# ความปลอดภัยในการทำงาน #

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นายชิดชัย อังคะ ไวมงคล หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ ผังเมือง นายมนัส ปรุง ทำนุ หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ ร. อ. ปกรณ์เดช โลหิตหาญ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ.
Advertisements

บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง ยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ ซึ่งวัตถุอันตรายตามบัญชี 5.6 ที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมรับผิดชอบ.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ระเบียบคณะกรรมการกำกับกิจการ พลังงาน ว่าด้วยมาตรการป้องกัน แก้ไข และ ติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม สำหรับผู้ได้รับการยกเว้น.
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
มาตรการป้องกันควบคุม การบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนนในช่วง เทศกาลสงกรานต์ จังหวัด นครศรีธรรมราช.
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
การขัดเกลาทางสังคมซ้ำเพื่อสร้างพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ของเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน ผู้วิจัย นภัสวรรณ บุญประเสริฐ หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรดุษฎี
และองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรีสาขาระดับอำเภอ 6 สาขา
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
และความปลอดภัยในโรงพยาบาล
๒ ปี...ก้าวย่างของการพัฒนา
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนการตรวจรับรอง สถานที่ทำงานน่าอยู่ น่า ทำงาน โดยศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี วันเวลาหน่วยงานทีมประเมิน 11 กค.59 เช้า - รพท. นภ. บ่าย สสอ. เมือง ศูนย์อนามัย.
การจัดทำหลักสูตร พัฒนาหัวหน้างาน เพื่อรองรับประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน.
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
ชุมชนปลอดภัย.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ระบบการควบคุมภายในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 28 สิงหาคม 2561
อบรมความปลอดภัยในการทำงาน
ระบบรายงานอุบัติภัยทางถนน e - Report
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่องหลักเกณฑ์ในการพิจารณาความเหมาะสมของพื้นที่ การออกแบบก่อสร้างและการจัดการสถานที่หมักปุ๋ยจากมูลฝอย ประกาศในกรมควบคุมมลพิษ.
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
เรื่อง อันตรายของเสียง
ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ และแนวทางแก้ไข ของกองวิจัยและพัฒนาข้าว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ผู้ปฏิบัติ : ทีมสนับสนุน
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากความเมื่อยล้าในการทำงาน
กลุ่มเกษตรกร.
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ.2560
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ความก้าวหน้าการดำเนินงาน
Delirium พญ. พอใจ มหาเทพ 22 มีนาคม 2561.
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
กองวิศวกรรมการแพทย์ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 สรุปบทเรียน และแนวทางการนำไปใช้
สำนักวิชาสหเวชศาสตร์และสาธารณสุขศาสตร์
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พลเมืองดี.
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
Lean Management การลดขั้นตอนการนัดตรวจสุขภาพจิตของ นร.กพ
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

# ความปลอดภัยในการทำงาน # อาชีวอนามัยและความปลอดภัยพื้นฐาน BASIC OCCUPATIONAL HEALTH AND SAFETY # 6 # ความปลอดภัยในการทำงาน #

ความปลอดภัยในการทำงาน * ความหมายของความปลอดภัย * ความหมายของการเกิดอุบัติเหตุ * สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ * การสูญเสียเนื่องจากการเกิดอุบัติเหตุ * หลักการจัดการป้องกันและควบคุมอุบัติเหตุ จากการทำงาน

ความปลอดภัย (Safety) หมายถึง : การป้องกันอุบัติเหตุ การบาดเจ็บ โดย อาศัยหลักการ วิชาการ เทคโนโลยีด้านต่างๆ เพื่อ สืบค้นหาปัญหา อันตรายต่างๆ และ หาทาง ขจัดอุบัติเหตุที่จะเกิดขึ้น ** การป้องกันความสูญเสีย (Loss Prevention)

ความปลอดภัย (Safety) ขั้นตอนการดำเนินการ เพื่อหาทางลดความรุนแรงของอุบัติเหตุ และหาทางควบคุมความสูญเสีย 1. การสืบค้นหาอันตราย (Hazard Identification) 2. การใช้เทคนิคในการประเมินหาขนาดของอันตราย (Technical Evaluation) 3. การออกแบบด้านวิศวกรรม (Engineering Design)

อุบัติเหตุ (Accidents) หมายถึง : เหตุการณ์ อุบัติการณ์ ทุกชนิด : ไม่ได้คาดคิดมาก่อน : ไม่ได้วางแผน / ตั้งใจ ก่อให้เกิดความเสียหาย ต่อ ชีวิต ทรัพสิน ทรัพยากรต่างๆ

