การวิเคราะห์เชิงปริมาณเพื่อการจัดการทางธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
การวิเคราะห์เชิงปริมาณเพื่อการจัดการทางธุรกิจ รหัสวิชา BUA3124 ชื่อวิชา การวิเคราะห์เชิงปริมาณเพื่อการจัดการทางธุรกิจ จำนวนหน่วยกิต 3(3-0-6) จุดมุ่งหมายของรายวิชา : 1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการตัดสินใจและประโยชน์ของการใช้เทคนิคคณิตศาสตร์เชิงปริมาณเพื่อช่วยในการตัดสินใจ 2. เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจหลักการของความน่าจะเป็น แผนภูมิเพื่อการตัดสินใจ (Decision Tree) ตัวแบบเชิงสินค้าคงคลัง (Inventory Model) โปรแกรมเชิงเส้นตรง (Linear Programming) เทคนิคการประมวลผลและการตรวจสอบโครงการ (PERT/CPM) ตัวแบบของมาร์คอฟ (Markov Model) ทฤษฎีเกมส์ (Game Theory) แถวคอย (Queue) และการจำลองเหตุการณ์ (Simulation) 3. เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการนำหลักการของการวิเคราะห์เชิงปริมาณมาประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาในการดำเนินการทางธุรกิจได้
การฝึกปฏบัติ/งานภาคสนาม/การฝึกงาน คำอธิบายรายวิชา กระบวนการตัดสินใจ และประโยชน์ของการใช้เทคนิคคณิตศาสตร์เชิงปริมาณเพื่อช่วยในการตัดสินใจ ได้แก่ ความน่าจะเป็น แผนภูมิเพื่อการตัดสินใจ (Decision Tree) ตัวแบบเชิงสินค้าคงคลัง (Inventory Model) โปรแกรมเชิงเส้นตรง (Linear Programming) เทคนิคการประมวลผลและการตรวจสอบโครงการ (PERT/CPM) ตัวแบบของมาร์คอฟ (Markov Model) ทฤษฎีเกมส์ (Game Theory) แถวคอย (Queue) และการจำลองเหตุการณ์ (Simulation) จำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา บรรยาย สอนเสริม การฝึกปฏบัติ/งานภาคสนาม/การฝึกงาน การศึกษาด้วยตนเอง 51 ชั่วโมง ไม่มี 75 ชั่วโมง จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ซึ่งอาจารย์ให้คำปรึกษา 9 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
วิธีการสอน กำหนดให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่ม และรายบุคคลมีการค้นคว้า นำเสนอผลงาน โดยโครงงานที่ได้รับมอบหมายจะมีส่วนที่ต้องใช้ทักษะในการวิเคราะห์สถานการณ์ โดยใช้กระบวนการตัดสินใจและประโยชน์ของการใช้เทคนิคคณิตศาสตร์เชิงปริมาณ เพื่อช่วยในการตัดสินใจมาแก้ไขสถานการณ์ที่ยกเป็นกรณีศึกษาได้ วิธีการประเมินผล ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการปฏิบัติในด้านต่างๆ คือ (1) การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน (2) ประเมินจากตอบข้อซักถามของอาจารย์การตรวจงาน (3) ประเมินจากผลการศึกษาค้นคว้า (4) ประเมินจากรายงานและการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่อที่ใช้ แผนการสอน สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จำนวน (ชั่วโมง) กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่อที่ใช้ ผู้สอน 1 - แนะนำกระบวนการเรียนการสอนและการประเมินผล (ตาม มคอ.3) - ความเป็นมาของการวิเคราะห์เชิงปริมาณ 1.1ความหมายและขั้นตอนของการวิเคราะห์เชิงปริมาณทางธุรกิจ 1.2ปัญหาทางธุรกิจที่นำการวิเคราะห์เชิงปริมาณไปใช้ 3 - แนะนำวิธีการเรียนการสอน - ชี้แจงวัตถุประสงค์และขอบเขตของเนื้อหา -- แบบทดสอบก่อนเรียน - ผู้เรียน/ ผู้สอนอภิปรายร่วมกัน ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ 2 บทที่ 2 . ความน่าจะเป็น (1) 2.1 การนำความน่าจะเป็นไปใช้ในการวิเคราะห์เชิงปริมาณ 2.2 การคำนวณหาค่าความน่าจะเป็น 2.3 กฎความน่าจะเป็น 2.4 เหตุการณ์ที่เป็นอิสระและเหตุการณ์ที่ขึ้นแก่กัน - บรรยายอธิบาย ยกตัวอย่างประกอบPowerPoint -การบรรยาย (Lecture), กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process), การตั้งคำถาม (Questioning), การอภิปรายกลุ่มย่อย (Small-Group Discussion), การระดมสมอง (Brainstorming), มอบหมายให้นักศึกษาศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม ทำแบบฝึกหัด
กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่อที่ใช้ สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จำนวน (ชั่วโมง) กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่อที่ใช้ ผู้สอน 3 บทที่ ความน่าจะเป็น (2) 3.1 ความน่าจะเป็นแบบมีเงื่อนไข 3.2 กฎของเบย์ 3.3 ตัวแปรสุ่ม 3.4 การแจกแจงความน่าจะเป็น 3.5 การหาพื้นที่ใต้โค้งปกติ - บรรยายอธิบาย ยกตัวอย่างประกอบPowerPoint -การบรรยาย (Lecture), กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process), การตั้งคำถาม (Questioning), การอภิปรายกลุ่มย่อย (Small-Group Discussion), การระดมสมอง (Brainstorming), มอบหมายให้นักศึกษาศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม ทำแบบฝึกหัด ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ 4 บทที่ 3 . การวิเคราะห์การตัดสินใจ (1) 4.1 แผนภูมิเพื่อการตัดสินใจ 4.2 ส่วนประกอบในการตัดสินใจ 4.3 ขั้นตอนการตัดสินใจ 4.4 ตารางของปัญหาการตัดสินใจ 4.5 แผนภูมิการตัดสินใจ
กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่อที่ใช้ สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จำนวน (ชั่วโมง) กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่อที่ใช้ ผู้สอน 5 บทที่ 4 . การวิเคราะห์การตัดสินใจ (2) 5.1 ประเภทของการตัดสินใจ 5.2 การตัดสินใจภายใต้ความไม่แน่นอน 5.3 ค่าคาดหวังของข่าวสารที่สมบูรณ์ 5.4 การใช้แผนภูมิในปัญหาการตัดสินใจ 5.5 การตัดสินใจหลายขั้นตอน 6 - บรรยายอธิบาย ยกตัวอย่างประกอบPowerPoint - กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process), การตั้งคำถาม (Questioning), การอภิปรายกลุ่มย่อย (Small-Group Discussion), การระดมสมอง (Brainstorming), มอบหมายให้นักศึกษาศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม ทำแบบฝึกหัด ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ บทที่ 6 . โปรแกรมเชิงเส้นตรง (1) 6.1 โปรแกรมเชิงเส้นตรง 6.2 ลักษณะของปัญหา 6.3 รูปแบบทั่วไปของปัญหา 6.4 ตัวอย่างปัญหา 6.5 วิธีการแก้ปัญหา 3
กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่อที่ใช้ สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จำนวน (ชั่วโมง) กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่อที่ใช้ ผู้สอน 7 โปรแกรมเชิงเส้นตรง (2) 7.1 การแก้ปัญหาเมื่อมีตัวแปรเทียม 7.2 การแก้ปัญหาเมื่อมีข้อจำกัดมีเครื่องหมายเท่ากับ 7.3 ลักษณะของผลลัพธ์ 7.4 การวิเคราะห์ ความไว 3 - บรรยายอธิบาย ยกตัวอย่างประกอบPowerPoint -กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process), การตั้งคำถาม (Questioning), การอภิปรายกลุ่มย่อย (Small-Group Discussion), การระดมสมอง (Brainstorming), มอบหมายให้นักศึกษาศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม ทำแบบฝึกหัด ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ 8 สัปดาห์สอบกลางภาค 9 . ปัญหาควบคู่ 9.1 ปัญหาควบคู่ 9.2 ประโยชน์ของปัญหาควบคู่ 