ILI (Influenza Like Illness) กลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดเลย ปี 2556
Advertisements

ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา พฤศจิกายน 2557 กลุ่มงานควบคุมโรค.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กันยายน 2557 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
การแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ด้านเฝ้าระวัง การ ป้องกัน ควบคุมโรคและภัย สุขภาพ ระหว่างจังหวัดและ สคร.8 วันที่ 1 ธันวาคม 2552 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครสวรรค์
การอบรมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) เครือข่ายอำเภอเมืองนครปฐม วันที่ 27 มิถุนายน 2557 ณ ห้องประชุมอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ดรุณี โพธิ์ศรี
Good Morning.
กลุ่ม ๔ ด้านเฝ้าระวังสอบสวนโรค เกี่ยวกับภัยหนาว ประธาน : คุณพวงเพ็ญ อ่อนสีบุตร สสจ. ลำพูน เลขานุการ : คุณชานนท์ กัณทะสู้ ผู้นำเสนอ : คุณกิตติ
ผลการดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคเอดส์
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน สิงหาคม 2557 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน มิถุนายน 2557 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
จากข้อมูลการ จับกุมยาเสพติด ในเดือน มกราคม พ. ศ ของ จังหวัดนครราชสีมา พบว่า มีการแพร่ระบาดของยาเสพ ติดประเภทต่างๆหลายชนิด แต่ที่ระบาดในกลุ่มผู้ติดยา.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนก ตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสม ตั้งแต่ 4 มกราคม 2552 _ 31 มกราคม 2552 สัปดาห์ที่ 4 ปี 2552 เขตตรวจราชการ ต่อแสนประชากร.
สอบสวนการระบาดโรคไข้หวัดใหญ่ ชนิด A (H1N1/2009) ตำบล A อำเภอเมืองยโสธร จังหวัด ยโสธร กุมภาพันธ์ 2558.
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
รายงานผลการดำเนินงาน
ชี้แจงเกณฑ์การประเมินผล ตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิภาพ 1.
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
วันศุกร์ที่ 3 มิถุนายน 2559 เวลา น. ณ ห้องบัญชาการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยแห่งชาติ อาคาร 3 ชั้น 5 กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย การประชุมกองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสา.
โครงการเฉลิมพระเกียรติ ในวโรกาสทรงเจริญ พระชนมายุ ครบ 60 พรรษา สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดา ฯ สยามบรม ราชกุมารี ปี
สรุปกิจกรรมการบริหารจัดการวัคซีน ไข้หวัดใหญ่ ปี 2559 รวินท์นิภา ภักดี กลุ่มงานควบคุมโรค รวินท์นิภา ภักดี กลุ่มงานควบคุมโรค.
เป้าหมายงานวัณโรค ปี 2559 ระดับความสำเร็จของการควบคุมวัณโรค 1. การค้นหาและรายงานผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ เพิ่มขึ้น 10% ( ของปี 56) 2. รพ. ผ่านมาตรฐานรพ. คุณภาพการดูแลรักษาวัณ.
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
27 เมษายน 2559 จังหวัด นครราชสีมา. วัตถุประสงค์การจัดทำ รายงานวัณโรค เพื่อทราบสถานการณ์ และประสิทธิผลการดำเนินงาน ควบคุมวัณโรค ของหน่วยงาน ที่ให้บริการ.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง
วาระการประชุม คปสจ. เดือน กันยายน 2560
การประชุม เรื่อง การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 4 ปี (พ. ศ
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
สรุปงานระบาดวิทยาสถานการณ์โรคไข้มาลาเรีย ช่วงเดือนมกราคม - พฤษภาคม
ประชุมการตรวจสอบคุณภาพเวชระเบียน
สถานการณ์ ไข้เลือดออก อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี ปี 2560
โรคไข้เลือดออกเขต 12.
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
งาน Palliative care.
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
รายงานสถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดสระบุรี
รายงานสถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดสระบุรี
การคาดประมาณปริมาณการใช้วัคซีน เด็กอายุ 1 ปี (เกิดตั้งแต่ 1 ม.ค. 57)
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ความสำคัญ เหตุผลที่เฝ้าระวัง PM10
สรุปแนวทางการดำเนินงานวัณโรค ปี ๒๕๖๑
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 35
สรุปผลการนิเทศงานเฉพาะกิจ งานข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
คำสำคัญ : ความชุกวัณโรค, ผู้ต้องขังในเรือนจำ
และ อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี ปี 2557
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
สถานการณ์โรค ประจำเดือน โรคไข้เลือดออก สถานการณ์โรคที่สำคัญ
สถานการณ์และการดำเนินงานวัณโรค จังหวัดเชียงใหม่
โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
งานโรคติดต่อทั่วไปและโรคอุบัติใหม่ กลุ่มงานควบคุมโรค
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
องค์กรต้นแบบอนามัยไร้พุง ปี 2552
สถานการณ์โรคไข้หวัดใหญ่ ข้อมูล ณ วันที่ 18 ตุลาคม 2559
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 51
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
อำเภอวังทอง อ.วัดโบสถ์ อ.นครไทย อ.เมือง อ.เนินมะปราง อ.เมืองพิจิตร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ILI (Influenza Like Illness) กลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ งานระบาดวิทยา สสจ.นม.

