Website กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ hia.anamai.moph.go.th QR code

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การดำเนินงานลดขั้นตอนและระยะเวลาให้บริการ (ตัวชี้วัดที่ 9)
Advertisements

การจัดสรรตำแหน่งและการ คัดเลือก เพื่อบรรจุลูกจ้างชั่วคราวเข้า รับราชการ.
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ฐานข้อมูลความเสี่ยงจากมลพิษสิ่งแวดล้อม
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประเด็น / ตัวชี้วัดผลงาน 1. การกำกับดูแลคุณภาพน้ำบริโภคในภาชนะ.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
ศูนย์บริหารกฎหมาย สาธารณสุข แนวทางการสนับสนุน การดำเนินงานคณะอนุกรรมการ สาธารณสุขจังหวัด (อสธจ.)
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ทิศทางการนำระบบบริหาร จัดการคลังข้อสอบ และการทดสอบมาตรฐานฝีมือ แรงงาน ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์สู่หน่วย ปฏิบัติ โดย วรรณี โกมลกวิน ผู้อำนวยการกลุ่มงานกำหนด.
แผนการตรวจรับรอง สถานที่ทำงานน่าอยู่ น่า ทำงาน โดยศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี วันเวลาหน่วยงานทีมประเมิน 11 กค.59 เช้า - รพท. นภ. บ่าย สสอ. เมือง ศูนย์อนามัย.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
สถานการณ์ด้านอนามัย สิ่งแวดล้อม. สถานการณ์การออกเทศบัญญัติ / ข้อกำหนด เทศ บัญญัติ / ข้อกำหน ด กาฬสินธุ์ (%) ขอนแก่ น (%) มหาสารคา ม (%) ร้อยเอ็ ด (%)
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
เยี่ยมเสริมพลัง การจัดการความรู้ วันที่ 14 ก. ย
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
คณะที่ 4 พัฒนาระบบสนับสนุนด้านสุขภาพ
ตัวชี้วัด 24 ร้อยละของจังหวัดที่มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยง
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
โปรแกรมระบบจัดเก็บข้อมูลสถิติคดีของศาลยุติธรรม
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
ด้านสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
นายนุกูลกิจ พุกาธร นายธีรภัทร์ ฉ่ำแสง Cluster KISS
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ.2560
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 25 รพ.สต.ผ่านเกณฑ์พัฒนาคุณภาพ รพ.สต.ติดดาว
ความสำคัญ เหตุผลที่เฝ้าระวัง PM10
ข้อเสนอ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม
กรอบรายการตรวจรับ อุปกรณ์ Firewall สำหรับจังหวัด
ด้านสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ข้อมูลการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก (PMTCT)
การวิเคราะห์ ข้อมูลขยะ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
EHA กรมอนามัย การดำเนินงานของกลุ่ม อวล + เลขานุการอสธจ. การคุ้มครองสิทธิทางสุขภาพของประชาชนด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ให้ข้อมูล ให้ความรู้ ปกป้องสิทธิ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพ จังหวัดน่าน
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
นโยบายขับเคลื่อนงานวิจัย และจริยธรรมการวิจัย กรมอนามัย
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
องค์กรต้นแบบอนามัยไร้พุง ปี 2552
องค์กรต้นแบบอนามัยไร้พุง ปี 2552
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
การพัฒนาระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศด้านสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ช่องทางการใช้งาน http://hpcnet.info/nehis Website กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ hia.anamai.moph.go.th QR code กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กลุ่มบริหารยุทธศาสตร์

ระบบสารสนเทศอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย (National Environmental Health Information System : NEHIS) ระบบที่พัฒนาขึ้น เพื่อ เป็นเครื่องมือช่วยในการเก็บรวบรวมข้อมูล ด้าน อวล. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องบันทึกข้อมูลด้าน อวล. => ศอ./สสจ./รพ./รพสต./ทบ./อบต. ใช้เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจบริหารจัดการ จัดทำเป็นสถานการณ์ด้าน อวล. ใช้เพื่อการกำหนดแผน/แนวทางการเฝ้าระวัง จัดการปัญหาด้าน อวล. ในพื้นที่รับผิดชอบ

รูปแบบระบบสารสนเทศอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย Input Process Output อนามัยสิ่งแวดล้อมพื้นที่เสี่ยง สถานการณ์สุขภาพ อนามัยสิ่งแวดล้อมพื้นฐาน อนามัยสิ่งแวดล้อมในสถานบริการการสาธารณสุข สถานบริการการสาธาณสุข อปท. ส่วนกลาง Analyze สสจ./สสอ. อปท.

