ร่าง ยุทธศาสตร์ สป.พม. พ.ศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
Advertisements

ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
การส่งเสริมและสนับสนุน ให้สหกรณ์เป็นวาระ แห่งชาติ.
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
แผนการดำเนินงานปี 2558 กลุ่มโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
การส่งเสริมศักยภาพ การคุ้มครอง พิทักษ์สิทธิประชาชนในแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย โดยการกำหนด มาตรการ กลไก ส่งเสริมสนับสนุน ภาครัฐและเอกชนในการดำเนินการ ตามนโยบายและมาตรการที่กำหนด.
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค ด้านสุขภาพ (ปรับปรุง )
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
๒ ปี...ก้าวย่างของการพัฒนา
แผนที่ยทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่มุ่งส่งเสริม สร้างเครือข่าย.
สหกรณ์ ปี 2560 สหกรณ์ 4,629 สหกรณ์ (65%) ต้อง  สมาชิกไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 มีส่วนร่วม ในการดำเนินธุรกิจสหกรณ์  สหกรณ์มีเสถียรภาพทางการเงินในระดับ มั่นคงมาตรฐานขึ้นไป.
สำนักบูรณาการสาธารณภัย อุบัติภัย และความปลอดภัยทางถนน มิติการพัฒนา องค์กร มิติประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ มิติคุณภาพ การให้บริการ มิติประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
แผนแม่บทระบบสถิติประเทศไทย ฝ่ายวิชาการและวางแผนสำนักงานสถิติจังหวัดระยอง 1.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
๓ มุ่งหน้าสู่พื้นที่ “จุดเริ่มและเป้าหมายอยู่ที่พื้นที่”
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ยุทธศาสตร์ สป.พม. พ.ศ ป ร ะ เ ด็ น ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
“คลายทุกข์ สุขใจ ใกล้ประชาชน”
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
กรอบการประเมิน 4 มิติ DPIS (1/59)
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
(ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ –2579)
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
เวลา น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ชั้น 9
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ผู้ปฏิบัติ : ทีมสนับสนุน
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
อดีต ปัจจุบัน อนาคต ของเอชไอวี ในประเทศไทย
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ของผู้ว่าราชการจังหวัดและ
ตัวชี้วัดที่ 2.3 ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย (Integrity and Transparency Assessment: ITA) เฉพาะหลักฐานเชิงประจักษ์
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
แผนงานการพัฒนาองค์กรคุณภาพ
โดย นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
แนวทางการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปี 2562
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
ร่าง ยุทธศาสตร์กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ พ. ศ
แผนยุทธศาสตร์เครือข่ายสุขภาพอำเภอเทพา ปี 2562
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ร่าง ยุทธศาสตร์ สป.พม. พ.ศ. 2560 - 2564 วิสัยทัศน์ เป็นหน่วยงานหลักในการผลักดันนโยบายยุทธศาสตร์และขับเคลื่อนการพัฒนาสู่สังคมอยู่ดีมีสุขอย่างยั่งยืน ค่านิยมองค์กร มุ่งบริการ รวมพลัง สร้างสรรค์ พัฒนา พันธกิจ เสนอนโยบาย และยุทธศาสตร์ มาตรการ ด้านการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ที่สามารถสนองตอบต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยและสังคมโลก บูรณาการการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์และการปฏิบัติเพื่อการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ พัฒนาองค์ความรู้ วิจัย พัฒนา และถ่ายทอดนวัตกรรมทางสังคม

ประเด็นยุทธศาสตร์ 1 พัฒนานโยบายและยุทธศาสตร์ ด้านการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (ให้เกิดการขับเคลื่อนในการพัฒนาสังคม) (งานค้ามนุษย์ อาเซียน) (รองรับ ยุทธศาสตร์ 3 กลยุทธ์ 3.3 ของ พม.) 2 ผนึกกำลังทางสังคมจากทุกภาคส่วน และเสริมสร้างธรรมาภิบาล (รองรับ ยุทธศาสตร์ 3 กลยุทธ์ 3.1 ของ พม.) 3 เพิ่มขีดความสามารถในการพัฒนาระบบการให้บริการทางสังคม (รองรับ ยุทธศาสตร์ 1 กลยุทธ์ 1.2 , 1.3 ของ พม.) 4 พัฒนาองค์ความรู้และการบริหารจัดการองค์กร (ยกระดับขีดความสามารถสมรรถนะของบุคลากร และเครือข่าย) (รองรับ ยุทธศาสตร์ 3 กลยุทธ์ 3.3 ของ พม.)

