ขอบคุณที่มา รพ.ลำลูกกา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
Advertisements

ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
สภาพปัญหา / สาเหตุของปัญหา กระบวนการวางแผน/แนวทางการพัฒนา
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
1. การให้การดูแลผู้ป่วยแบบ ปฐมภูมิ 2. การประเมินผู้ป่วยตามความ รุนแรง 3. การดูแลผู้ป่วยที่อาจมีอาการ เปลี่ยนแปลง 4. การป้องกันและการเฝ้าระวัง การติดเชื้อในชุมชน.
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
บริการฉับไว ไร้ความแออัด โรงพยาบาลแพร่.  430 เตียง  บุคลากร 1,126 คน  ประชากรจังหวัดแพร่ ~ 477,796 คน  ประชากรอำเภอเมือง ~ 128,073 คน  จำนวนผู้ป่วยนอก.
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
ร่องรอยหลักฐานการกำหนดมาตรฐานและการจัดระบบบริหาร
การใช้งานระบบบริหารจัดการความเสี่ยงของสถานพยาบาล
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
โครงสร้างการบริหารงานพัฒนาคุณภาพ โรงพยาบาลราชบุรี คณะกรรมการอำนวยการบริหารจัดการพัฒนา คุณภาพ นายแพทย์ทรงพล ชวาลตันพิพัทธ์ ( ผู้อำนวยการ / ประธานกรรมการ.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
แผนที่ยทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่มุ่งส่งเสริม สร้างเครือข่าย.
โรงพยาบาลนามน ขอ ต้อนรับ ด้วยความยินดียิ่ง
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
การปฐมนิเทศ ข้าราชการใหม่ “ หลักสูตรการเป็น ข้าราชการที่ดี ” เขตสุขภาพที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ CHRO ณ 26 พค
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
โดย ปณิต มีแสง. ส่วนที่ 1 ลักษณะสำคัญขององค์กร ส่วนที่ 2 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ - การนำองค์กร - การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ - การให้ความสำคัญกับผู้รับบริหารและ.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
การกำกับดูแลวิชาชีพ ด้านการพยาบาล (Nursing) 6 กรกฎาคม 2559
จำนวนเตียงจำนวนผู้รับบริการ
3P กับการพัฒนาคุณภาพ สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ภารกิจด้าน อำนวยการ…………… ….…..
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ผู้ปฏิบัติ : ทีมสนับสนุน
ตอนที่ 1ภาพรวมของการบริหารองค์กร (1-5 กำลังคน)
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข โซน3 จังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 ด้วยความยินดียิ่ง.
กิจกรรมหลัก ภาคกลาง 12กันยายน 2560
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพ จังหวัดน่าน
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 สรุปบทเรียน และแนวทางการนำไปใช้
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
FA Interview.
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
งานวิสัญญี รพร.เดชอุดม
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ขอบคุณที่มา รพ.ลำลูกกา ขอบคุณที่มา รพ.ลำลูกกา DR.THitavan Hongitiyanonที่ปรึกษา

ข้อมูลโรงพยาบาลลำลูกกา ลักษณะบริการ จำนวนเตียงผู้ป่วยใน (ไม่รวมเตียงทารกคลอดปกติ) : 30 เตียง ระดับของการให้บริการ : ทุติยภูมิ ระดับต้น (2.1) ประชากรในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ รับผิดชอบประชากรในเขตพื้นที่เครือข่ายหลักประกันสุขภาพโรงพยาบาลลำลูกกา จำนวน 99,530 คน

จำนวนบุคลากรจำแนกตามสาขาวิชาชีพที่สำคัญ แพทย์เวชปฏิบัติทั่วไป 2 แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว, เวชศาสตร์ป้องกัน (สุขภาพจิตชุมชน, ระบาดวิทยา) ทันตแพทย์ 5 เภสัชกร พยาบาลวิชาชีพ 51 นักกายภาพบำบัด นักวิชาการสาธารณสุข โภชนากร 1 เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป เจ้าหน้าที่ธุรการ

จำนวนผู้ป่วย ประเภทผู้ป่วย เฉลี่ยต่อวัน(คน) ผู้ป่วยนอก 388 ผู้ป่วยใน 25 ข้อมูล: กุมภาพันธ์ 2553

