลาง ปัจจุบันมีค่าเท่ากับ 0.24 Source ONI: PDO: IOD: Ocean Nino Index (ONI) เป็นค่าเฉลี่ย SSTA 3 เดือน (มิถุนายน-กรกฎาคม-สิงหาคม) ในมหาสมุทรแปซิฟิกบริเวณ 5oN-5oS, 120o-170oW Pacific Decadal Oscillation (PDO) เป็นค่าเฉลี่ย SSTA เดือนกรกฎาคม บริเวณมหาสมุทรแปซิฟิก เหนือ 20oN Indian Ocean Dipole (IOD) เป็นผลต่าง SSTA ของเดือนกรกฎาคม บริเวณ 50-70oE, 10oS-10oN และ E, 10oS-0oN 57 57

58 ดัชนีมรสุมด้านมหาสมุทรแปซิฟิก 2555
KHANUN,VICENTE GUCHOL, TALIM KAI-TAK DOKSURI SUNVU, MAWAR Pakhar ปี 2555 ดัชนีสูงกว่าปกติมากช่วงกลางเดือนกรกฎาคม ปัจจุบันดัชนีใกล้เคียงปกติ 61 ที่มา: University of Hawaii, Monsoon Monitoring Page

59 ดัชนีมรสุมด้านมหาสมุทรอินเดีย 2555
ปี 2555 ดัชนีสูงกว่าปกติตั้งแต่ช่วงกลางเดือนพฤษภาคม ปัจจุบันดัชนีสูงกว่าปกติ ที่มา: University of Hawaii, Monsoon Monitoring Page 64

60 คาดการณ์ในระยะ 3 เดือนข้างหน้า
ประเทศไทยได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ค่อนข้างมาก จากดัชนีมรสุมด้านมหาสมุทรอินเดียที่สูง ทำให้ด้านตะวันตกของ ประเทศและแนวรับลมมรสุม จะมีฝนตกหนักในช่วง 1 เดือนนี้ ปัจจุบันประเทศไทยจะได้รับอิทธิพลจาก PDO เป็นหลัก จึงคาดการณ์ ว่าสภาพฝนในระยะ 3 เดือนข้างหน้า จะมีฝนมากในพื้นที่ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคเหนือฝั่งตะวันออก 65 65


ดาวน์โหลด ppt ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำ และจัดสรรน้ำ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google