งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่ 6 การจัดการสินค้าคงคลัง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 6 การจัดการสินค้าคงคลัง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 6 การจัดการสินค้าคงคลัง
ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันนทา yalada

2 การบริหารต้นทุนสินค้าคงคลัง
(Inventory Carrying Cost) เป็นการบริหารจัดการ เพื่อให้มีการถือครองสินค้าคงคลังน้อยที่สุด ซึ่งเกี่ยวข้องกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน เพื่อประสิทธิภาพของการบริหารสินค้าคงคลังให้ตํ่าสุด EOQ yalada

3 EOQ การจัดซื้อปริมาณที่ประหยัดต่อครั้ง
(Inventory Downsizing Management) EOQ Inventory Downsizing เป็นเรื่องของการจัดการความสมดุลของต้นทุนในการถือครองสินค้าคงคลัง (Holding Cost) ต่อต้นทุนปริมาณสินค้าที่คุ้มค่าและประหยัดที่สุดในการสั่งซื้อแต่ละออเดอร์ (Economies From Order Quantities) yalada

4 EOQ Safety Stock yalada ที่มา : ดร.ธนิต โสรัตน์

5 ต้นทุนสินค้า Product Costs
% จากราคาขาย วัตถุดิบ / บรรจุภัณฑ์ % ค่าการผลิต % ค่าการตลาด และการขาย 10 % ค่าการจัดการ ธุรการ บุคคล การเงิน 10 % กำไร % โลจิสติกส์ % รวม 100 % yalada

6 ต้นทุนลอจิสติกส์ Logistics Costs
ข้อมูลประเทศอเมริกา ปี 2546 % จากราคาขาย ค่าขนส่งสินค้า % ค่าปฏิบัติงานคลังสินค้า % ค่าการนำข้อมูลสั่งซื้อเข้าระบบ % ค่าการจัดการทั่วไป % ค่าเสียโอกาสเพื่อที่จะเก็บสินค้าคงคลัง % รวมทั้งสิ้น % yalada

7 การใช้ตัวแบบการสั่งซื้อ EOQ
ศึกษาสินค้าเพียงตัวเดียว ความต้องการประจำปีต้องกำหนดมาให้ ความต้องการกระจายเท่าๆกันตลอดทั้งปี เวลานำของสินค้าคงที่ การสั่งซื้อมีการส่งของในครั้งเดียว ไม่มีส่วนลดให้กับการสั่งซื้อปริมาณมาก yalada

8 วงจรสินค้าคงคลัง ช่วงเวลาก่อนสินค้ามาถึง Q ปริมาณสินค้าในคลังสินค้า Q
จุดสั่งซื้อสินค้า (Reorder point) O จุดที่รับสินค้า จุดสั่งสินค้า จุดรับสินค้า Q T (เวลา) ช่วงเวลาก่อนสินค้ามาถึง (Lead time) เวลานำ ระดับการใช้ 50 หน่วย/วัน Q=350 หน่วย ระดับการสั่งซื้อเพิ่ม 100 หน่วย yalada

9 สินค้าคงคลัง Q t ระยะเวลา 1 ปี
เฉลี่ย Q ระยะเวลา 1 ปี t การสั่งซื้อมากครั้ง (5 ครั้ง/ปี) ทำให้มีสินค้าคงคลังน้อย สินค้าคงคลัง สินค้าเฉลี่ย Q ระยะเวลา 1 ปี t O 2 yalada การสั่งซื้อน้อยครั้ง (2ครั้ง/ปี) ทำให้มีสินค้าคงคลังมาก

10 การคำนวณ Q : ปริมาณการสั่งซื้อในแต่ละครั้ง O : ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อแต่ละครั้ง(บาท) C : ค่าเก็บรักษาต่อหน่วย ต่อปี(บาท) D : ปริมาณการใช้ตลอดปี(หน่วย) P : ราคาสินค้าต่อหน่วย TC : ค่าใช้จ่ายรวมตลอดปี yalada