อุบัติเหตุจากการทำงาน (Occupational Accident) หมายถึง : อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นในภาวะการจ้างงาน ก่อให้เกิดความสูญเสียต่อ ชีวิตคน เครื่องจักร สิ่งของ ในเวลา ทันทีทันใด / ช่วงเวลาถัดไป ในสถานที่ทำงาน / นอกสถานที่ทำงาน

สาเหตุการเกิดอุบัติเหตุ H.W. Heinrich สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ มี 3 ประการ คือ 1. สาเหตุจากคน (Human causes) มีจำนวนถึง 88% 2. สาเหตุจากความผิดพลาดของเครื่องจักร (Mechanical failure) มีจำนวนถึง 10% 3. สาเหตุที่เกิดจากดวงชะตา (Act of god) มีเพียง 2%

สรุปสาเหตุการเกิดอุบัติเหตุ ที่สำคัญมี 2 ประการ คือ 1. การกระทำที่ไม่ปลอดภัย (Unsafe act) เป็นสาเหตุใหญ่ คิดจำนวนเป็น 85% ของการเกิดอุบัติเหตุทั้งหมด 2. สภาพการณ์ที่ไม่ปลอดภัย (Unsafe condition) เป็นสาเหตุรอง คิดจำนวนเป็น 15% ของการเกิดอุบัติเหตุทั้งหมด

การกระทำที่ไม่ปลอดภัย (Unsafe Act) หมายถึง การกระทำหรือการปฏิบัติงานของคนที่มีผลทำให้เกิดความไม่ปลอดภัยกับตนเองและผู้อื่น เช่น * การทำงานไม่ถูกวิธี หรือไม่ถูกขั้นตอน เช่น ยกของด้วยท่าทางที่ผิด * ความประมาท พลั้งเผลอ เหม่อลอย * ถอดเครื่องกำบังเครื่องจักร * ใช้เครื่องมือไม่เหมาะสมกับงาน

การกระทำที่ไม่ปลอดภัย (Unsafe Act) * การไม่ปฏิบัติตามกฎระเบียบ * การมีทัศนคติที่ไม่ถูกต้อง เช่น อุบัติภัยเป็นเรื่องของเคราะห์กรรมแก้ไขป้องกันไม่ได้ * การทำงานโดยที่ร่างกายและจิตใจไม่พร้อมหรือผิดปกติ เช่น ไม่สบาย เมาค้าง มีปัญหาครอบครัว ทะเลาะกับแฟน เป็นต้น * การใช้เครื่องมือหรืออุปกรณ์ต่างๆไม่เหมาะสมกับงานเช่นการใช้ขวดแก้วตอกตะปูแทนการใช้ค้อน ฯลฯ

สภาพงานที่ไม่ปลอดภัย (Unsafe Condition) หมายถึง สภาพของโรงงานอุตสาหกรรม เครื่องจักร กระบวนการผลิต เครื่องยนต์ อุปกรณ์ในการผลิต ไม่มีความปลอดภัยเพียงพอ เช่น การออกแบบโรงงาน แผนผังโรงงาน ระบบความปลอดภัยไม่มีประสิทธิภาพ ไม่มีอุปกรณ์ด้านความปลอดภัย ส่วนที่เป็นอันตราย (ส่วนที่เคลื่อนไหว) ของเครื่องจักรไม่มีเครื่องกำบังหรืออุปกรณ์ป้องกันอันตราย

สภาพงานที่ไม่ปลอดภัย (Unsafe Condition) เครื่องจักรกล เครื่องมือ หรืออุปกรณ์ชำรุดบกพร่อง ขาดการซ่อมแซมหรือบำรุงรักษาอย่างเหมาะสม สภาพแวดล้อมในการทำงานไม่เหมาะสม เช่น แสงสว่างไม่เพียงพอ เสียงดังเกินควร ความร้อนสูง ฝุ่นละออง ไอระเหยของสารเคมีที่เป็นพิษ เป็นต้น

การสูญเสียเนื่องจากการเกิดอุบัติเหตุ 1. การสูญเสียโดยทางตรง การสุญเสียที่คิดเป็นเงินที่ต้องจ่ายโดยตรง 2. การสูญเสียโดยทางอ้อม การสูญเสียที่แฝงอยู่ ไม่ปรากฏเด่นชัด

