บทที่ 8 การบริหารสินค้าคงเหลือ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การจัดการพัสดุคงคลัง Inventory Management
Advertisements

การผลิตบ่อพัก ทำเอง ใช้เอง หจก. มภัสกาญ คอนสตรัคชั่น
Your Investment Partner
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
แนวทางการบริหารงบประมาณ
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การจัดซื้อจัดจ้าง.
หน่วยที่ 3 ภาษาคำสั่งพื้นฐานที่ใช้เขียนโปรแกรม PLC
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดชัยภูมิ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
เทคนิคการตรวจสอบภายใน
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับทีม
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 3 ประจำเดือน มีนาคม 2558.
15 กันยายน 2558 หมวดงบลงทุน. งบ ลงทุน 1) ครุภัณฑ์ 2) ที่ดิน สิ่งก่อสร้าง หมายถึง รายจ่ายที่กำหนดให้จ่าย เพื่อการลงทุน ได้แก่ รายจ่ายที่จ่ายใน ลักษณะค่าครุภัณฑ์
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
การคลังสุขภาพ การวัดประสิทธิภาพของสถานีอนามัย และเตรียมการถ่ายโอนสถานีอนามัย ให้ท้องถิ่น ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การประชุมสัมมนา.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
การจัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบ พัสดุ ประกาศคณะรักษาความรักษา ความสงบแห่งชาติ การซื้อและ การจัดจ้างด้วยระบบ อิเล็กทรอนิกส์ (e – GP) และการบริหาร งบประมาณ ขององค์กรปกครองส่วน.
การจัดการการ ขนส่ง เป้าหมายของการจัดการ การขนส่ง 1) เพื่อลดต้นทุน 2) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ ทำงาน 3) เพื่อสร้างความพึงพอใจ สูงสุดให้แก่ลูกค้า 4) เพื่อลดระยะเวลา.
สรุปกิจกรรมการบริหารจัดการวัคซีน ไข้หวัดใหญ่ ปี 2559 รวินท์นิภา ภักดี กลุ่มงานควบคุมโรค รวินท์นิภา ภักดี กลุ่มงานควบคุมโรค.
สัญญาก่อสร้าง.
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
อ.พิมพ์ผกา วงศ์กองแก้ว
Material requirements planning (MRP) systems
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
รายชื่อกลุ่ม 1.น.ส.อริศรา มีตัน ปวส. 2/6 รหัส น.ส.พรพรรณ หมอนสวัสดิ์ ปวส. 2/6 รหัส น.ส.ศลัญญากรณ์ ศิลป์มณีโชค ปวส. 2/6 รหัส
บทที่ 11 วงจรรายจ่าย.
ACCOUNTING FOR INVENTORY
SKP ลดต้นทุนสินค้าคงคลังประเภทผ้าไตร ร้านกุญชรวาณิชย์
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
Seminar 1-3.
Chapter 6 Inventory Control Models.
วัสดุคงเหลือ.
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
การวิเคราะห์ ต้นทุน ปริมาณ กำไร
บทที่ 5 การวางแผนทางการเงิน ผศ. อรทัย รัตนานนท์ รศ.อรุณรุ่ง วงศ์กังวาน.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
การรายงานความคืบหน้าหรือสถานะ
สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
งบการเงินตามแนวคิดการบริหารและต้นทุนจริง
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
บทที่ 6 การจัดการสินค้าคงคลัง
ขยะ/ของเสียเหลือศูนย์ (Zero Waste Management)
ประชุมบุคลากรศูนย์อนามัยที่ 4
บทที่ 3 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ต้นทุน-ปริมาณ-กำไร
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
ตัวอย่างการจัดทำรายงานการผลิต และงบการเงิน
บทที่ 9 งบประมาณการลงทุน
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
แนวทางการแก้ไขปัญหาก๊าซ LPG
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 10 การควบคุมสินค้าคงเหลือ
บทที่ 10 วงจรรายได้.
Supply Chain Management
การบริหารจัดการระบบสารสนเทศ (ระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์)
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
Supply Chain Logistics
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 8 การบริหารสินค้าคงเหลือ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา SME yalada

ประเภทของสินค้าคงคลังหรือสินค้าคงเหลือ สินค้าคงเหลือ(Inventory) หมายถึง วัสดุที่มีไว้ใช้ในอนาคต วัสดุเหล่านั้น ได้แก่ -วัตถุดิบ (Raw Material Inventory) -สินค้าระหว่างผลิต (Work-in-Process :WIP Inventory) -สินค้าสำเร็จรูป (Finished goods inventory) SME yalada