11 จำนวนครั้งในการสั่งซื้อ = (ครั้ง/ปี)
จำนวนครั้งในการสั่งซื้อ = (ครั้ง/ปี) ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อแต่ละครั้ง = (บาท/ปี) ปริมาณสินค้าเฉลี่ย = หน่วย ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษาสินค้าต่อหน่วยต่อปี = ค่าใช้จ่ายสำหรับตัวสินค้าแต่ละตัว = (บาท/ปี) ค่าใช้จ่ายรวม = (บาท/ปี) yalada

12 ปริมาณการสั่งซื้อในแต่ละครั้ง
ค่าใช้จ่ายรวม = ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษา+ ค่าใช้จ่ายในการติดตั้งเครื่องจักร ถ้า = สินค้าคงคลังสูงสุด = = yalada

13 ถ้า P =การผลิตหรือการส่งของ U =อัตราการใช้งาน
“ รอบการผลิต = “ ช่วงเวลาการผลิต = สินค้าคงคลังสูงสุดและสินค้าคงคลังเฉลี่ย และ yalada

14 ตัวอย่าง บริษัทแห่งหนึ่ง ผู้จำหน่ายแบตเตอรี่ จำหน่ายแบตเตอรี่ปีละ 9,600 ชุด คาดว่าจะมีจำนวนขายในปริมาณเดียวกันทุกปี ค่าใช้จ่ายการเก็บรักษาต่อปี 6,400 บาท และค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อต่อปี 7,500 บาท/ครั้ง ถ้าบริษัททำงานปีละ 300 วัน จงหา ก) ควรซื้อครั้งละกี่ชิ้น (ให้หาค่า EOQ) ข) จะสั่งซื้อปีละกี่ครั้ง ค) รอบเวลาการสั่งซื้อเป็นระยะเวลาเท่าไร ง) ค่าใช้จ่ายรายปีเป็นเท่าไรถ้าสั่งซื้อแบบ EOQ yalada

15 จาก D : ปริมาณการใช้ตลอดปี 9,600 ชุด O : ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อแต่ละครั้ง 7,500 บาท C : ค่าเก็บรักษาต่อหน่วยต่อปีต่อชุด 6,400 บาท Q : จำนวนครั้งในการสั่งซื้อเป็นหน่วยต่อครั้ง จะได้ ชิ้น yalada

16 หรือทุกๆ 5 วัน จำนวนครั้งในการสั่งซื้อแต่ละปี ครั้ง
จำนวนครั้งในการสั่งซื้อแต่ละปี ครั้ง รอบเวลาการสั่งซื้อ วัน หรือทุกๆ 5 วัน ค่าใช้จ่ายรายปี บาท yalada

17 บาท ตัวอย่าง คำนวณหา EOQ อัน จำนวนครั้งในการสั่งซื้อแต่ละปี ครั้ง
บริษัทแห่งหนึ่งผลิตมอเตอร์เพื่อให้กับบริษัทผลิตเครื่องสูบน้ำจำนวนปีละ 4,900 หน่วยราคาหน่วยละ 750 บาทค่าสั่งซื้อครั้งละ 300 บาทค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษาคิดเป็น 20% ของราคาสินค้า ให้หาจำนวนการสั่งซื้อที่ดีที่สุดและค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษารายปี คำนวณหา EOQ อัน จำนวนครั้งในการสั่งซื้อแต่ละปี ครั้ง ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษาสินค้าต่อปี บาท yalada