วัตถุประสงค์ 1.เพื่อตรวจจับการระบาดของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 2.เพื่อควบคุมการระบาดของโรค ได้ทันเวลา

นิยาม ผู้ป่วยอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ หมายถึง ผู้ป่วยอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ หมายถึง ผู้ป่วยที่มีอาการอย่างน้อย 2 อาการ ได้แก่ ไข้ (T>38 c) ไอ เจ็บคอ หรือ ผู้ป่วยเป็นทางเดินหายใจช่วงบนอักเสบ (Acute respiratory tract infection) : หวัด คออักเสบ หลอดลมอักเสบ ลงรหัสโรคด้วยICD-10 : J00(J00.00- J00.99),J02.9, J06.9) หรือ

นิยาม ผู้ป่วยอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ หมายถึง ผู้ป่วยอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ หมายถึง ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยเป็นไข้หวัดใหญ่ (Influenza) ลงรหัสโรคด้วยICD-10 : J09(J09.00-J09.99), J10(J10.00- J10.99), J11(J11.00-J11.99)

นิยาม J00 : acute nasopharyngitis (common cold) J02.9 : acute pharyngitis J06.9 : acute upper respiratory infection, unspecified J09 : avian Influenza, new influenza A (H1N1) J10 : Influenza J11 : Influenza, virus not identified

จำนวนครั้งผู้ป่วยนอกทั้งหมด ที่รับบริการในหน่วยบริการสาธารณสุข หมายถึง : จำนวนครั้งของผู้ป่วยที่รับบริการ ตรวจรักษาในแผนกผู้ป่วยนอก จากทุกกลุ่มงานในสถานพยาบาล ยกเว้น ผู้ใช้บริการแพทย์แผนไทย และ ผู้ใช้บริการในสถานพยาบาลที่ไม่ได้รับ การตรวจรักษา

เกณฑ์พิจารณา แนวโน้มจำนวนครั้งผู้ป่วยนอก อาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ เพิ่มขึ้น ดูจากกราฟเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย ของจำนวนครั้งผู้ป่วยระหว่างสัปดาห์ ที่รายงาน กับข้อมูล 3 สัปดาห์ย้อนหลัง สัดส่วนผู้ป่วยอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่กับจำนวนครั้งผู้ป่วยนอกทั้งหมด โดยรวมข้อมูล 7 วันย้อนหลัง ตามวันที่รวบรวมข้อมูล คำนวณจาก .... ผู้ป่วยอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ X 100 จำนวนครั้งผู้ป่วยนอกทั้งหมดที่รับบริการ

เกณฑ์พิจารณา สัดส่วน < 5% = สถานการณ์ปกติ สัดส่วน < 5% = สถานการณ์ปกติ สัดส่วน 5-10% = สถานการณ์โรค มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น สัดส่วน > 10% = พิจารณาใช้ มาตรการฉุกเฉิน