1.ผลการดำเนินงาน

การจัดการ มูลฝอยทั่วไป ประเด็น อวล. ที่มีนำเข้าระบบ 3 อันดับแรก สรุปสถานการณ์การขับเคลื่อนงานการมีฐานข้อมูลด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี 2558-2561 โดยการบันทึกข้อมูลผ่านระบบสารสนเทศอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย (NEHIS) มี 70 จังหวัด ที่นำข้อมูลเข้าระบบ NEHIS คิดเป็นร้อยละ 92.11 ของประเทศ การจัดการ มูลฝอยทั่วไป การจัดการเหตุรำคาญ การจัดการสิ่งปฏิกูล ประเด็น อวล. ที่มีนำเข้าระบบ 3 อันดับแรก จังหวัดในพื้นที่ SEZ จังหวัดในพื้นที่ EEC นำเข้าข้อมูล 10 จังหวัด นำเข้าข้อมูล 3 จังหวัด ข้อสังเกต : ข้อมูลส่วนใหญ่ในระบบ คือ ข้อมูลพื้นฐานของ อปท. ซึ่งยังไม่ครอบคลุมประเด็นงาน อวล. ข้อมูล ณ 4 ธค 2561

ร้อยละการบันทึกข้อมูลด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมผ่านระบบสารสนเทศ อนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย (NEHIS) ปี 2558-2561 รายประเด็น มูลฝอยทั่วไป 53.35 % มูลฝอยติดเชื้อ 43.01 % สิ่งปฏิกูล 46.06 % สุขาภิบาลอาหาร 37.72 % เหตุรำคาญ 46.11 % น้ำบริโภค 40.46 % กิจการที่เป็นอันตราย 39.07 % รองรับฉุกเฉิน 34.33 % กฏหมาย 40.41 % สิ่งแวดล้อมในสถานบริการการสาธาณสุข 48.92 % โรงพยาบาลศูนย์ / โรงพยาบาลชุมชน โรงพยาลบาลทั่วไป / โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ข้อมูล ณ 4 ธค. 2561

2.การพัฒนาระบบ NEHIS

Timeline การพัฒนาระบบ NEHIS ปี 2558-2562 2559 สำรวจ /รวบรวมข้อมูล ตามแบบสำรวจข้อมูล ด้าน อวล. บันทึกข้อมูลลงในโปรแกรมรวบรวมข้อมูล อวล. (Excel File) ทบทวนข้อมูล/สถานการณ์ ด้าน อวล. ในพื้นที่ (Update) ปรับปรุงข้อมูลในโปรแกรมรวบรวมข้อมูล อวล. (Excel File) นำร่องการใช้งานระบบสารสนเทศอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย (NEHIS) 2560 ทบทวนข้อมูล/สถานการณ์ ด้าน อวล.ในพื้นที่ ปรับโครงสร้างระบบใหม่ ปรับแก้ไขข้อมูลนำเข้าระบบใหม่ ปรับแก้ไขรูปแบบการรายงานใหม่ พัฒนาข้อมูลเศรษฐกิจพิเศษ เพิ่มเติม 2561 ทบทวนข้อมูล/สถานการณ์ ด้าน อวล.ในพื้นที่ พัฒนารูปแบบการรายงานใหม่ (Graph/GIS) พัฒนา Module การใช้งานเพิ่มขึ้น เพิ่มช่องทางการติดต่อประสานงานการใช้งานระบบฯ ขับเคลื่อนการใช้งานระบบฯ ให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ 2562 ขับเคลื่อนการใช้งานเต็มรูปแบบ 4 จังหวัด 4 ภาค พัฒนารูปแบบรายงาน (One page) เชื่อมโยงข้อมูล ระดับหน่วยงาน ขับเคลื่อนการใช้งานระบบฯให้ครอบคลุมทุกพื้นที่