EOQ การบริหารต้นทุนสินค้าคงคลัง (Inventory Carrying Cost) เป็นการบริหารจัดการ เพื่อให้มีการถือครองสินค้าคงคลังน้อยที่สุด ซึ่งเกี่ยวข้องกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน เพื่อประสิทธิภาพของการบริหารสินค้าคงคลังให้ตํ่าสุด EOQ yalada

EOQ การจัดซื้อปริมาณที่ประหยัดต่อครั้ง (Inventory Downsizing Management) EOQ Inventory Downsizing เป็นเรื่องของการจัดการความสมดุลของต้นทุนในการถือครองสินค้าคงคลัง (Holding Cost) ต่อต้นทุนปริมาณสินค้าที่คุ้มค่าและประหยัดที่สุดในการสั่งซื้อแต่ละออเดอร์ (Economies From Order Quantities) yalada

การวางแผนสินค้าคงเหลือ เป็นการกำหนดปริมาณสินค้าคงเหลือที่เหมาะสม(Economic Order Quantity: EOQ) การกำหนดปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด การกำหนดระดับสินค้าเผื่อขาด การกำหนดเวลาสั่งซื้อ 1.1. ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อ(Ordering Cost) 1.2. ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษา(Carrying Cost) 1.3. ค่าใช้จ่ายเนื่องจากสินค้าขาดแคลน(Shortage Cost) SME yalada

การหาปริมาณสั่งซื้อที่เหมาะสม (Economic Order Quantity) การกำหนดปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด เป็นการกำหนดปริมาณการสั่งซื้อต้นทุนค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อ และค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาที่ประหยัด TC : ค่าใช้จ่ายรวมตลอดปี Q : ปริมาณการสั่งซื้อในแต่ละครั้ง S : ปริมาณการใช้ตลอดปี(หน่วย) O : ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อแต่ละครั้ง(บาท) C : ค่าเก็บรักษาสินค้าคงคลังต่อปี(บาท การคำนวณ SME yalada

จำนวนครั้งในการสั่งซื้อ (ครั้ง/ปี) จำนวนครั้งในการสั่งซื้อ (ครั้ง/ปี) ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อแต่ละครั้ง (บาท/ปี) ปริมาณสินค้าเฉลี่ย หน่วย ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษาสินค้าต่อหน่วยต่อปี ค่าใช้จ่ายสำหรับตัวสินค้าแต่ละตัว (บาท/ปี) ค่าใช้จ่ายรวม (บาท/ปี) ปริมาณการสั่งซื้อในแต่ละครั้ง SME yalada

ภาพที่ 6.1 วงจรสินค้าคงคลัง Q ปริมาณสินค้าในคลังสินค้า สินค้าคงคลัง จุดสั่งซื้อสินค้า (Reorder point) O จุดที่รับสินค้า จุดสั่งสินค้า จุดรับสินค้า Q T (เวลา) ช่วงเวลาก่อนสินค้ามาถึง (Lead time) SME yalada

Q ระยะเวลา 1 ปี ระยะเวลา 1 ปี สินค้าคงคลัง สินค้า เฉลี่ย Q ระยะเวลา 1 ปี t การสั่งซื้อมากครั้ง (5 ครั้ง/ปี) ทำให้มีสินค้าคงคลังน้อย สินค้าคงคลัง สินค้าเฉลี่ย Q ระยะเวลา 1 ปี t O 2 การสั่งซื้อน้อยครั้ง (2ครั้ง/ปี) ทำให้มีสินค้าคงคลังมาก SME yalada

ตัวอย่างที่ 8.1 โรงานผลิตรถจักรยานยนต์ยี่ห้อหนึ่งสั่งอะไหล่มาประกอบ เพื่อผลิรถจักรยานยนต์ปีละ 45,000 ชิ้น ราคาชิ้นละ 60 บาท ต้นทุนในการสั่งซื้อต่อครั้งเท่ากับ 120 บาท ต้นทุนในการเก็บรักษาต่อปี 5 บาทต่อชิ้น จงหา ก) โรงงานแห่งนี้ควรซื้อครั้งละกี่ชิ้น ข) เมื่อสั่งซื้อตามข้อ ก แล้วจะสั่งซื้อกี่ครั้ง ค) เมื่อสั่งซื้อตามข้อ ก แล้วจะมีต้นทุนในการสั่งซื้อตลอดปี เป็นเงิน เท่าใด ง) เมื่อสั่งซื้อตามข้อ ก แล้ว จะมีต้นทุนในการเก็บรักษาตลอดปีเท่าใด

D : ปริมาณการใช้ตลอดปี 45000 ชิ้น จาก D : ปริมาณการใช้ตลอดปี 45000 ชิ้น O : ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อแต่ละครั้ง 120 บาท C : ค่าเก็บรักษาต่อหน่วยต่อปี 5 บาท Q : จำนวนครั้งในการสั่งซื้อเป็นหน่วยต่อครั้ง จะได้ ชิ้น

จำนวนครั้งในการสั่งซื้อแต่ละปี ต้นทุนในการสั่งซื้อตลอดปี Q X O = 31 X 120 = 3,720 บาท ต้นทุนในการเก็บรักษาตลอดปี บาท

การหาปริมาณการสั่งซื้อกรณีสินค้ามีส่วนลด ต้นทุน รวม (บาท) ปริมาณ TC TC1 TC2 TC3 EOQ Q1 Q2

ขนาดที่ซื้อ ราคาต่อหน่วย ตัวอย่างที่ 8.2 โรงงานแห่งหนึ่งต้องการซื้อหลอดไฟปีละ 3,000 หลอด โรงงานที่จำหน่ายมีส่วนลดดังนี้ ขนาดที่ซื้อ ราคาต่อหน่วย ซื้อตั้งแต่ 1 – 799 หลอด ซื้อตั้งแต่ 800 – 1,199 หลอด ซื้อตั้งแต่ 1,200 หลอดขึ้นไป ราคาหลอดละ 15 บาท ราคาหลอดละ 10 บาท ราคาหลอดละ 8 บาท มีค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อครั้งละ 50 บาท มีค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษา 18 % ของราคาซื้อต่อหลอด ให้หาปริมาณการสั่งซื้อที่เหมาะสมและต้นทุนรวมทั้งปี

วิธีทำ D. 3,000 หลอดต่อปี. O. 50 บาท. C วิธีทำ D 3,000 หลอดต่อปี O 50 บาท C 0.18 X ราคาสินค้าต่อหน่วย ขั้นตอนที่ 1 การหาปริมาณการสั่งซื้อที่เหมาะสมทุกช่วงการลดราคา EOQ (หลอดละ 15 บาท) หลอด EOQ (หลอดละ 10 บาท) หลอด EOQ (หลอดละ 8 บาท) หลอด

ขั้นตอนที่ 2 ปรับปริมาณการซื้อเป็นไปตามการซื้อที่แท้จริง ขั้นตอนที่ 2 ปรับปริมาณการซื้อเป็นไปตามการซื้อที่แท้จริง ช่วง 1 – 799 เป็น 334 หน่วย ช่วง 800 – 1,199 เป็น 800 หน่วย ช่วง 1,200 ขึ้นไป เป็น 1,200 หน่วย ขั้นตอนที่ 3 คำนวณหาต้นทุนปริมาณการสั่งซื้อ ต้นทุนรวม

ต้นทุนรวม(334 หลอด) ต้นทุนรวม(800หลอด) ต้นทุนรวม(1200หลอด)

สรุป จะเห็นว่าต้นทุนที่ต่ำสุดคือซื้อ >1,200 หลอด ซื้อตั้งแต่ ราคาต่อหน่วย ต้นทุนรวม 1 – 799 15 45,900 800 – 1199 10 30,907.50 มากกว่า 1200 8 24,989

กรณี รับวัตถุดิบล่าช้า จุดสั่งซื้อ ช่วงเวลาสินค้าปกติ ช่วงเวลาสินค้าขาดมือ ระดับการสั่งซื้อใหม่ ขนาดสินค้าขาดมือ

ช่วงเวลาสินค้าขาดมือ ระดับการสั่งซื้อใหม่ ตัวอย่าง 8.3 กิจกรรมของโรงงานหนึ่งต้องการใช้ไม้ยางพาราในการผลิตสินค้าวันละประมาณ 1,500 กิโลกรัม เมื่อสั่งยางพาราไปแล้วจะรับภายใน 3 วัน ดังนั้นเมื่อเกิดความไม่แน่นอนโรงงาน จึงสำรองยางพาราเอาไว้ 2,000 กิโลกรัม ROP = (T X LT) + สินค้าสำรอง = (1500 X 3) + 2000 = 6500 กิโลกรัม จุดสั่งซื้อ ช่วงเวลาสินค้าปกติ ช่วงเวลาสินค้าขาดมือ ระดับการสั่งซื้อใหม่ ขนาดสินค้าขาดมือ

การควบคุมจำนวนสินค้าคงเหลือด้วยการจัดกลุ่มสินค้า ABC analysis โดยแยกสินค้าคงคลังออกตามประเภทความสำคัญหรือราคา โดยแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่ม A กลุ่มที่เป็นสินค้าที่สำคัญมาก มูลค่าสูง (high value) โดยทั่วไปจะมีสินค้า อยู่ประมาณ 10 – 20%ของสินค้าทั้งหมด และจะมีมูลค่าอยู่ประมาณ 70 – 80%ของมูลค่าสินค้าทั้งหมด (มีปริมาณน้อย แต่มูลค่ารวมค่อนข้างสูง) กลุ่ม B กลุ่มที่เป็นสินค้าปานกลาง (middle value) โดยทั่วไปสินค้าคงคลังประเภทนี้จะมีอยู่ประมาณ 30 – 40% ของสินค้าทั้งหมด และมูลค่าของสินค้าประเภทนี้จะมีค่าประมาณ 15 – 20% ของมูลค่าสินค้าทั้งหมด (มีปริมาณปานกลาง มูลค่ารวมปานกลาง) กลุ่ม C กลุ่มสินค้าที่มีความสำคัญน้อยที่สุด (small value) เป็นสินค้าที่มีราคาต่ำ มีเปอร์เซ็นต์ในการเก็บรักษามาก คือ ประมาณ 40 – 50% และมูลค่า 5 – 10% ของมูลค่าสินค้าทั้งหมด (มีปริมาณมาก แต่มูลค่ารวมค่อนข้างต่ำ)

เปอร์เซ็นต์ ของมูลค่า สินค้า คงเหลือ (Percent of annual dollar usage) กราฟแสดงการวิเคราะห์สินค้าคงเหลือด้วยวิธี ABC 80 70 60 50 40 30 20 10 10 20 30 40 50 60 70 80 กลุ่มสินค้า A กลุ่มสินค้า B กลุ่มสินค้า C เปอร์เซ็นต์ ของมูลค่า สินค้า คงเหลือ (Percent of annual dollar usage)

คงเหลือรายการสินค้าคงเหลือ (หน่วย) ตัวอย่างที่ 10.1 บริษัทเมืองไทยอิเล็กทรอนิกส์ มีสินค้าทั้งสิ้น 10 รายการ สามารถแสดงการแบ่งประเภทสินค้าตามหลักการของวิธี ABC ได้ดังนี้ เลขที่สินค้า คงเหลือรายการสินค้าคงเหลือ (หน่วย) เปอร์เซ็นต์ของจำนวน ปริมาณสินค้า คงเหลือ (ต่อหน่วย) ราคาสินค้า คงเหลือ มูลค่าสินค้า สินค้าคงเหลือ % ของมูลค่า # 10366 # 11536 # 12770 # 10887 # 10508 # 12572 # 14074 # 01035 # 01305 # 10574 17.56%   32.20% 50.24% 1,300 500 1,500 600 1,200 800 2,500 150 1,400 300 100.00 120.00 20.00 50.00 13.00 16.00 1.00 10.00 0.50 130,000 60,000 30,000 15,600 12,800 700 45.87% 21.17% 10.59% 5.50% 4.52% 0.88% 0.53% 0.25% 0.10% รวม 10,250 283,400 100%

ผลการจัดแบ่งสินค้าเป็นกลุ่ม กลุ่มสินค้า เลขที่สินค้าคงเหลือ มูลค่าสินค้าคงเหลือรวม เปอร์เซ็นต์ปริมาณสินค้าคงเหลือ เปอร์เซ็นต์มูลค่าสินค้าคงเหลือ A B C #10366, #11536 #12770, #10887, #10508 #12572, #14074, #01035, #01037, #10574 190,000 75,600 17,800 17.56% 32.20% 50.24% 67.04% 26.68% 6.28%

การคำนวณ การจัดแบ่งสินค้าเป็นกลุ่มตามวิธี ABC 67.04% 26.68% 6.28% A เลขที่รายการ สินค้าคงเหลือ ปริมาณสินค้า คงเหลือ %ปริมาณสินค้าคงเหลือ มูลค่าสินค้า %มูลค่าสินค้าคงเหลือ A #10366 #11536 1,300 500 =17.56% 130,000 60,000 67.04% B #12770 #10887 #10508 1,500 600 1,200 = 32.20% 30,000 15,600 26.68% C #12572 #14074 #01035 #01307 #10574 800 2,500 150 1,400 300 =50.24% 12,800 700 6.28%

การจัดทำบันทึกรายการสินค้าที่ถูกต้องแม่นยำ (Record Accuracy) ต้องมีระบบการจัดการที่ดี ห้องจัดเก็บ พื้นที่จัดเก็บ ใช้ระบบ Bar-code

จบบทที่ 8 แล้วจ้า ขอขอบคุณที่สนใจฟัง... SME yaalda