ขั้นตอนการรายงาน รายงานจำนวนผู้ป่วยนอกที่มีอาการคล้าย ไข้หวัดใหญ่ และจำนวนผู้ป่วยนอกทั้งหมด ที่รับบริการในสถานพยาบาลเป็นรายวัน ข้อมูล ตั้งแต่ วันอาทิตย์ ถึง วันเสาร์ (ตามสัปดาห์การรายงานของสำนักระบาดวิทยา) ส่งข้อมูลทุกวันจันทร์ ถัดไปก่อน 23.00 น. ทางเวปไซด์สำนักระบาด http/164.115.5.58/ili

สัดส่วนเกินกว่า 5% ให้ตรวจสอบข้อมูล ILI ในเว็ปไซด์และจากฐานข้อมูลของหน่วยบริการซ้ำอีกครั้ง ค้นหากลุ่มผู้ป่วย ILI ที่มีลักษณะเป็นกลุ่มก้อน (cluster) ที่มีความเชื่อมโยงทางระบาดวิทยา (คน เวลา สถานที่) ที่มีโอกาสแพร่กระจายโรคในชุมชน หรือสถานที่ ที่รวมกลุ่ม จากฐานข้อมูลของหน่วยบริการสาธารณสุข ย้อนหลัง 2-3 สัปดาห์

ตรวจสอบสัดส่วนผู้ป่วย ILI ยืนยันติดเชื้อ ไข้หวัดใหญ่ 2009 ในช่วงเวลาเดียวกัน ตรวจสอบการระบาดของโรคในพื้นที่ในช่วงเวลาย้อนหลัง 2-3 สัปดาห์ อาจแบ่งตามกลุ่มอายุ กลุ่มเสี่ยงต่อการแพร่โรค หรือกลุ่มเสี่ยงที่มีโอกาสเสียชีวิตสูงหากติดเชื้อไข้หวัดใหญ่

บันทึกข้อมูลลงเว๊ปไซด์สำนักงานระบาด http/164.115.5.58/ili โดยเลือก “Active case finding” จัดตั้ง triage ตรวจผู้ป่วยระบบทางเดินหายใจ จัดสรรบุคลากร สถานที่ ดำเนินการควบคุมป้องกันโรค เตรียมพร้อมรับสถานการณ์การระบาดของไข้หวัดใหญ่ในพื้นที่

สัดส่วนเกินกว่า 10% ให้ตรวจสอบข้อมูล ILI ในเว็ปไซด์และจากฐานข้อมูลของหน่วยบริการซ้ำอีกครั้ง ค้นหากลุ่มผู้ป่วย ILI ที่มีลักษณะเป็นกลุ่มก้อน (cluster) ที่มีความเชื่อมโยงทางระบาดวิทยา (คน เวลา สถานที่) ที่มีโอกาสแพร่กระจายโรคในชุมชน หรือสถานที่ ที่รวมกลุ่ม จากฐานข้อมูลของหน่วยบริการสาธารณสุข ย้อนหลัง 2-3 สัปดาห์

ตรวจสอบสัดส่วนผู้ป่วย ILI ยืนยันติดเชื้อ ไข้หวัดใหญ่ 2009 ในช่วงเวลาเดียวกัน ตรวจสอบการระบาดของโรคในพื้นที่ในช่วงเวลาย้อนหลัง 2-3 สัปดาห์ อาจแบ่งตามกลุ่มอายุ กลุ่มเสี่ยงต่อการแพร่โรค หรือกลุ่มเสี่ยงที่มีโอกาสเสียชีวิตสูงหากติดเชื้อไข้หวัดใหญ่

บันทึกข้อมูลลงเว๊ปไซด์สำนักงานระบาด http/164.115.5.58/ili โดยเลือก “Active case finding” จัดตั้ง triage ตรวจผู้ป่วยระบบทางเดินหายใจ จัดสรรบุคลากร สถานที่ ดำเนินการควบคุมป้องกันโรค เตรียมพร้อมรับสถานการณ์การระบาดของไข้หวัดใหญ่ในพื้นที่