วิสัยทัศน์ พันธกิจ “โรงพยาบาลลำลูกกาเป็นผู้นำโรงพยาบาลชุมชนในการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม ชุมชนมีส่วนร่วมสร้างเสริมสุขภาพ และพัฒนาคุณภาพ เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพ และคุณภาพชีวิตที่ดี” “โรงพยาบาลลำลูกกาจัดบริการสุขภาพตามชุดสิทธิประโยชน์หลักที่ได้มาตรฐาน ครอบคลุมด้านรักษา ส่งเสริม ป้องกัน และฟื้นฟูสภาพ รวมถึงการดูสุขภาพด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม โดยชุมชนมีส่วนร่วม คำนึงถึงความสะดวกรวดเร็ว ความเสมอภาค ความพึงพอใจ และสิทธิผู้ป่วย”

แผนยุทธศาสตร์ สร้างเสริมศักยภาพ และการมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพชุมชน ตามกลุ่มอายุ และอาชีพ ปรับปรุงหน่วยบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิให้เกิดความเข้มแข็ง พัฒนาเครือข่ายแกนนำด้านการส่งเสริมสุขภาพในชุมชน ส่งเสริมการสร้างสุขภาพ และปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี พัฒนาองค์กรให้เข้มแข็งทั้งในด้านทรัพยากร บุคลากร อาคารสถานที่ อุปกรณ์การแพทย์ ระบบบริการ และระบบการบริหารจัดการให้มีคุณภาพ และประสิทธิภาพ ขยายตลาดกลุ่มข้าราชการ ผู้ป่วยจ่ายเงินเอง รวมทั้งผู้ประกันตน ขยายบริการด้านการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือก

โครงสร้างองค์กรเพื่อการพัฒนาคุณภาพ โรงพยาบาลลำลูกกา ปี 2007 ผู้อำนวยการโรงพยาบาล คณะกรรมการบริหาร (AMC) ศูนย์คุณภาพ (QMR) ทีมสหสาขาวิชาชีพ (PCT) ทีมควบคุมการติดเชื้อ (IC) ทีมจัดการความเสี่ยง (RM) ทีมสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย (ENV) องค์กรแพทย์ (MDO) องค์กรพยาบาล (NSO) งานอุบัติเหตุฉุกเฉิน งานทันตกรรม งานชันสูตร งานหน่วยจ่ายกลาง ศูนย์ข้อมูล สารสนเทศ งานซ่อมบำรุง งานการเงิน งานผู้ป่วยนอก งานเภสัชกรรม งานรังสีการแพทย์ งานสนาม งานบัญชี งานห้องคลอด งานแพทย์ทางเลือก งานรักษาความปลอดภัย งานธุรการ งานห้องผ่าตัด งานแพทย์แผนไทย งานพัสดุ งานผู้ป่วยใน งานสุขภาพจิต และยาเสพติด งานยานพาหนะ งานโภชนาการ งานประกันสุขภาพ กลุ่มงานเวชปฏิบัติ ครอบครัวและชุมชน สายบังคับบัญชา สายประสานงาน งานกายภาพบำบัด AMC: Administration and Management Committee QMR: Quality Management Representative PCT: Patient Care Team IC: Infectious Control Committee RM: Risk Management Team ENV: Environmental Management Team MDO: Medical Organization NSO: Nursing Organization

เข็มมุ่ง ความปลอดภัยของผู้ป่วย (Patient Safety) พัฒนาการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หอบหืด โรคหัวใจ

นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ 1.สร้างเสริมสุขภาพโดยชุมชนมีส่วนร่วม 2.ให้บริการอย่างเสมอภาค และเท่าเทียมกัน 3.ประกันคุณภาพด้านบริการ 4.จัดการสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพ

โรคที่เป็นโอกาสพัฒนา โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหอบหืด โรคหัวใจ ไข้เลือดออก

ผลงานเด่นและความภาคภูมิใจของโรงพยาบาลที่ผ่านมา ผ่านการประเมินโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัวระดับทอง ปี 2552 ได้รับรางวัลที่ 1 การนำเสนอผลงานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปี พ.ศ. 2551 “โรงเรียนอ่อนหวานสร้างสุขภาพ” ผ่านกระบวนการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับ 3 (จาก 5) ผ่านการประเมินความเสี่ยงความปลอดภัยในการทำงานระดับ 4 (จาก 5) รางวัล Best Practice การส่งเสริมการรับยาต้านไวรัสเอดส์ สคร. 1 รางวัลป้ายทอง 5 ส เฉลิมพระเกียรติปี 2548 Healthy workplace ระดับเงิน

ผลการพัฒนาระบบงาน พัฒนาระบบการลดความคลาดเคลื่อนทางยา การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยหอบหืด (Easy Asthma Clinic: EAC) การดูแลผู้ป่วยเบาหวานด้วยนวัตกรรมสีสันชีวิต คลอรีนฆ่าเชื้อโรคลดความเสี่ยง การติดตามพฤติกรรมการล้างมือที่ถูกวิธีของบุคลากรทางการแพทย์

บูรณาการมาตรฐานการพัฒนาคุณภาพของโรงพยาบาล(HA/HPH) Hospital Accreditation(HA) Health Promoting Hospital(HPH) Humanize Health Care 5ส.

