การวิเคราะห์เชิงปริมาณเพื่อการจัดการทางธุรกิจ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผู้เสนอ นางประภัสสร แก้วประสาน สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
Advertisements

การใช้ชุดการสอนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 เรื่องการปรับปรุงบัญชี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาพณิชยการ และการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
ชื่อผู้วิจัย นางดวงใจ สารภี อาจารย์กลุ่มวิชาบัญชี
ศึกษาพฤติกรรมการเรียนรายวิชาพิมพ์ดีดอังกฤษ 1 ของนักเรียน
ผู้วิจัย อาจารอุบลรัตน์ น้อยสำแดง
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
การศึกษาผลการเรียนรู้ด้านการพิมพ์ไทยด้วย คอมพิวเตอร์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปี ที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี The education.
ผู้วิจัย : นางสาวสุรีรัตน์ ขันคำ
ผู้วิจัย นายมณัฐ เฮ่ประโคน
วิชา หลักการตลาด บทที่ 3
นางสาวรัฏฐภรณ์ เหล็กไหล
ชื่อเรื่อง ผลการใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนวิชางานวัดละเอียดช่างยนต์ของนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางนุชจรินทร์ แก้ววงวาล วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
บริโภคอย่างมีความสุข งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
การรายงานผลการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบ รายบุคคลทางการคำนวณและ การใช้สูตรฟังชั่นอย่างง่ายโดย โปรแกรม Microsoft Excel ในวิชาคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ เพื่องานอาชีพ ผู้วิจัย.
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาการใช้โปรแกรมตาราง งานโดยวิธีการเรียนรู้แบบเพื่อน ช่วยเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปีที่
นางจินดาพร พูล สวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาการจัดการ สำนักงาน ของ นักศึกษาระดับ ปวส. 1 เรื่อง.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
แนะนำรายวิชา การประกันภัยสินค้า Free Powerpoint Templates.
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
อาจารย์ณัฐภัทร แก้วรัตนภัทร์ วท.ม.,วท.บ.เกียรตินิยมอันดับ1
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
บทที่ 4 ศิลปะและมโนทัศน์การออกแบบ ระบบการสอนบนเครือข่าย
หลักการวิทยุกระจายเสียงและ วิทยุโทรทัศน์
การจัดการสำหรับธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก มคอ.3
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
เปิดบ้าน ชื่อโรงเรียน วันที่.
Workshop Introduction
หมวดศึกษาทั่วไป ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 ผู้สอน : อ.สำราญ ผลดี
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
แนวคิดทางธุรกิจในเทคโนโลยีสารสนเทศ (Business Concepts in IT)
บทที่ 1 : บทนำ อาจารย์วิภาดา เชี่ยวชาญ วท.ม.,วท.บ.
Aj.Dr. Bualak Naksongkaew
การสร้างสรรค์และผลิตเครื่องมือการประชาสัมพันธ์และการสื่อสารองค์กร 1
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
อาจารย์ณัฐภัทร แก้วรัตนภัทร์ วท.ม.,วท.บ.เกียรตินิยมอันดับ1
ชื่อเรื่องงานนำเสนอ ชื่อเรื่องรองงานนำเสนอ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
นางนพรัตน์ สุวรรณโณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยาสงขลา
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่านซึ่งไม่สามารถกล่าวไว้ในที่นี้ได้ทั้งหมดทุกท่าน ซึ่งท่านแรก ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ.
เรียนอย่างไรให้ประสบความสำเร็จ
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
บทที่ 9 งบประมาณการลงทุน
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
นายเกียรติศักดิ์ คนธสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
การเป็นผู้ประกอบการและการสร้างกิจการใหม่
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิเคราะห์เชิงปริมาณเพื่อการจัดการทางธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