การพัฒนาโปรแกรม ปี 2560 การพัฒนาต่อเนื่อง ปี 2560 ทบทวนข้อมูลเดิมที่มีอยู่ทั้งหมด ปรับแก้ไข โครงสร้างระบบใหม่ เพิ่ม ฐานข้อมูลสถานพยาบาลทั้งหมด 26,680 แห่ง เพิ่ม ฐานข้อมูล อปท. ทั้งหมด 7,851 แห่ง ปรับแก้ไข ข้อมูลนำเข้าระบบใหม่ ทั้งหมด 13 ประเด็นงาน ข้อมูลสิ่งแวดล้อมสถานบริการ / ข้อมูลพื้นฐาน / มูลฝอยทั่วไป / มูลฝอยติดเชื้อ / สิ่งปฏิกูล / สุขาภิบาลอาหาร / น้ำบริโภค / เหตุรำคาญ / กิจการที่เป็นอันตราย / กฏหมาย / ภาวะฉุกเฉิน / พื้นที่เสี่ยงมลพิษ /เศรษฐกิจพิเศษ เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้งาน ปรับแก้ไข รูปแบบการรายงานข้อมูล ในรูปแบบ Graph/GIS ตามความต้องการของผู้ใช้งาน ขับเคลื่อนการใช้งานระบบ 17 ครั้ง จำนวนผู้เข้าร่วม 2,000 คน

การพัฒนาโปรแกรม ปี 2561 การพัฒนาต่อเนื่อง ปี 2561 พัฒนาข้อมูลเพิ่มเติม Green & Clean Hospital / EHA / GIS Mapping เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้งาน พัฒนา Module การนำเข้าข้อมูล / การดึงข้อมูลเก่า / การบริหารจัดการข้อมูล ประเทศ / อปท. / สถานบริการ พัฒนา รูปแบบการรายงานข้อมูล ในรูปแบบ Dashboard / Excel file / GIS Mapping ตามความต้องการของผู้ใช้งาน เพิ่มช่องทางการติดต่อประสานงาน ระหว่าง ผู้ดูแลระบบ / ผู้ใช้งานระบบ แก้ไขข้อผิดพลาดของระบบฯ ขับเคลื่อนการใช้งานระบบ 15 ครั้ง จำนวนผู้เข้าร่วม 1,700 คน

ลักษณะโครงสร้างระบบข้อมูลสารสนเทศอนามัยสิ่งแวดล้อม (NEHIS อัพเดท 2561) หน้าแรก อนามัยสิ่งแวดล้อมในสถานพยาบาล อนามัยสิ่งแวดล้อมพื้นฐาน อนามัยสิ่งแวดล้อม พื้นที่เสี่ยง แผนที่เสี่ยงGIS ข้อมูลวิชาการ รายงาน จัดการ user สถานะผู้ใช้ อนามัยสิ่งแวดล้อมในสถานพยาบาล ข้อมูลองค์กรปกครองส่วท้องถิ่น โรงงาน อนามัยสิ่งแวดล้อมในสถานพยาบาล การจัดการมูลฝอยทั่วไป โรงไฟฟ้า ข้อมูลสุขภาพ ข้อมูลสุขภาพ จำแนกรายจังหวัด อำเภอ อปท. และ หน่วยบริการสาธารณสุข การจัดการมูลฝอย ติดเชื้อ เหมือง อนามัยสิ่งแวดล้อมพื้นฐาน การจัดการสิ่งปฏิกูล สถานที่กำจัด มูลฝอย ระหว่างดำเนินการ ปี 2562 อนามัยสิ่งแวดล้อม พื้นที่เสี่ยง การจัดการสุขาภิบาลอาหาร ขยะอิเล็กทรอนิคส์ การจัดการน้ำบริโภค ท่าเรือขนถ่ายสินค้า สำหรับหน่วยงาน สาธารณสุข การจัดการเหตุรำคาญ มลพิษทางอากาศ การจัดการ อวล. ในพื้นที่เสี่ยง กิจการที่เป็นอันตราย ต่อสุขภาพ การบังคับใช้กฏหมาย GREEN&CLEAN Hospital แหล่งกำเนิดมลพิษ สำหรับหน่วยงาน อปท. การจัดการพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ

ลักษณะข้อมูลสารสนเทศอนามัยสิ่งแวดล้อมปัจจุบัน ข้อมูลระบบสารสนเทศด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย (NEHIS) ฐานข้อมูลอนามัยสิ่งแวดล้อม ในสถานบริการสาธารณสุข ฐานข้อมูลการจัดการ อนามัยสิ่งแวดล้อมพื้นฐาน การเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เสี่ยง Green & Clean Hospital การจัดการมูลฝอยทั่วไป Setting Based Area Based การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ การจัดการมูลฝอยทั่วไป เหมือง ความร้อน การจัดการสิ่งปฏิกูล โรงไฟฟ้า ภัยแล้ง การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ การจัดการสุขาภิบาลอาหาร โรงงาน อุตสาหกรรม หมอกควัน การจัดการน้ำเสีย การจัดการน้ำบริโภค ฝุ่นละออง การจัดการเหตุรำคาญ ท่าเรือ การผ่านเกณฑ์มาตรฐานสิ่งแวดล้อม ขยะ อิเลคทรอนิกส์ การจัดการกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ การใช้กฎหมายสาธารณสุข เศรษฐกิจพิเศษ ลักษณะข้อมูลสารสนเทศอนามัยสิ่งแวดล้อมปัจจุบัน

Output โปรแกรม / กราฟ / แผนที่ / ข้อมูลสถานการณ์ แผนที่ GIS กรอบการขับเคลื่อนการพัฒนา/ปรับปรุงระบบ NEHIS ปี 2561 1.การปรับปรุง/พัฒนาระบบฯ การปรับปรุงและพัฒนาระบบ NEHIS เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการใช้งานของหน่วยงานและภาคีเครือข่ายทุกระดับ มีรายละเอียดดังนี้ 1.1ปรับแก้ไขเนื้อหา รายละเอียดข้อมูลที่จะจัดเก็บในระบบ NEHIS จำแนกตามประเด็นงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม (ข้อมูลพื้นฐานหน่วยงาน, ข้อมูลอนามัยสิ่งแวดล้อมในสถานบริการสาธารณสุข (โรงพยาบาล, รพ.สต. และสถานบริการอื่นๆ), ข้อมูลอนามัยสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ อปท.) ให้ตรงตามความต้องการของผู้ใช้ 1.2ปรับแก้ไขลักษณะ/รูปแบบความต้องการใช้งานข้อมูลจากระบบ NEHIS ของหน่วยงานต่างๆ ได้แก่ Dashboard, Report, Graph, GIS Mapping, Import/Export Data, Link Data 1.3หน่วยงานส่วนกลาง (สายงานอนามัยสิ่งแวดล้อม) ลงพื้นที่เพื่อสอบถามความคิดเห็น และรับฟังข้อเสนอแนะจากผู้ใช้งานในเรื่องของปัญหาอุปสรรคจากการใช้งานระบบ NEHIS ที่ผ่านมา (ปี 2558-2560) ความต้องการให้ปรับปรุง/แก้ไขเพิ่มเติม และข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา โดยจะลงพื้นที่นำร่อง 2 ศูนย์อนามัย คือ ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี และศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี 1.4ปรับแก้ไขแบบเก็บข้อมูล (แบบสำรวจปี 2561) ให้มีเนื้อหาตรงกับรายละเอียดข้อมูลที่จะจัดเก็บในระบบ NEHIS 1.5ดำเนินการแก้ไขปรับปรุงระบบ NEHIS ตามข้อ 1.1-1.3 (คาดว่าจะใช้เวลาประมาณ 5-6 เดือน) ระหว่างการปรับปรุงสามารถใช้งานระบบได้ปกติ 2.การเชื่อมโยงระบบ NEHIS กับระบบฐานข้อมูลอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ 2.1ระบบ Manifest 2.2ระบบฐานข้อมูลสารสนเทศสุขาภิบาลอาหารและน้ำ (Android System) 2.3ระบบการบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุขขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2.4ระบบฐานข้อมูลอื่นๆ ได้แก่ ICD10 ระบบข้อมูลการจัดการมูลฝอยของ อปท. เป็นต้น (ในเบื้องต้นจะต้องศึกษาลักษณะข้อมูล และช่องทางในการประสานความร่วมมือกับหน่วยงานเจ้าภาพก่อน) 3.การขยายผลการใช้งานระบบฯ 3.1จังหวัดสามารถขยายผลการใช้ในระบบ NEHIS ปัจจุบันได้ตามปกติ ซึ่งหากต้องการความช่วยเหลือหรือการสนับสนุนจากกรมอนามัย สามารถประสานงานผ่านศูนย์อนามัยในพื้นที่ได้ 3.2สำหรับระบบ NEHIS ที่ปรับปรุงแก้ไขในปี 2561 เมื่อดำเนินการแล้วเสร็จ จะได้แจ้งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบเป็นระยะ ทั้งนี้ ในการปรับแก้ไขระบบฯ จะไม่ทำให้ข้อมูลที่มีอยู่ในระบบเสียหาย 3.3ขับเคลื่อนการใช้งานระบบฯ ในพื้นที่นำร่อง 2 ศูนย์อนามัย คือ ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี และศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี การแสดงผลข้อมูลจากระบบ NEHIS

Dashboard ภาพรวมข้อมูลทั้งประเทศ การแสดงผลข้อมูลจากระบบ NEHIS 1.การปรับปรุง/พัฒนาระบบฯ การปรับปรุงและพัฒนาระบบ NEHIS เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการใช้งานของหน่วยงานและภาคีเครือข่ายทุกระดับ มีรายละเอียดดังนี้ 1.1ปรับแก้ไขเนื้อหา รายละเอียดข้อมูลที่จะจัดเก็บในระบบ NEHIS จำแนกตามประเด็นงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม (ข้อมูลพื้นฐานหน่วยงาน, ข้อมูลอนามัยสิ่งแวดล้อมในสถานบริการสาธารณสุข (โรงพยาบาล, รพ.สต. และสถานบริการอื่นๆ), ข้อมูลอนามัยสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ อปท.) ให้ตรงตามความต้องการของผู้ใช้ 1.2ปรับแก้ไขลักษณะ/รูปแบบความต้องการใช้งานข้อมูลจากระบบ NEHIS ของหน่วยงานต่างๆ ได้แก่ Dashboard, Report, Graph, GIS Mapping, Import/Export Data, Link Data 1.3หน่วยงานส่วนกลาง (สายงานอนามัยสิ่งแวดล้อม) ลงพื้นที่เพื่อสอบถามความคิดเห็น และรับฟังข้อเสนอแนะจากผู้ใช้งานในเรื่องของปัญหาอุปสรรคจากการใช้งานระบบ NEHIS ที่ผ่านมา (ปี 2558-2560) ความต้องการให้ปรับปรุง/แก้ไขเพิ่มเติม และข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา โดยจะลงพื้นที่นำร่อง 2 ศูนย์อนามัย คือ ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี และศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี 1.4ปรับแก้ไขแบบเก็บข้อมูล (แบบสำรวจปี 2561) ให้มีเนื้อหาตรงกับรายละเอียดข้อมูลที่จะจัดเก็บในระบบ NEHIS 1.5ดำเนินการแก้ไขปรับปรุงระบบ NEHIS ตามข้อ 1.1-1.3 (คาดว่าจะใช้เวลาประมาณ 5-6 เดือน) ระหว่างการปรับปรุงสามารถใช้งานระบบได้ปกติ 2.การเชื่อมโยงระบบ NEHIS กับระบบฐานข้อมูลอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ 2.1ระบบ Manifest 2.2ระบบฐานข้อมูลสารสนเทศสุขาภิบาลอาหารและน้ำ (Android System) 2.3ระบบการบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุขขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2.4ระบบฐานข้อมูลอื่นๆ ได้แก่ ICD10 ระบบข้อมูลการจัดการมูลฝอยของ อปท. เป็นต้น (ในเบื้องต้นจะต้องศึกษาลักษณะข้อมูล และช่องทางในการประสานความร่วมมือกับหน่วยงานเจ้าภาพก่อน) 3.การขยายผลการใช้งานระบบฯ 3.1จังหวัดสามารถขยายผลการใช้ในระบบ NEHIS ปัจจุบันได้ตามปกติ ซึ่งหากต้องการความช่วยเหลือหรือการสนับสนุนจากกรมอนามัย สามารถประสานงานผ่านศูนย์อนามัยในพื้นที่ได้ 3.2สำหรับระบบ NEHIS ที่ปรับปรุงแก้ไขในปี 2561 เมื่อดำเนินการแล้วเสร็จ จะได้แจ้งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบเป็นระยะ ทั้งนี้ ในการปรับแก้ไขระบบฯ จะไม่ทำให้ข้อมูลที่มีอยู่ในระบบเสียหาย 3.3ขับเคลื่อนการใช้งานระบบฯ ในพื้นที่นำร่อง 2 ศูนย์อนามัย คือ ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี และศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี การแสดงผลข้อมูลจากระบบ NEHIS

การพัฒนาโปรแกรม ปี 2562 การพัฒนาต่อเนื่อง ปี 2562 ขับเคลื่อนการใช้งานระบบฯ 4 จังหวัดใน 4 ภาค เพื่อให้มีข้อมูลเต็มรูปแบบทั้งจังหวัด สามารถรู้ข้อมูล สถานการณ์ และสามารถระบุสิ่งคุกคามของพื้นที่ได้ พัฒนาวิธีการเชื่อมโยงข้อมูล ระดับหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง พัฒนารูปแบบรายงาน One page สถานการณ์ ตามความต้องการของผู้ใช้งาน

Output One page สถานบริการสาธารณสุข การแสดงผลข้อมูลจากระบบ NEHIS 1.การปรับปรุง/พัฒนาระบบฯ การปรับปรุงและพัฒนาระบบ NEHIS เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการใช้งานของหน่วยงานและภาคีเครือข่ายทุกระดับ มีรายละเอียดดังนี้ 1.1ปรับแก้ไขเนื้อหา รายละเอียดข้อมูลที่จะจัดเก็บในระบบ NEHIS จำแนกตามประเด็นงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม (ข้อมูลพื้นฐานหน่วยงาน, ข้อมูลอนามัยสิ่งแวดล้อมในสถานบริการสาธารณสุข (โรงพยาบาล, รพ.สต. และสถานบริการอื่นๆ), ข้อมูลอนามัยสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ อปท.) ให้ตรงตามความต้องการของผู้ใช้ 1.2ปรับแก้ไขลักษณะ/รูปแบบความต้องการใช้งานข้อมูลจากระบบ NEHIS ของหน่วยงานต่างๆ ได้แก่ Dashboard, Report, Graph, GIS Mapping, Import/Export Data, Link Data 1.3หน่วยงานส่วนกลาง (สายงานอนามัยสิ่งแวดล้อม) ลงพื้นที่เพื่อสอบถามความคิดเห็น และรับฟังข้อเสนอแนะจากผู้ใช้งานในเรื่องของปัญหาอุปสรรคจากการใช้งานระบบ NEHIS ที่ผ่านมา (ปี 2558-2560) ความต้องการให้ปรับปรุง/แก้ไขเพิ่มเติม และข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา โดยจะลงพื้นที่นำร่อง 2 ศูนย์อนามัย คือ ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี และศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี 1.4ปรับแก้ไขแบบเก็บข้อมูล (แบบสำรวจปี 2561) ให้มีเนื้อหาตรงกับรายละเอียดข้อมูลที่จะจัดเก็บในระบบ NEHIS 1.5ดำเนินการแก้ไขปรับปรุงระบบ NEHIS ตามข้อ 1.1-1.3 (คาดว่าจะใช้เวลาประมาณ 5-6 เดือน) ระหว่างการปรับปรุงสามารถใช้งานระบบได้ปกติ 2.การเชื่อมโยงระบบ NEHIS กับระบบฐานข้อมูลอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ 2.1ระบบ Manifest 2.2ระบบฐานข้อมูลสารสนเทศสุขาภิบาลอาหารและน้ำ (Android System) 2.3ระบบการบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุขขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2.4ระบบฐานข้อมูลอื่นๆ ได้แก่ ICD10 ระบบข้อมูลการจัดการมูลฝอยของ อปท. เป็นต้น (ในเบื้องต้นจะต้องศึกษาลักษณะข้อมูล และช่องทางในการประสานความร่วมมือกับหน่วยงานเจ้าภาพก่อน) 3.การขยายผลการใช้งานระบบฯ 3.1จังหวัดสามารถขยายผลการใช้ในระบบ NEHIS ปัจจุบันได้ตามปกติ ซึ่งหากต้องการความช่วยเหลือหรือการสนับสนุนจากกรมอนามัย สามารถประสานงานผ่านศูนย์อนามัยในพื้นที่ได้ 3.2สำหรับระบบ NEHIS ที่ปรับปรุงแก้ไขในปี 2561 เมื่อดำเนินการแล้วเสร็จ จะได้แจ้งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบเป็นระยะ ทั้งนี้ ในการปรับแก้ไขระบบฯ จะไม่ทำให้ข้อมูลที่มีอยู่ในระบบเสียหาย 3.3ขับเคลื่อนการใช้งานระบบฯ ในพื้นที่นำร่อง 2 ศูนย์อนามัย คือ ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี และศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี การแสดงผลข้อมูลจากระบบ NEHIS

การแสดงผลข้อมูลจากระบบ NEHIS Output One page อปท กรอบการขับเคลื่อนการพัฒนา/ปรับปรุงระบบ NEHIS ปี 2561 1.การปรับปรุง/พัฒนาระบบฯ การปรับปรุงและพัฒนาระบบ NEHIS เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการใช้งานของหน่วยงานและภาคีเครือข่ายทุกระดับ มีรายละเอียดดังนี้ 1.1ปรับแก้ไขเนื้อหา รายละเอียดข้อมูลที่จะจัดเก็บในระบบ NEHIS จำแนกตามประเด็นงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม (ข้อมูลพื้นฐานหน่วยงาน, ข้อมูลอนามัยสิ่งแวดล้อมในสถานบริการสาธารณสุข (โรงพยาบาล, รพ.สต. และสถานบริการอื่นๆ), ข้อมูลอนามัยสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ อปท.) ให้ตรงตามความต้องการของผู้ใช้ 1.2ปรับแก้ไขลักษณะ/รูปแบบความต้องการใช้งานข้อมูลจากระบบ NEHIS ของหน่วยงานต่างๆ ได้แก่ Dashboard, Report, Graph, GIS Mapping, Import/Export Data, Link Data 1.3หน่วยงานส่วนกลาง (สายงานอนามัยสิ่งแวดล้อม) ลงพื้นที่เพื่อสอบถามความคิดเห็น และรับฟังข้อเสนอแนะจากผู้ใช้งานในเรื่องของปัญหาอุปสรรคจากการใช้งานระบบ NEHIS ที่ผ่านมา (ปี 2558-2560) ความต้องการให้ปรับปรุง/แก้ไขเพิ่มเติม และข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา โดยจะลงพื้นที่นำร่อง 2 ศูนย์อนามัย คือ ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี และศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี 1.4ปรับแก้ไขแบบเก็บข้อมูล (แบบสำรวจปี 2561) ให้มีเนื้อหาตรงกับรายละเอียดข้อมูลที่จะจัดเก็บในระบบ NEHIS 1.5ดำเนินการแก้ไขปรับปรุงระบบ NEHIS ตามข้อ 1.1-1.3 (คาดว่าจะใช้เวลาประมาณ 5-6 เดือน) ระหว่างการปรับปรุงสามารถใช้งานระบบได้ปกติ 2.การเชื่อมโยงระบบ NEHIS กับระบบฐานข้อมูลอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ 2.1ระบบ Manifest 2.2ระบบฐานข้อมูลสารสนเทศสุขาภิบาลอาหารและน้ำ (Android System) 2.3ระบบการบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุขขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2.4ระบบฐานข้อมูลอื่นๆ ได้แก่ ICD10 ระบบข้อมูลการจัดการมูลฝอยของ อปท. เป็นต้น (ในเบื้องต้นจะต้องศึกษาลักษณะข้อมูล และช่องทางในการประสานความร่วมมือกับหน่วยงานเจ้าภาพก่อน) 3.การขยายผลการใช้งานระบบฯ 3.1จังหวัดสามารถขยายผลการใช้ในระบบ NEHIS ปัจจุบันได้ตามปกติ ซึ่งหากต้องการความช่วยเหลือหรือการสนับสนุนจากกรมอนามัย สามารถประสานงานผ่านศูนย์อนามัยในพื้นที่ได้ 3.2สำหรับระบบ NEHIS ที่ปรับปรุงแก้ไขในปี 2561 เมื่อดำเนินการแล้วเสร็จ จะได้แจ้งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบเป็นระยะ ทั้งนี้ ในการปรับแก้ไขระบบฯ จะไม่ทำให้ข้อมูลที่มีอยู่ในระบบเสียหาย 3.3ขับเคลื่อนการใช้งานระบบฯ ในพื้นที่นำร่อง 2 ศูนย์อนามัย คือ ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี และศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี การแสดงผลข้อมูลจากระบบ NEHIS

การพัฒนาวิธีการเชื่อมโยงข้อมูล ระดับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง Output ฐานข้อมูลกรมอนามัย Data Center Dashboard ระบบ ดึงข้อมูล ฐานข้อมูล NEHIS

ข้อมูลติดต่อประสานงาน กลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กรมอนามัย โทร. 02 590 4202, 4346 E-mail : hia_strategy@googlegroups.com QR code ช่องทางการใช้งาน http://hpcnet.info/nehis Website กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ hia.anamai.moph.go.th