หน่วยงานที่รับผิดชอบ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด กลยุทธ์ หน่วยงานที่รับผิดชอบ 1. พัฒนานโยบายและยุทธศาสตร์ ด้านการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ มีนโยบายและยุทธศาสตร์ที่บูรณาการนำไปสู่การปฏิบัติ ขับเคลื่อนการพัฒนาคนและสังคม ระดับความสำเร็จในการกำกับดูแลและการวัดประเมินวัดผลความสำเร็จเชิงนโยบายและยุทธศาสตร์ จำนวนการออกกฎหมายด้านสังคมใหม่ๆ ระดับความรุนแรงของปัญหาที่เป็นวาระแห่งชาติด้านสังคมลดลง ระดับความสำเร็จของการขับเคลื่อนแผนที่เป็นวาระแห่งชาติ ระดับความสำเร็จในการผลักดันเชิงนโยบายให้กลุ่มเป้าหมายได้รับโอกาสทางสังคม กลยุทธ์ 1.1 ส่งเสริมและพัฒนายุทธศาสตร์และบูรณาการงานยุทธศาสตร์อย่างมีส่วนร่วม - ส่งเสริมและพัฒนายุทธศาสตร์เชิงรุก ที่มีผลกระทบทางสังคมสูง (High Social Impact) กลยุทธ์ 1.2 ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อย่างบูรณาการและเป็นรูปธรรม เน้นการบูรณาการเพื่อตอบโจทย์เชิงวาระ (Agenda Based) และเชิงพื้นที่ (Area Based) มากขึ้น พัฒนากลไกการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ กองยุทธศาสตร์และแผนงาน กองวิชาการ กองกฎหมาย กองตรวจและประเมินผล กองต่อต้านการค้ามนุษย์ สำนักงาน พมจ.

ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด กลยุทธ์ หน่วยงานรับผิดชอบ 2. ผนึกกำลังทางสังคมจากทุกภาคส่วน และเสริมสร้างธรรมาภิบาล การผนึกกำลังทางสังคม การสร้างความตระหนักและเสริมสร้างพลังการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน และการเสริมสร้างธรรมาภิบาลขององค์กรและเครือข่าย ร้อยละของภาคี เครือข่ายที่มีส่วนร่วมผนึก กำลังในการขับเคลื่อน งานด้านสังคม ร้อยละของภาครัฐที่มี ส่วนร่วมในการพัฒนา สังคม ร้อยละของภาคเอกชน ที่มีส่วนร่วมในการพัฒนา สังคม ร้อยละของหน่วยงาน ท้องถิ่นที่มีส่วนร่วมในการ พัฒนาสังคม ร้อยละของประชาชนที่ มีส่วนร่วมในการพัฒนา สังคม ร้อยละความสำเร็จใน การส่งเสริมบทบาทเชิง สร้างสรรค์ของประชาชน โดยผ่านกลไกของภาค ประชาสังคม ร้อยละของคุณธรรมและความ โปร่งใส กลยุทธ์ที่ 2.1 ผนึกกำลังทางสังคมและส่งเสริมขับเคลื่อนจากทุกภาคส่วน กลยุทธ์ 2.2 เสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับภาคีเครือข่าย เสริมสร้างความรู้ให้กับภาคีเครือข่าย กองตรวจและประเมินผล สำนักงาน พมจ. ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต กองวิชาการ กองต่อต้านการค้ามนุษย์ ศูนย์ช่วยเหลือสังคม กองพัฒนาระบบบริหาร กลุ่มตรวจสอบภายใน ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กองแบบแผนและพัฒนาสิ่งอำนวยความสะดวก สสว กองเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ สำนักบริหารกลาง

หน่วยงานที่รับผิดชอบ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด กลยุทธ์ หน่วยงานที่รับผิดชอบ 3. เพิ่มขีดความสามารถในการพัฒนาระบบการให้บริการทางสังคมและสวัสดิการ มีระบบการให้บริการทางสังคมที่มีประสิทธิภาพและประชาชนได้รับบริการทางสังคมและสวัสดิการ จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่สามารถช่วยเหลือตนเองได้หรือพออยู่รอดในสังคม ประชาชนได้รับบริการทางสังคมและสวัสดิการ (ร้อยละที่ลดลงของการขอรับเงินสงเคราะห์ของกลุ่มเป้าหมาย) (จำนวนคนที่เข้ามาขอรับเงินสงเคราะห์ซ้ำลดลง) กลยุทธ์ 3.1 เพิ่มขีดความสามารถในการบริหารจัดการระบบการให้บริการทางสังคมและสวัสดิการ - เพิ่มขีดความสามารถในการบริหารจัดการเชิงรุก พัฒนาระบบการบริหารจัดการ อย่างเป็นมืออาชีพ และมี ธรรมาภิบาล ศึกษาเพื่อพัฒนาระบบให้การทำงานต่างๆ มีประสิทธิภาพ กองวิชาการ ศูนย์ช่วยเหลือสังคม กองตรวจและประเมินผล กองต่อต้านการค้ามนุษย์ สำนักบริหารกลาง สำนักงาน พมจ. กองพัฒนาระบบบริหาร ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สสว. กองเผยแพร่และประชาสัมพันธ์