จัดตั้ง war room ระดับอำเภอ เพื่อควบคุมการระบาดของโรค ในพื้นที่ แจ้งหน่วยงานปกครองและประสานหน่วยงานอื่นในการประกาศภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุขและเตรียมรับภาวะเสี่ยงต่างๆที่อาจเกิดขึ้น

สัดส่วนผู้ป่วยอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ ต่อผู้ป่วยนอกทั้งหมด รายงาน สัดส่วนผู้ป่วยอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ ต่อผู้ป่วยนอกทั้งหมด ที่รับการรักษาในสถานพยาบาล ระหว่างวันที่ 5 มกราคม-15 มีนาคม 57 (สัปดาห์ที่ 1-10) ตามสัปดาห์รายงานของสำนักระบาดวิทยา พ.ศ. 2557

สัดส่วนผู้ป่วยอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ต่อผู้ป่วยนอกทั้งหมดที่รับการรักษา ในสถานพยาบาลในจังหวัดนครราชสีมา เปรียบเทียบระหว่างสัปดาห์ที่ 1-10 ปีพ.ศ. 2556 - 2557 ที่มาข้อมูล : สํานักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

ตารางสรุปจำนวนสถานพยาบาลที่ส่งข้อมูลผู้ป่วยอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ จังหวัดนครราชสีมาประจำสัปดาห์ที่ 6-10 พ.ศ. 2557 สัดส่วนผู้ป่วย ILI ย้อนหลัง 5 สัปดาห์ สถานพยาบาลที่ส่งข้อมูลครบ 7 วัน ลำดับ Hcode สถานพยาบาล จำนวนวันที่ส่ง ร้อยละ สป.6/57 ร้อยละ สป.7/57 ร้อยละ สป.8/57 ร้อยละ สป.9/57 ร้อยละ สป.10/57 สรุปสถานการณ์ 1 30010888 รพ.ขามทะเลสอ 7 11.93 10.69 9.73 12.95 10.49 สัดส่วนผู้ป่วย>10% ต้องใช้มาตรการฉุกเฉิน 2 30011608 รพ.ลำทะเมนชัย 4 6.09 5.07 7.66 8.89 7.99 สัดส่วนผู้ป่วย 5-10% แนวโน้มลดลง 3 30010885 รพ.ห้วยแถลง 7.82 6.99 6.41 8.85 7.71 30010894 รพ.วังน้ำเขียว 8.86 8.10 7.60 7.10 7.48 สัดส่วนผู้ป่วย 5-10% แนวโน้มเพิ่มขึ้น 5 30010873 รพ.คง 7.28 9.64 9.47 7.92 6 30010883 รพ.ปักธงชัย 10.62 8.55 9.37 6.89 7.13 30010880 รพ.ขามสะแกแสง 7.75 6.24 7.52 9.83 7.03 8 30010875 รพ.จักราช 8.42 6.75 7.65 8.30 6.94 9 30010872 รพ.เสิงสาง 7.41 7.58 9.38 7.50 6.93 10 30010887 รพ.สูงเนิน 9.95 8.50 6.82 11 30010884 รพ.พิมาย 6.39 6.96 6.50 12 30010871 รพ.ครบุรี 7.69 5.33 6.67 6.07 6.13 13 30010889 รพ.สีคิ้ว 8.12 7.86 7.33 5.77 ที่มาข้อมูล : สํานักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