9.3 การเปลี่ยนปัญหาการหาค่าสูงสุดเป็นปัญหาควบคู่ 9.4 การเปลี่ยนปัญหาการหาค่าต่ำสุดเป็นปัญหาควบคู่ 9.5 ความหมายของตัวแปร 9.6 การเปลี่ยนปัญหาเดิมเป็นปัญหาควบคู่ 9.7 ความสัมพันธ์ระหว่างผลลัพท์ของปัญหาเดิมและปัญหาควบคู่ 3 - บรรยายอธิบาย ยกตัวอย่างประกอบPowerPoint - กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process), การตั้งคำถาม (Questioning), การอภิปรายกลุ่มย่อย (Small-Group Discussion), การระดมสมอง (Brainstorming), มอบหมายให้นักศึกษาศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม ทำแบบฝึกหัด ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่อที่ใช้ สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จำนวน (ชั่วโมง) กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่อที่ใช้ ผู้สอน 10 . การแก้ปัญหาโปรแกรมเชิงเส้นด้วยโปรแกรม Microsoft Excel และ LINDO 10.1 การใช้โปรแกรม Excel แก้ปัญหาโปรแกรมเชิงเส้น 10.2 การติดตั้งคำสั่ง Solver ของ Excel ที่ใช้แก้ปัญหาโปรแกรมเชิงเส้น 10.3 ความหมายของคำศัพท์ต่างๆ ในการวิเคราะห์ความไว 10.4 ขั้นตอนการใช้โปรแกรม LINDO 10.5 ตัวอย่างการใช้ LINDO แก้ปัญหาโปรแกรมเชิงเส้น 3 - บรรยายอธิบาย ยกตัวอย่างประกอบPowerPoint -กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process), การตั้งคำถาม (Questioning), การอภิปรายกลุ่มย่อย (Small-Group Discussion), การระดมสมอง (Brainstorming), มอบหมายให้นักศึกษาศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม ทำแบบฝึกหัด ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ 11 .ปัญหาการขนส่ง 11.1 รูปแบบปัญหาการขนส่ง 11.2 ขั้นตอนการแก้ปัญหาการขนส่ง 11.3 การหาผลลัพธ์เบื้องต้น 11.4 ลักษณะของปัญหาการขนส่ง 11.5 ปัญหาการขนส่งเมื่อมีเงือนไขเกี่ยวกับเส้นทางการขนส่ง 11.6 ปัญหาการขนส่งเมื่อต้องการหาค่าสูงสุด และปัญหาควบคู่ 3 - บรรยายอธิบาย ยกตัวอย่างประกอบPowerPoint - กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process), การตั้งคำถาม (Questioning), การอภิปรายกลุ่มย่อย (Small-Group Discussion), การระดมสมอง (Brainstorming), มอบหมายให้นักศึกษาศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม ทำแบบฝึกหัด ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่อที่ใช้ สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จำนวน (ชั่วโมง) กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่อที่ใช้ ผู้สอน 12 บทที่ ตัวแบบสินค้าคงคลัง 12.1 ข้อดีข้อเสียของการมีสินค้าคงคลัง 12.2 ค่าใช้จ่ายของระบบสินค้าคงคลัง 12.3 วัตถุประสงค์ของการศึกษาระบบสินค้าคงคลัง 12.4 ตัวแบบระบบสินค้าคงคลัง 12.5 การคำนวณหาปริมาณการสั่งซื้อสินค้าที่ประหยัด 12.6 การคำนวณหาปริมาณสินค้าสำรอง 3 - บรรยายอธิบาย ยกตัวอย่างประกอบPowerPoint - กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process), การตั้งคำถาม (Questioning), การอภิปรายกลุ่มย่อย (Small-Group Discussion), การระดมสมอง (Brainstorming), มอบหมายให้นักศึกษาศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม ทำแบบฝึกหัด ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ 13 การบริหารโครงการด้วย CPM และ PERT 13.1 เทคนิคที่ใช้ในการบริหารโครงการ 13.2 เทคนิค Gantt Chart 13.3 ขั้นตอนของเทคนิค PERT/CPM 13.4 การวิเคราะห์ข่ายงาน 13.5 การหางานวิกฤต 13.6 เทคนิค CPM 13.7 เทคนิค PERT
กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่อที่ใช้ สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จำนวน (ชั่วโมง) กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่อที่ใช้ ผู้สอน 14 ตัวแบบแถวคอย 14.1 วัตถุประสงค์ของตัวแบบแถวคอย 14.2 ลักษณะของระบบแถวคอย 14.3 ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในระบบแถวคอย 14.4 สัญลักษณ์ที่ใช้ในระบบแถวคอย 14.5 ตัวแบบต่างๆ ของระบบแถวคอย 3 - บรรยายอธิบาย ยกตัวอย่างประกอบPowerPoint - กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process), การตั้งคำถาม (Questioning), การอภิปรายกลุ่มย่อย (Small-Group Discussion), การระดมสมอง (Brainstorming), มอบหมายให้นักศึกษาศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม ทำแบบฝึกหัด ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ 15 . ทฤษฎีการแข่งขัน 15.1 ความหมายของการแข่งขัน 15.2 เงื่อนไขของการใช้ทฤษฎีการแข่งขัน 15.3 ประเภทของกลยุทธ์ที่ใช้ในการแข่งขัน 15.4 หลักเกณฑ์ที่ใช้ในการตัดสินใจเลือกกลยุทธ์ 3 - บรรยายอธิบาย ยกตัวอย่างประกอบPowerPoint - กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process), การตั้งคำถาม (Questioning), การอภิปรายกลุ่มย่อย (Small-Group Discussion), การระดมสมอง (Brainstorming), มอบหมายให้นักศึกษาศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม ทำแบบฝึกหัด ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่อที่ใช้ สัปดาห์การสอบปลายภาค สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จำนวน (ชั่วโมง) กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่อที่ใช้ ผู้สอน 16 เสนอผลงาน กลุ่มและผลงานรายบุคคล 3 การนำเสนองานกลุ่ม (Group Presentation), การตั้งคำถาม (Questioning) , การอภิปรายกลุ่มย่อย (Small-Group Discussion) , การระดมสมอง (Brainstorming) ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ 17 สัปดาห์การสอบปลายภาค
แผนการประเมินผลการเรียนรู้ กิจกรรม ที่ ผลการเรียนรู้ วิธีการประเมิน สัปดาห์ ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล 1 2.1,3.1,3.3 สอบกลางภาค 8 30% 3 สอบปลายภาคเรียน 17 4 1.6,1.7, 2.1,3.1,3.3,4.1,5.3 งานที่ได้รับมอบหมาย การนำเสนอ ตลอดภาคการศึกษา 100%
ตำราหรือเอกสารหลัก กัลยา วานิชย์บัญชา. (2556). การวิเคราะห์เชิงปริมาณ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. ตำราหรือหนังสือที่ควรอ่านเพิ่มเติม บัณฑิต ผังนิรันดร์. (2547) การวิเคราะห์เชิงปริมาณ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. สุทธิมา ชำนาญเวช. (2556) การวิเคราะห์เชิงปริมาณ. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ: วิทยพัฒน์. เกรียงศักดิ์ อวยพรเจริญชัย. ( 2548) การวิเคราะห์เชิงปริมาณเพื่อการตัดสินใจทางธุรกิจ. กรุงเทพฯ: เพียร์สัน เอ็ดดูเคชั่น อินโดไชน่า. วริพัสย์ เจียมปัญญารัช. (2553) การวิเคราะห์เชิงปริมาณ : ทฤษฎีและการประยุกต์. นครปฐม: สุวรรณสิริการพิมพ์. สถาบันพัฒนาความรู้ตลาดทุน (2548) การวิเคราะห์เชิงปริมาณ : เครื่องมือเพื่อการวิเคราะห์การลงทุน. พิมพ์ครั้งที่ 3 : ตลาดหลักทรัพย์ฯ. สื่อการเรียนการสอนอื่น กรณีศึกษาจากหนังสือพิมพ์และวารสารที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา แหล่งข้อมูลอินเตอร์เน็ต www.sme.go.th www.smebank.co.th www.dbd.go.th www.most.go.th www.thaibiz.net