การวิเคราะห์เชิงปริมาณเพื่อการจัดการทางธุรกิจ รหัสวิชา BUA3124 ชื่อวิชา การวิเคราะห์เชิงปริมาณเพื่อการจัดการทางธุรกิจ จำนวนหน่วยกิต 3(3-0-6) จุดมุ่งหมายของรายวิชา : 1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการตัดสินใจและประโยชน์ของการใช้เทคนิคคณิตศาสตร์เชิงปริมาณเพื่อช่วยในการตัดสินใจ 2. เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจหลักการของความน่าจะเป็น แผนภูมิเพื่อการตัดสินใจ (Decision Tree) ตัวแบบเชิงสินค้าคงคลัง (Inventory Model) โปรแกรมเชิงเส้นตรง (Linear Programming) เทคนิคการประมวลผลและการตรวจสอบโครงการ (PERT/CPM) ตัวแบบของมาร์คอฟ (Markov Model) ทฤษฎีเกมส์ (Game Theory) แถวคอย (Queue) และการจำลองเหตุการณ์ (Simulation) 3. เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการนำหลักการของการวิเคราะห์เชิงปริมาณมาประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาในการดำเนินการทางธุรกิจได้

การฝึกปฏบัติ/งานภาคสนาม/การฝึกงาน คำอธิบายรายวิชา กระบวนการตัดสินใจ และประโยชน์ของการใช้เทคนิคคณิตศาสตร์เชิงปริมาณเพื่อช่วยในการตัดสินใจ ได้แก่ ความน่าจะเป็น แผนภูมิเพื่อการตัดสินใจ (Decision Tree) ตัวแบบเชิงสินค้าคงคลัง (Inventory Model) โปรแกรมเชิงเส้นตรง (Linear Programming) เทคนิคการประมวลผลและการตรวจสอบโครงการ (PERT/CPM) ตัวแบบของมาร์คอฟ (Markov Model) ทฤษฎีเกมส์ (Game Theory) แถวคอย (Queue) และการจำลองเหตุการณ์ (Simulation) จำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา บรรยาย สอนเสริม การฝึกปฏบัติ/งานภาคสนาม/การฝึกงาน การศึกษาด้วยตนเอง 51 ชั่วโมง ไม่มี 75 ชั่วโมง จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ซึ่งอาจารย์ให้คำปรึกษา 9 ชั่วโมงต่อสัปดาห์

วิธีการสอน กำหนดให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่ม และรายบุคคลมีการค้นคว้า นำเสนอผลงาน โดยโครงงานที่ได้รับมอบหมายจะมีส่วนที่ต้องใช้ทักษะในการวิเคราะห์สถานการณ์ โดยใช้กระบวนการตัดสินใจและประโยชน์ของการใช้เทคนิคคณิตศาสตร์เชิงปริมาณ เพื่อช่วยในการตัดสินใจมาแก้ไขสถานการณ์ที่ยกเป็นกรณีศึกษาได้ วิธีการประเมินผล ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการปฏิบัติในด้านต่างๆ คือ (1) การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน (2) ประเมินจากตอบข้อซักถามของอาจารย์การตรวจงาน (3) ประเมินจากผลการศึกษาค้นคว้า (4) ประเมินจากรายงานและการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน

กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่อที่ใช้ แผนการสอน สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จำนวน (ชั่วโมง) กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่อที่ใช้ ผู้สอน 1 - แนะนำกระบวนการเรียนการสอนและการประเมินผล (ตาม มคอ.3) - ความเป็นมาของการวิเคราะห์เชิงปริมาณ 1.1ความหมายและขั้นตอนของการวิเคราะห์เชิงปริมาณทางธุรกิจ 1.2ปัญหาทางธุรกิจที่นำการวิเคราะห์เชิงปริมาณไปใช้ 3 - แนะนำวิธีการเรียนการสอน - ชี้แจงวัตถุประสงค์และขอบเขตของเนื้อหา -- แบบทดสอบก่อนเรียน - ผู้เรียน/ ผู้สอนอภิปรายร่วมกัน ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ 2 บทที่ 2 . ความน่าจะเป็น (1) 2.1 การนำความน่าจะเป็นไปใช้ในการวิเคราะห์เชิงปริมาณ 2.2 การคำนวณหาค่าความน่าจะเป็น 2.3 กฎความน่าจะเป็น 2.4 เหตุการณ์ที่เป็นอิสระและเหตุการณ์ที่ขึ้นแก่กัน - บรรยายอธิบาย ยกตัวอย่างประกอบPowerPoint -การบรรยาย (Lecture), กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process), การตั้งคำถาม (Questioning), การอภิปรายกลุ่มย่อย (Small-Group Discussion), การระดมสมอง (Brainstorming), มอบหมายให้นักศึกษาศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม ทำแบบฝึกหัด

กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่อที่ใช้ สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จำนวน (ชั่วโมง) กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่อที่ใช้ ผู้สอน 3 บทที่ ความน่าจะเป็น (2) 3.1 ความน่าจะเป็นแบบมีเงื่อนไข 3.2 กฎของเบย์ 3.3 ตัวแปรสุ่ม 3.4 การแจกแจงความน่าจะเป็น 3.5 การหาพื้นที่ใต้โค้งปกติ - บรรยายอธิบาย ยกตัวอย่างประกอบPowerPoint -การบรรยาย (Lecture), กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process), การตั้งคำถาม (Questioning), การอภิปรายกลุ่มย่อย (Small-Group Discussion), การระดมสมอง (Brainstorming), มอบหมายให้นักศึกษาศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม ทำแบบฝึกหัด ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ 4 บทที่ 3 . การวิเคราะห์การตัดสินใจ (1) 4.1 แผนภูมิเพื่อการตัดสินใจ 4.2 ส่วนประกอบในการตัดสินใจ 4.3 ขั้นตอนการตัดสินใจ 4.4 ตารางของปัญหาการตัดสินใจ 4.5 แผนภูมิการตัดสินใจ

กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่อที่ใช้ สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จำนวน (ชั่วโมง) กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่อที่ใช้ ผู้สอน 5 บทที่ 4 . การวิเคราะห์การตัดสินใจ (2) 5.1 ประเภทของการตัดสินใจ 5.2 การตัดสินใจภายใต้ความไม่แน่นอน 5.3 ค่าคาดหวังของข่าวสารที่สมบูรณ์ 5.4 การใช้แผนภูมิในปัญหาการตัดสินใจ 5.5 การตัดสินใจหลายขั้นตอน 6 - บรรยายอธิบาย ยกตัวอย่างประกอบPowerPoint - กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process), การตั้งคำถาม (Questioning), การอภิปรายกลุ่มย่อย (Small-Group Discussion), การระดมสมอง (Brainstorming), มอบหมายให้นักศึกษาศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม ทำแบบฝึกหัด ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ บทที่ 6 . โปรแกรมเชิงเส้นตรง (1) 6.1 โปรแกรมเชิงเส้นตรง 6.2 ลักษณะของปัญหา 6.3 รูปแบบทั่วไปของปัญหา 6.4 ตัวอย่างปัญหา 6.5 วิธีการแก้ปัญหา 3

กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่อที่ใช้ สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จำนวน (ชั่วโมง) กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่อที่ใช้ ผู้สอน 7 โปรแกรมเชิงเส้นตรง (2) 7.1 การแก้ปัญหาเมื่อมีตัวแปรเทียม 7.2 การแก้ปัญหาเมื่อมีข้อจำกัดมีเครื่องหมายเท่ากับ 7.3 ลักษณะของผลลัพธ์ 7.4 การวิเคราะห์ ความไว 3 - บรรยายอธิบาย ยกตัวอย่างประกอบPowerPoint -กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process), การตั้งคำถาม (Questioning), การอภิปรายกลุ่มย่อย (Small-Group Discussion), การระดมสมอง (Brainstorming), มอบหมายให้นักศึกษาศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม ทำแบบฝึกหัด ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ 8 สัปดาห์สอบกลางภาค 9 . ปัญหาควบคู่ 9.1 ปัญหาควบคู่ 9.2 ประโยชน์ของปัญหาควบคู่ 9.3 การเปลี่ยนปัญหาการหาค่าสูงสุดเป็นปัญหาควบคู่ 9.4 การเปลี่ยนปัญหาการหาค่าต่ำสุดเป็นปัญหาควบคู่ 9.5 ความหมายของตัวแปร 9.6 การเปลี่ยนปัญหาเดิมเป็นปัญหาควบคู่ 9.7 ความสัมพันธ์ระหว่างผลลัพท์ของปัญหาเดิมและปัญหาควบคู่ 3 - บรรยายอธิบาย ยกตัวอย่างประกอบPowerPoint - กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process), การตั้งคำถาม (Questioning), การอภิปรายกลุ่มย่อย (Small-Group Discussion), การระดมสมอง (Brainstorming), มอบหมายให้นักศึกษาศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม ทำแบบฝึกหัด ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ

กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่อที่ใช้ สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จำนวน (ชั่วโมง) กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่อที่ใช้ ผู้สอน 10 . การแก้ปัญหาโปรแกรมเชิงเส้นด้วยโปรแกรม Microsoft Excel และ LINDO 10.1 การใช้โปรแกรม Excel แก้ปัญหาโปรแกรมเชิงเส้น 10.2 การติดตั้งคำสั่ง Solver ของ Excel ที่ใช้แก้ปัญหาโปรแกรมเชิงเส้น 10.3 ความหมายของคำศัพท์ต่างๆ ในการวิเคราะห์ความไว 10.4 ขั้นตอนการใช้โปรแกรม LINDO 10.5 ตัวอย่างการใช้ LINDO แก้ปัญหาโปรแกรมเชิงเส้น 3 - บรรยายอธิบาย ยกตัวอย่างประกอบPowerPoint -กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process), การตั้งคำถาม (Questioning), การอภิปรายกลุ่มย่อย (Small-Group Discussion), การระดมสมอง (Brainstorming), มอบหมายให้นักศึกษาศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม ทำแบบฝึกหัด ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ 11 .ปัญหาการขนส่ง 11.1 รูปแบบปัญหาการขนส่ง 11.2 ขั้นตอนการแก้ปัญหาการขนส่ง 11.3 การหาผลลัพธ์เบื้องต้น 11.4 ลักษณะของปัญหาการขนส่ง 11.5 ปัญหาการขนส่งเมื่อมีเงือนไขเกี่ยวกับเส้นทางการขนส่ง 11.6 ปัญหาการขนส่งเมื่อต้องการหาค่าสูงสุด และปัญหาควบคู่ 3 - บรรยายอธิบาย ยกตัวอย่างประกอบPowerPoint - กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process), การตั้งคำถาม (Questioning), การอภิปรายกลุ่มย่อย (Small-Group Discussion), การระดมสมอง (Brainstorming), มอบหมายให้นักศึกษาศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม ทำแบบฝึกหัด ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ

กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่อที่ใช้ สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จำนวน (ชั่วโมง) กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่อที่ใช้ ผู้สอน 12 บทที่ ตัวแบบสินค้าคงคลัง 12.1 ข้อดีข้อเสียของการมีสินค้าคงคลัง 12.2 ค่าใช้จ่ายของระบบสินค้าคงคลัง 12.3 วัตถุประสงค์ของการศึกษาระบบสินค้าคงคลัง 12.4 ตัวแบบระบบสินค้าคงคลัง 12.5 การคำนวณหาปริมาณการสั่งซื้อสินค้าที่ประหยัด 12.6 การคำนวณหาปริมาณสินค้าสำรอง 3 - บรรยายอธิบาย ยกตัวอย่างประกอบPowerPoint - กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process), การตั้งคำถาม (Questioning), การอภิปรายกลุ่มย่อย (Small-Group Discussion), การระดมสมอง (Brainstorming), มอบหมายให้นักศึกษาศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม ทำแบบฝึกหัด ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ 13 การบริหารโครงการด้วย CPM และ PERT 13.1 เทคนิคที่ใช้ในการบริหารโครงการ 13.2 เทคนิค Gantt Chart 13.3 ขั้นตอนของเทคนิค PERT/CPM 13.4 การวิเคราะห์ข่ายงาน 13.5 การหางานวิกฤต 13.6 เทคนิค CPM 13.7 เทคนิค PERT

กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่อที่ใช้ สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จำนวน (ชั่วโมง) กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่อที่ใช้ ผู้สอน 14 ตัวแบบแถวคอย 14.1 วัตถุประสงค์ของตัวแบบแถวคอย 14.2 ลักษณะของระบบแถวคอย 14.3 ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในระบบแถวคอย 14.4 สัญลักษณ์ที่ใช้ในระบบแถวคอย 14.5 ตัวแบบต่างๆ ของระบบแถวคอย 3 - บรรยายอธิบาย ยกตัวอย่างประกอบPowerPoint - กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process), การตั้งคำถาม (Questioning), การอภิปรายกลุ่มย่อย (Small-Group Discussion), การระดมสมอง (Brainstorming), มอบหมายให้นักศึกษาศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม ทำแบบฝึกหัด ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ 15 . ทฤษฎีการแข่งขัน 15.1 ความหมายของการแข่งขัน 15.2 เงื่อนไขของการใช้ทฤษฎีการแข่งขัน 15.3 ประเภทของกลยุทธ์ที่ใช้ในการแข่งขัน 15.4 หลักเกณฑ์ที่ใช้ในการตัดสินใจเลือกกลยุทธ์ 3 - บรรยายอธิบาย ยกตัวอย่างประกอบPowerPoint - กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process), การตั้งคำถาม (Questioning), การอภิปรายกลุ่มย่อย (Small-Group Discussion), การระดมสมอง (Brainstorming), มอบหมายให้นักศึกษาศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม ทำแบบฝึกหัด ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ

กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่อที่ใช้ สัปดาห์การสอบปลายภาค สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จำนวน (ชั่วโมง) กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่อที่ใช้ ผู้สอน 16 เสนอผลงาน กลุ่มและผลงานรายบุคคล 3 การนำเสนองานกลุ่ม (Group Presentation), การตั้งคำถาม (Questioning) , การอภิปรายกลุ่มย่อย (Small-Group Discussion) , การระดมสมอง (Brainstorming) ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ 17 สัปดาห์การสอบปลายภาค

แผนการประเมินผลการเรียนรู้ กิจกรรม ที่ ผลการเรียนรู้ วิธีการประเมิน สัปดาห์ ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล 1   2.1,3.1,3.3 สอบกลางภาค 8 30% 3 สอบปลายภาคเรียน 17 4 1.6,1.7, 2.1,3.1,3.3,4.1,5.3 งานที่ได้รับมอบหมาย การนำเสนอ ตลอดภาคการศึกษา 100%

ตำราหรือเอกสารหลัก กัลยา วานิชย์บัญชา. (2556). การวิเคราะห์เชิงปริมาณ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. ตำราหรือหนังสือที่ควรอ่านเพิ่มเติม บัณฑิต ผังนิรันดร์. (2547) การวิเคราะห์เชิงปริมาณ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. สุทธิมา ชำนาญเวช. (2556) การวิเคราะห์เชิงปริมาณ. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ: วิทยพัฒน์. เกรียงศักดิ์ อวยพรเจริญชัย. ( 2548) การวิเคราะห์เชิงปริมาณเพื่อการตัดสินใจทางธุรกิจ. กรุงเทพฯ: เพียร์สัน เอ็ดดูเคชั่น อินโดไชน่า. วริพัสย์ เจียมปัญญารัช. (2553) การวิเคราะห์เชิงปริมาณ : ทฤษฎีและการประยุกต์. นครปฐม: สุวรรณสิริการพิมพ์. สถาบันพัฒนาความรู้ตลาดทุน (2548) การวิเคราะห์เชิงปริมาณ : เครื่องมือเพื่อการวิเคราะห์การลงทุน. พิมพ์ครั้งที่ 3 : ตลาดหลักทรัพย์ฯ. สื่อการเรียนการสอนอื่น กรณีศึกษาจากหนังสือพิมพ์และวารสารที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา แหล่งข้อมูลอินเตอร์เน็ต www.sme.go.th www.smebank.co.th www.dbd.go.th www.most.go.th www.thaibiz.net