กรอบแนวคิดการพัฒนาคุณภาพ พัฒนาองค์กรอย่างมีระบบ โดยมีกิจกรรมหลัก 3 ขั้นตอน คือ การพัฒนาคุณภาพ การประเมินคุณภาพ และการรับรองคุณภาพ. เน้นการแก้ปัญหาและตอบสนองความต้องการของผู้ป่วยและลูกค้า(Awareness to customer requirement) เน้นการปรับปรุงกระบวนการทำงาน/ระบบงานอย่างไม่สิ้นสุด (Continuous Process Improvement) เน้นการเสริมพลังเจ้าหน้าที่ (Employee empowerment) และการทำงานร่วมกันเป็นทีม เน้นการทำด้วยอุดมการณ์ (Value based leadership)

ขั้นตอนการพัฒนาคุณภาพของโรงพยาบาล 1.กำหนดบุคคล และองค์กรรับผิดชอบ - ทีมนำองค์การและเสริมพลัง - ทีมพัฒนาคุณภาพ - ทีมพี่เลี้ยงหรือผู้ช่วยเหลือการเรียนรู้ 2.วิเคราะห์สถานการณ์ - บรรยากาศการทำงานในองค์กร - ฟังเสียงสะท้อนจากผู้ใช้บริการ

ขั้นตอนการพัฒนาคุณภาพของโรงพยาบาล(ต่อ) 3.กำหนดเป้าหมายและแผนยุทธศาสตร์ - พันธกิจ - วิสัยทัศน์ - ปรัชญา / อุดมการณ์ / ค่านิยม - ยุทธศาสตร์ - ฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ - วิเคราะห์ระบบงาน - เขียนคู่มือ (นโยบาย/ความรับผิดชอบ/วิธีปฏิบัติ/ผู้รับผิดชอบ) - ดำเนินกิจกรรมพัฒนาคุณภาพ

3.กำหนดเป้าหมายและแผนยุทธศาสตร์ (ต่อ) - ประเมินตนเองตามมาตรฐานโรงพยาบาล - ตรวจ ติดตามคุณภาพภายในอย่างต่อเนื่อง - ให้องค์กรภายนอกมาตรวจสอบ - รักษาระบบที่ได้คุณภาพให้คงไว้

บทบาทผู้บริหาร ผู้บริหารระดับสูงตัดสินใจรับในกรอบแนวทางตามมาตรฐานโรงพยาบาล กำหนดผู้รับผิดชอบและโครงสร้างการพัฒนาคุณภาพซึ่งสอดรับกับระบบบริหารปกติของโรงพยาบาล สำรวจสถานการณ์ (บรรยากาศการทำงาน เสียงสะท้อนจากผู้ป่วย) ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานสร้างความมุ่งมั่นและกำหนดเป้าหมายการพัฒนาร่วมกัน กำหนดทีมรับผิดชอบในการประเมินและพัฒนาตนเอง ดำเนินการฝึกอบรมที่จำเป็นให้แก่ทีมต่างๆ

บทบาทผู้บริหาร(ต่อ) ทีมต่างๆทบทวนระบบการทำงานในขอบเขตที่ทีมรับผิดชอบนำไปสู่ การกำหนดมาตรฐานการทำงาน การสร้างระบบตรวจสอบตนเองที่ดีและเชื่อถือได้ การพัฒนาระบบงาน/กระบวนการทำงานอย่างต่อเนื่อง ประสานกับผู้บริหารเพื่อให้เกิดการสนับสนุนกิจกรรมพัฒนาคุณภาพ การจัดหาทรัพยากรที่เหมาะสม  และการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานภาย ในเพื่อให้เอื้อต่อการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (เช่น แรงจูงใจ ระบบข้อมูลข่าวสาร) ใช้ "มาตรฐานโรงพยาบาล"  เป็นเครื่องมือประเมิน ความก้าวหน้าในการพัฒนา

โอกาสพัฒนา การปรับปรุงกระบวนการทำงาน/ระบบงานอย่างไม่สิ้นสุด (Continuous Process Improvement) การเสริมพลังเจ้าหน้าที่ (Employee empowerment) และการทำงานร่วมกันเป็นทีม การทำด้วยอุดมการณ์ (Value based leadership)