หน่วยงานที่รับผิดชอบ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด กลยุทธ์ หน่วยงานที่รับผิดชอบ 4. พัฒนาองค์ความรู้และการบริหารจัดการองค์กร บุคลากรมีขีดสมรรถนะ(ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ) ในภารกิจในความรับผิดชอบอย่างเป็นมืออาชีพ องค์กรมีการบริหารจัดการเป็นเลิศ บุคลากรมีสมรรถนะตามเกณฑ์ องค์กรมีการบริหารอย่างมีประสิทธิภาพและธรรมาภิบาล กลยุทธ์ 4.1 พัฒนาสมรรถนะบุคลากร สป.พม. สู่ความเป็นเลิศ พัฒนาบุคลากรต้นแบบ พัฒนาบุคลากรให้เป็นนักยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนาสังคมมืออาชีพ กลยุทธ์ 4.2 พัฒนาองค์กรสู่ความเป็นเลิศ PMQA Digital Govermnent กลยุทธ์ 4.3 ส่งเสริมและพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ด้านการพัฒนาสังคม - หลากหลายรูปแบบ สำนักบริหารกลาง สถาบันพระประชาบดี ทุกหน่วยงาน

ประเด็นระดมความคิดเห็นเพื่อจัดทำยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ พ.ศ. 2560-2564 -เป็นหน่วยนโยบายที่มีการบูรณาการ และเป็นเจ้าภาพที่สำคัญ ในการกำหนดนโยบาย การขับเคลื่อน ประสานงาน ประสานนโยบาย -มีภาคีเครือข่ายประสานงานทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาคที่หลากหลายในการช่วยเหลือประชาชน -บุคลากรมีความมุ่งมั่น มีความเชี่ยวชาญ มีองค์ความรู้ -มีการแบ่งหน้าที่การทำงานที่ชัดเจน มีระบบ มีงบประมาณ มีเครื่องมือ ระบบสารสนเทศ -ขาดความร่วมมือ/บูรณาการในการทำงานร่วมกัน การทำงานมีความซ้ำซ้อน -บุคลากรขาดทักษะ ในการคิดเชิงระบบ การวางแผน การออกนโยบาย ภาษา การแปลงแผนสู่การปฏิบัติ -ผู้บริหารไม่ได้มองผู้ปฏิบัติเป็นหุ้นส่วน -ผู้บริหารไม่ให้ความสำคัญกับการกำหนดนโยบาย -ขาดนโยบายใหม่ๆ ไม่มีงานใหม่ๆ ขาดเทคนิคการทำงานใหม่ๆ -ขาดข้อมูลสารสนเทศประกอบการตัดสินใจเชิงนโยบาย S Strengths W Weaknesses -การบูรณการกับภายนอกยังติดขัด -นโยบายความยุ่งยาก ขาดความต่อเนื่อง ขาดความชัดเจน -อาเซียน ปัญหาสังคมมีความซับซ้อน เคลื่อนย้าย อพยพ -ภัยพิบัติ -กำลังพลของภาครัฐ ถูกจำกัด โดยเฉพาะส่วนภูมิภาค ไม่สามารถทำงานได้อย่างเต็มที -บุคลากรที่จะมารองรับงานใหม่ ๆ ไม่เพียงพอ -ปัญหาสังคมมีความซับซ้อน ความยากจน -การบูรณาการงานขาดความเข้าใจ วัฒนธรรมองค์กรที่แตกต่าง -เทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว -ระบบงบประมาณที่ไม่เอื้อต่อการพัฒนางานใหม่ๆ -เครือข่ายมีความเข้มแข็ง -มีการบูรณาการระหว่างหน่วยงาน/ทุกภาคส่วน -หน่วยงานภายนอกเห็นความสำคัญของงานตามภารกิจ พม. -เสา ASCC มีการกลุ่มอาเซียน -การปรับโครงการสร้าง พม. มีความชัดเจน -กฎหมายรองรับการดำเนินงาน O Opportunities T Threats