หลักการจัดการป้องกันและควบคุม อุบัติเหตุจากการทำงาน 1. การจัดการด้านบริหาร (Management) 2. การจัดการด้านสถานที่ทำงาน (Workplace) 3. การจัดการด้านพนักงานหรือลูกจ้าง (Employee)

การจัดการด้านบริหาร อุบัติเหตุจากการทำงาน * ฝ่ายบริหารหรือฝ่ายจัดการ-----เป็นผู้ริเริ่ม - นโยบาย - จัดหาบุคลากรมารับผิดชอบ - จัดตั้งคณะกรรมการฯ

1. การกำหนดนโยบายด้านความปลอดภัย 2. การมอบหมายความรับผิดชอบและอำนาจหน้าที่ 3. การจัดตั้งองค์กรความปลอดภัยและเจ้าหน้าที่ความปลอดภัย 4. การตรวจสอบการปฏิบัติงาน

การจัดการด้านสถานที่ทำงาน อุบัติเหตุจากการทำงาน 1. ทบทวนระบบงาน : การตรวจสอบระบบความปลอดภัยและการตรวจความปลอดภัย การใช้เทคนิคการวิเคราะห์เพื่อความปลอดภัย การสืบสวน สอบสวนอุบัติเหตุ ที่เกิดขึ้น สาเหตุต่างๆ ที่ทำให้เกิดอุบัติเหตุ

การจัดการด้านสถานที่ทำงาน อุบัติเหตุจากการทำงาน 1. ทบทวนระบบงาน (ต่อ): การเปรียบเทียบกับมาตรฐานหรือกฎหมายข้อบังคับต่างๆ สิ่งที่ไม่เข้าเกณฑ์ ที่มาตรฐานกำหนดไว้ แสดงว่าสิ่งนั้นเป็นสภาวะอันตรายที่ควรจะต้องระวัง และควรหามาตรการ วิธีการแก้ไขที่เหมาะสมต่อไป

การจัดการด้านสถานที่ทำงาน อุบัติเหตุจากการทำงาน 2. ทดลองเปรียบเทียบกรรมวิธีต่างๆ : การป้องกันควบคุมทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ การป้องกันควบคุมทางด้านการบริหารและจัดการ การป้องกันควบคุมทางด้านเออร์กอนอมิคส์และจิตวิทยาในการทำงาน

การจัดการด้านสถานที่ทำงาน การป้องกันควบคุมทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ การออกแบบโรงงานและกำหนดผังโรงงานที่ปลอดภัยต่อการทำงาน การเลือกใช้อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักรที่มีความปลอดภัยในการใช้งาน การป้องกันควบคุมทางด้านการบริหารและจัดการ (1 ) การป้องกันควบคุมทางด้านเออร์กอนอมิคส์และจิตวิทยาในการทำงาน การออกแบบและ / หรือการเลือกใช้อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักรที่เหมาะสมกับกายวิภาค สรีรวิทยาและสภาพจิตใจของผู้ปฏิบัติงาน

การจัดการด้านสถานที่ทำงาน อุบัติเหตุจากการทำงาน 3. ตัดสินใจเลือกใช้ 4. ฝึกอบรมและสอนงาน 5. เตรียมคน 6. ติดตามประเมินผล

ด้านพนักงานหรือลูกจ้าง อุบัติเหตุจากการทำงาน * คัดเลือกพนักงานก่อนเข้าทำงานเป็นอย่างดี * ฝึกอบรมสอนงาน * ทบทวนการปฏิบัติงานเป็นระยะๆ * สร้างจิตสำนึกด้านความปลอดภัย ฯลฯ

การคำนวณสถิติอุบัติเหตุ อัตราความถี่ในการเกิดอุบัติเหตุ(IFR) = (จ.น.คนที่บาดเจ็บ * จ.น.ชม.การทำงานเปรียบเทียบ) / จ.น.ชม.การทำงานทั้งหมด อัตราความรุนแรงในการเกิดอุบัติเหตุ (ISR) = (จ.น.วันที่บาดเจ็บ * จ.น.ชม.การทำงานเปรียบเทียบ) / จ.น.ชม.การทำงานทั้งหมด จำนวนชั่วโมงการทำงานทั้งหมด = จำนวนคนงาน*จำนวนชั่วโมงที่ทำงาน*1ปี ( 52wk) จำนวนชั่วโมงการทำงานเปรียบเทียบ ANSI = 1,000,000 ชั่วโมงการทำงาน OSHA = 200,000 ชั่วโมงการทำงาน HSE = 100,000 ชั่วโมงการทำงาน