18 คำนวณ(ต่อ) ต้นทุนรวม TC = แทนค่า บาท yalada

19   รอบเวลาของการผลิตที่ดีที่สุด ระยะเวลาการผลิตหนึ่งรอบ
ตัวอย่าง8.2 บริษัทแห่งหนึ่งจำหน่ายล้อแม็กปีละ 60,000 หน่วยมีกำลังผลิตวันละ 900 หน่วย สามารถผลิตได้สม่ำเสมอตลอดปี ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษาปีละ 24 บาท/หน่วยค่าใช้จ่ายในการติดตั้งเครื่องจักรครั้งละ 56 บาท ถ้าโรงงานทำงานปีละ 300 วัน ให้หา  ปริมาณการผลิตที่ดีที่สุด  ค่าใช้จ่ายต่ำที่สุดในการเก็บรักษาและการติดตั้งเครื่องจักรเพื่อการผลิต รอบเวลาของการผลิตที่ดีที่สุด ระยะเวลาการผลิตหนึ่งรอบ yalada

20 คำนวณหา  ปริมาณการผลิตที่ดีที่สุด
คำนวณหา  ปริมาณการผลิตที่ดีที่สุด เมื่อ D 60,000 ชิ้น Q ปริมาณการผลิต C 24 บาท/ชิ้น S 56 บาท U 60,000 ชิ้น/ปี (300 วัน ผลิตได้วันละ 200 ชิ้น) P ชิ้น วิธีทำ 1. จำนวนการผลิตที่เหมาะสม = 600 = =467 หน่วย yalada

21 คำนวณหา = 5,600 + 5,600 ค่าใช้จ่ายรวม = 11,200 บาท  =
ค่าใช้จ่ายต่ำที่สุดในการเก็บรักษาและการติดตั้งเครื่องจักรเพื่อการผลิต ค่าใช้จ่ายรวม = ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษา+ ค่าใช้จ่ายในการติดตั้งเครื่องจักร = = 5, ,600 ค่าใช้จ่ายรวม = 11,200 บาท yalada

22 คำนวณหา(ต่อ) รอบเวลาของการผลิตที่ดีที่สุด  = = = 3 วัน
= = = วัน ระยะเวลาการผลิตหนึ่งรอบ = = = วัน yalada

23 การหาปริมาณการสั่งซื้อกรณีสินค้ามีส่วนลด
yalada

24 ขนาดที่ซื้อ ราคาต่อหน่วย
ตัวอย่างที่ 8.3 สปานวดตัวเพื่อสุขภาพแห่งหนึ่งต้องการซื้อน้ำยานวดตัวขนาดขวดละ ลิตรปีละ 8,100 ขวดค่าสั่งซื้อครั้งละ 320 บาทค่าเก็บรักษาขวดละ 9 บาทต่อปีในราคาที่ให้ส่วนลดตามปริมาณการสั่งซื้อ ร้านที่จำหน่ายมีส่วนลดให้ดังนี้ ขนาดที่ซื้อ ราคาต่อหน่วย ซื้อตั้งแต่ 100 – ขวด ซื้อตั้งแต่ 500 – ขวด ซื้อตั้งแต่ 800 – ขวด ซื้อตั้งแต่ 1, ขวดขึ้นไป ราคาขวดละ บาท ราคาขวดละ บาท ราคาขวดละ บาท ราคาขวดละ บาท ให้หาจำนวนการสั่งซื้อที่ดีที่สุดและค่าใช้จ่ายรวม yalada

25 คำนวณหา D = 8,100 บาท S = 320 บาท H = 9 บาท คำนวณหา EOQ = =
= ขวดหรือ 758 ขวด ค่าใช้จ่ายรวมต่อปี = = = 3,411+3, ,458, บาท = 1,464, บาท yalada

26 ควรสั่งซื้อครั้งละ 1,000 ขวด เพราะมีค่าใช้จ่ายต่ำที่สุด
ค่าใช้จ่ายรวมต่อปี = = 3,600+3,240+1,377, บาท = 1,383,840 บาท ค่าใช้จ่ายรวมต่อปี = = 4,500+2,592+1,296, บาท = 1,303,092 บาท ควรสั่งซื้อครั้งละ 1,000 ขวด เพราะมีค่าใช้จ่ายต่ำที่สุด yalada

27 ขอขอบคุณที่สนใจฟัง...


ดาวน์โหลด ppt บทที่ 6 การจัดการสินค้าคงคลัง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google