ตารางสรุปจำนวนสถานพยาบาลที่ส่งข้อมูลผู้ป่วยอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ จังหวัดนครราชสีมาประจำสัปดาห์ที่ 6-10 พ.ศ. 2557 สัดส่วนผู้ป่วย ILI ย้อนหลัง 5 สัปดาห์ สถานพยาบาลที่ส่งข้อมูลครบ 7 วัน ลำดับ Hcode สถานพยาบาล จำนวนวันที่ส่ง ร้อยละ สป.6/57 ร้อยละ สป.7/57 ร้อยละ สป.8/57 ร้อยละ สป.9/57 ร้อยละ สป.10/57 สรุปสถานการณ์ 14 30010892 รพ.แก้งสนามนาง 7 7.71 6.78 8.14 5.78 5.64 สัดส่วนผู้ป่วย 5-10% แนวโน้มลดลง 15 30010877 รพ.ด่านขุนทด 4.45 4.85 5.65 5.57 5.30 16 30010879 รพ.โนนสูง 6.90 6.80 6.22 5.28 17 30011891 รพ.โคราชเมโมเรียล 3.50 3.35 4.60 3.13 5.21 สัดส่วนผู้ป่วย 5-10% แนวโน้มเพิ่มขึ้น 18 30010881 รพ.บัวใหญ่ 10.36 9.67 8.29 6.92 5.07 19 30280100 รพ.พระทองคำฯ 4.38 4.41 5.38 4.90 4.86 สัดส่วนผู้ป่วย<5%สถานการณ์ปกติ 20 30010874 รพ.บ้านเหลื่อม 7.23 6.04 5.58 4.20 4.52 21 30010882 รพ.ประทาย 6.43 4.58 4.89 3.98 22 30010100 รพ.เทพรัตน์ฯ 3.90 4.28 4.11 3.57   23 30011602 รพ.เมืองยางฯ 4.75 4.47 3.36 3.31 24 30010876 รพ.โชคชัย 1.05 1.55 1.76 1.86 25 30010891 รพ.หนองบุนมาก 2.89 2.86 2.18 1.30 1.60 26 30010893 รพ.โนนแดง 1.20 0.65 0.96 1.01 1.08 27 30010886 รพ.ชุมพวง 4.64 1.25 1.03 ที่มาข้อมูล : สํานักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

ตารางสรุปจำนวนสถานพยาบาลที่ส่งข้อมูลผู้ป่วยอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ จังหวัดนครราชสีมาประจำสัปดาห์ที่ 6-10 พ.ศ. 2557 สัดส่วนผู้ป่วย ILI ย้อนหลัง 5 สัปดาห์ สถานพยาบาลที่ส่งข้อมูลไม่ครบ 7 วัน ลำดับ Hcode สถานพยาบาล จำนวนวันที่ส่ง ร้อยละ สป.6/57 ร้อยละ สป.7/57 ร้อยละ สป.8/57 ร้อยละ สป.9/57 ร้อยละ สป.10/57 สรุปสถานการณ์ 1 30010878 รพ.โนนไทย 8.50 5.97 7.99 7.05 9.13 วิเคราะห์ข้อมูลไม่ได้ ที่มาข้อมูล : สํานักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

ตารางสรุปจำนวนสถานพยาบาลที่ส่งข้อมูลผู้ป่วยอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ จังหวัดนครราชสีมาประจำสัปดาห์ที่ 6-10 พ.ศ. 2557 สัดส่วนผู้ป่วย ILI ย้อนหลัง 5 สัปดาห์ สถานพยาบาลเครือข่าย ลำดับ Hcode สถานพยาบาล จำนวนวันที่ส่ง ร้อยละ สป.6/57 ร้อยละ สป.7/57 ร้อยละ สป.8/57 ร้อยละ สป.9/57 ร้อยละ สป.10/57 สรุปสถานการณ์ 1 .- ศพช.ม.ราชภัฎฯ 7 21.91 16.27 22.17 20.23 11.21 สัดส่วนผู้ป่วย>10% แนวโน้มลดลง 2 ศพช.3 วัดบูรพ์ 13.48 16.54 17.49 12.57 10.05 3 มทส. 11.92 7.52 9.65 7.54 7.60 สัดส่วนผู้ป่วย5-10% แนวโน้มเพิ่มขึ้น 4 กองบิน1 19.07 15.07 9.60 5.90 8.89 5 30021324 คลินิคฯมหาชัย 3.70 2.87 3.29 1.47 3.66 สัดส่วนผู้ป่วย<5%สถานการณ์ปกติ ที่มาข้อมูล : สํานักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข