ตัวชี้วัดการดำเนินงาน ปี 2560 กรมการพัฒนาชุมชน
ข้อมูลตัวชี้วัดการดำเนินงาน กรมการพัฒนาชุมชน ปี 2560 ตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2560 – 2564 ตัวชี้วัดตามวาระกรมการพัฒนาชุมชน ปี 2560 CDD Agenda 2017 ตัวชี้วัดตามยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ แผนงาน เป้าหมายการให้บริการ ผลผลิต โครงการ กิจกรรมหลัก ของกรมการพัฒนาชุมชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 หมายเหตุ : ตัวชี้วัดคำรับรองการปฏิบัติราชการฯ อยู่ระหว่างการพิจารณา
แผนยุทธศาสตร์ กรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2560 - 2564
แผนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2560 - 2564 แผนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2560 - 2564 วิสัยทัศน์ เศรษฐกิจฐานรากมั่นคงและชุมชนพึ่งตนเองได้ ภายในปี 2564 เป้าหมาย ร้อยละ 80 ของครัวเรือนในหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง 23,589 หมู่บ้าน มีรายได้เฉลี่ยสูงกว่าเกณฑ์ความจำเป็นพื้นฐาน
แผนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2560 - 2564 แผนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2560 - 2564 พันธกิจ 1. พัฒนาระบบกลไกการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้การพึ่งตนเอง 2. พัฒนาการบริหารจัดการชุมชนให้พึ่งตนเองได้ 3. สร้างระบบกลไกและกิจกรรมทางเศรษฐกิจฐานรากให้มั่นคงตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4. พัฒนาองค์กรให้มีขีดสมรรถนะสูง และบุคลากรมีอุดมการณ์ในงานพัฒนาชุมชนและเชี่ยวชาญการทำงานเชิงบูรณาการ
ประเด็นยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ 1.1 สร้างและพัฒนาผู้นำสัมมาชีพ 1.2 พัฒนาเครื่องมือเสริมสร้างสัมมาชีพชุมชน 1.3 ส่งเสริมชุมชนและภาคีร่วมพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก 1.4 พัฒนาการบริหารจัดการชุมชน 1.5 บริหารจัดการข้อมูลสารสนเทศและเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาชุมชน 1. สร้างสรรค์ชุมชนให้พึ่งตนเองได้ 2.1 เพิ่มศักยภาพผู้ผลิต ผู้ประกอบการ 2.2 พัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วยองค์ความรู้และนวัตกรรม 2.3 ส่งเสริมช่องทางตลาด 2. ส่งเสริมเศรษฐกิจฐานรากให้ขยายตัว พัฒนาระบบการจัดการและการเข้าถึงแหล่งทุนชุมชน 3. เสริมสร้างทุนชุมชนให้มีประสิทธิภาพ และมีธรรมาภิบาล 4.1 เสริมสร้างศักยภาพองค์กรเพื่อยกระดับงานพัฒนาชุมชน 4.2 พัฒนาบุคลากรให้มีคุณภาพ 4.3 ยกระดับภาพลักษณ์องค์กร 4. เสริมสร้างองค์กรให้มีขีดสมรรถนะสูง
ยุทธศาสตร์ 1 สร้างสรรค์ชุมชนพึ่งตนเองได้ ยุทธศาสตร์ 1 สร้างสรรค์ชุมชนพึ่งตนเองได้ ตัวชี้วัด หน่วยนับ ค่าเป้าหมาย 2560 2561 2562 2563 2564 1. ร้อยละของผู้นำสามารถขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชน ร้อยละ 60 65 70 75 80 2. จำนวนศูนย์เรียนรู้ชุมชนที่มีประสิทธิภาพในการสร้าง สัมมาชีพ แห่ง 300 450 600 750 904 3. ร้อยละของแผนชุมชนที่มีโครงการสนับสนุนสร้างสัมมาชีพ 4. จำนวนชุมชนที่มีการพัฒนาอาชีพเดิมหรือสร้างอาชีพใหม่ 8,000 12,000 16,000 20,000 23,589 5. ร้อยละของครัวเรือนยากจนที่ลดลง 50 6. จำนวนครัวเรือนสัมมาชีพที่เพิ่มขึ้น ครัวเรือน 188,712 259,479 330,246 401,013 471,780 7. ร้อยละของชุมชนที่ได้นำสารสนเทศไปใช้สร้างสัมมาชีพ ชุมชน 83 86 89 92 95
ยุทธศาสตร์ 2 ส่งเสริมเศรษฐกิจฐานรากให้ขยายตัว ยุทธศาสตร์ 2 ส่งเสริมเศรษฐกิจฐานรากให้ขยายตัว ตัวชี้วัด หน่วยนับ ค่าเป้าหมาย 2560 2561 2562 2563 2564 1. ร้อยละของผู้ผลิต ผู้ประกอบการ มีความสามารถในการบริหารจัดการ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ร้อยละ 80 2. จำนวนผลิตภัณฑ์ OTOP ระดับ 1-3 ดาว/กลุ่มปรับตัวสู่การพัฒนา (กลุ่ม D) ได้รับการพัฒนาและยกระดับคุณภาพมาตรฐานผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ (54,748) 7,000 10,000 12,000 12,500 13,248 3. ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของรายได้จากการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชนและท้องถิ่น 15
ยุทธศาสตร์ 3 เสริมสร้างทุนชุมชนให้มีประสิทธิภาพ และมีธรรมาภิบาล ยุทธศาสตร์ 3 เสริมสร้างทุนชุมชนให้มีประสิทธิภาพ และมีธรรมาภิบาล ตัวชี้วัด หน่วยนับ ค่าเป้าหมาย 2560 2561 2562 2563 2564 1. จำนวนครัวเรือนที่มีการบริหารจัดการหนี้ ไปสู่ 1 ครัวเรือน 1 สัญญา ครัวเรือน 10,000 20,000 30,000 40,000 50,000 2. จำนวนกลุ่มออมทรัพย์ที่มีการบริหารตาม หลักธรรมาภิบาล กลุ่ม 1,500 3,000 4,500 6,000 7,000 3. จำนวนโครงการที่กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี อนุมัติได้ส่งเสริมอาชีพและเครือข่ายอาชีพ โครงการ
ยุทธศาสตร์ 4 เสริมสร้างองค์กรให้มีขีดสมรรถนะสูง ยุทธศาสตร์ 4 เสริมสร้างองค์กรให้มีขีดสมรรถนะสูง ตัวชี้วัด หน่วยนับ ค่าเป้าหมาย 2560 2561 2562 2563 2564 1. ได้รับรางวัลจากหน่วยงานหรือผ่าน เกณฑ์มาตรฐานด้านการบริหารจัดการ องค์กร รางวัล 1 2. ร้อยละของบุคลากรที่มีคุณภาพตามเกณฑ์ ร้อยละ 87 89 91 93 95 3. ร้อยละความผาสุกของบุคลากร 79 81 84 90 4. ร้อยละของชุมชนและเครือข่ายที่มี ความเชื่อมั่นต่อกรมการพัฒนาชุมชน
วาระกรมการพัฒนาชุมชน ปี 2560 CDD Agenda 2017
ตัวชี้วัด วาระกรมการพัฒนาชุมชน ปี 2560 (CDD Agenda 2017) ตัวชี้วัดวาระกรมการพัฒนาชุมชน หน่วยนับ ค่าเป้าหมาย จำนวนครัวเรือนในหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงประกอบสัมมาชีพชุมชนมีรายได้สูงกว่ารายจ่าย และไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ ครัวเรือน 471,780 ตัวชี้วัดปัจจัยขับเคลื่อน หน่วยนับ ค่าเป้าหมาย 1) จำนวนครัวเรือนได้รับการพัฒนาอาชีพและมีรายได้เพิ่มขึ้น ครัวเรือน 471,780 2) ร้อยละของกลุ่มสัมมาชีพชุมชนได้ลงทะเบียน ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ร้อยละ 10 3) ชุมชนเป้าหมายมีรายได้จากการประกอบกิจการเพิ่มขึ้นและประชาชนมีความสุขมากขึ้น หมู่บ้าน/ชุมชน 23,589 ตัวชี้วัดปัจจัยสนับสนุน หน่วยนับ ค่าเป้าหมาย 1) ร้อยละของบุคลากรประพฤติปฏิบัติตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การ ร้อยละ 80 2) ร้อยละของบุคลากรและผู้นำชุมชนที่ได้รับการพัฒนามีการขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชน 3) ร้อยละของบุคลากรมีทักษะในการใช้เทคโนโลยีในการวิเคราะห์ข้อมูล 4) ระดับความรู้ ความเข้าใจของประชาชนในพื้นที่เกี่ยวกับการทำงาน แบบมีส่วนร่วม ค่าเฉลี่ย 4.5 5) ร้อยละของสมาชิกที่มีรายได้เพิ่มขึ้นจากการสนับสนุนเงินทุน 60 6) จำนวนกองทุนชุมชนที่มีการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ กลุ่ม 1,500
งบประมาณรายจ่าย พ.ศ.2560 กรมการพัฒนาชุมชน
ตัวชี้วัดตามยุทธศาสตร์ การจัดสรรงบประมาณ ตัวชี้วัดตามยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ แผนงาน เป้าหมายการ ให้บริการ ผลผลิต โครงการ กิจกรรมหลัก ของกรมการพัฒนาชุมชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
ยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ยุทธศาสตร์ที่ 4 ด้านการแก้ไขปัญหาความยากจน ลดความเหลื่อมล้ำ และสร้างการเติบโตจากภายใน เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ เศรษฐกิจชุมชนเข้มแข็ง ประชาชนมีความสุข และมีรายได้เพิ่ม ตัวชี้วัด ประชาชนในหมู่บ้านเป้าหมายมีรายได้เฉลี่ยเพิ่มขึ้นร้อยละ 3 (หมู่บ้านเป้าหมายตามแผนการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและชุมชนเข้มแข็ง 23,589 หมู่บ้าน)
เป้าหมายการให้บริการกระทรวงมหาดไทย ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ 1. หมู่บ้าน/ชุมชนมีขีดความสามารถในการพัฒนาแก้ไขปัญหาของตนเองตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จำนวนหมู่บ้าน/ชุมชนที่มีขีดความสามารถในการบริหารจัดการข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน 74,965 หมู่บ้าน/ชุมชน ร้อยละ 90 ของหมู่บ้าน/ชุมชนที่มีความสามารถในการบริหารจัดการข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน 2. หมู่บ้าน/ชุมชนมีความสามารถในการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากให้มั่นคง จำนวนหมู่บ้าน/ชุมชนที่กลุ่มผู้ผลิตมีความสามารถในการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากให้มั่นคง 7,187 หมู่บ้าน/ชุมชน จำนวนครั้งการส่งเสริมช่องทางการตลาด 77,807 ครั้ง ร้อยละ 70 ของหมู่บ้าน/ชุมชนที่กลุ่มผู้ผลิตมีความสามารถในการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากให้มั่นคง
เป้าหมายการให้บริการกรมการพัฒนาชุมชน ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ 1. หมู่บ้าน/ชุมชนมีขีดความสามารถในการบริหารจัดการชุมชนให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น จำนวนหมู่บ้าน/ชุมชนที่มีขีดความสามารถในการบริหารจัดการข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน 74,965 หมู่บ้าน/ชุมชน ร้อยละ 90 ของหมู่บ้าน/ชุมชนที่มีความสามารถในการบริหารจัดการข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน 2. หมู่บ้าน/ชุมชนมีความสามารถในการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและชุมชนเข้มแข็ง จำนวนหมู่บ้าน/ชุมชนมีความสามารถในการพัฒนาชุมชนให้มั่นคง ประชาชนมีวิถีชีวิตตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 23,589 หมู่บ้าน/ชุมชน ร้อยละ 60 ของหมู่บ้าน/ชุมชน ได้รับการพัฒนาเป็นแหล่งเรียนรู้ตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ตัวชี้วัดงบประมาณ ตามผลผลิต/โครงการ (บาท) ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ 1. ผลผลิต : เสริมสร้างขีดความสามารถของชุมชนในการบริหารจัดการข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน 1,178,683,500 จำนวนครัวเรือนที่มีข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) 12,900,000 ครัวเรือน จำนวนหมู่บ้านที่มีข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช.2ค) 70,335 หมู่บ้าน ร้อยละ 90 ของครัวเรือนที่มีข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ที่เชื่อถือได้ ร้อยละ 90 ของหมู่บ้าน ที่มีข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้านที่เชื่อถือได้
การบริหารการจัดเก็บข้อมูล จปฐ./ข้อมูล กชช. 2ค ปี 2560 เป้าหมายจัดเก็บข้อมูล จปฐ. จำนวน 12,950,000 ครัวเรือน เป้าหมายจัดเก็บข้อมูล กชช. 2ค จำนวน 70,335 หมู่บ้าน พื้นที่เป้าหมายจัดเก็บข้อมูล ทุกครัวเรือนที่มีผู้อาศัยอยู่จริงในหมู่บ้าน/ชุมชน พื้นที่เป้าหมายจัดเก็บข้อมูล ทุกหมู่บ้านในเขตชนบท (อบต. และ เทศบาลตำบลที่ยกฐานะจาก อบต.) ระยะเวลาในการจัดเก็บ ธันวาคม 2559 –กุมภาพันธ์ 2560 จัดเก็บและบันทึกประมวลผลทุกครัวเรือนเสร็จต้องนำเสนอผลการจัดเก็บข้อมูลในที่ประชุมระดับ อปท. ระยะเวลาในการจัดเก็บ จัดเก็บต่อเนื่องหลังจากการจัดเก็บข้อมูล จปฐ.ได้ทันที มกราคม – มีนาคม 2560 จัดเก็บทุกหมู่บ้านแล้วต้องนำเสนอผลในที่ประชุมระดับตำบล
งบประมาณที่กรมฯ สนับสนุนจังหวัด/อำเภอ จำนวน 13 กิจกรรม ประชุมคณะทำงานบริหารจัดเก็บข้อมูลฯ ระดับจังหวัด (2 ครั้ง 9,500 บาท) ประชุมชี้แจงผู้จัดเก็บข้อมูลฯ (เฉลี่ยคนละ 200 บาท) ฝึกอบรมผู้บันทึกข้อมูลฯ ค่าจัดเก็บข้อมูลฯ (เล่มละ 12 บาท) ค่าบันทึกและประมวลผลข้อมูลฯ (เล่มละ 6 บาท) ตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการจัดเก็บข้อมูลฯ ระดับอำเภอ (เฉลี่ยอำเภอละ 5,000 บาท จังหวัดสามารถปรับได้ตามความเหมาะสมของพื้นที่) ตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการจัดเก็บข้อมูลฯ ระดับจังหวัด (อำเภอละ 5,000 บาท) รณรงค์และเชิญชวนการจัดเก็บข้อมูลฯ ระดับจังหวัด (จังหวัดละ 25,000 บาท) นำเสนอผลการจัดเก็บข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชนต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อบต. เทศบาลตำบล เทศบาลเมือง เทศบาลนครและเมืองพัทยา) นำเสนอผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ระดับอำเภอ นำเสนอผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ระดับจังหวัด ค่าบันทึกและประมวลผลข้อมูล กชช. 2ค (เล่มละ 25 บาท) ประชุมคณะทำงานบริหารการจัดเก็บข้อมูลระดับตำบลเพื่อตรวจสอบคุณภาพข้อมูล กชช. 2ค (ตำบลละ 1,250 บาท)
ตัวชี้วัดงบประมาณ ตามผลผลิต/โครงการ (บาท) ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ 2. โครงการสร้างสัมมาชีพชุมชนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 954,408,300 จำนวนแผนชุมชนระดับตำบล มีการนำไปใช้ในการพัฒนาอาชีพ 6,095 ตำบล จำนวนประชาชนที่ได้รับการส่งเสริมอาชีพ 471,780 ราย/ครัวเรือน จำนวนกลุ่มอาชีพที่ได้รับการพัฒนา 2,360 กลุ่ม ร้อยละ 85 ของแผนชุมชนมีการนำไปใช้ในการพัฒนาอาชีพ ร้อยละ 85 ของผู้ได้รับการส่งเสริมอาชีพ ประกอบอาชีพตามแนวทางสัมมาชีพ
เป้าหมาย>> ประชาชนได้รับการพัฒนาอาชีพและมีรายได้ กระบวนการสร้างสัมมาชีพชุมชน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 เป้าหมาย>> ประชาชนได้รับการพัฒนาอาชีพและมีรายได้ ร้อยละ 85 ของ แผนชุมชน มีการนำไปใช้ในการพัฒนาอาชีพ ประชาชนที่ได้รับ การส่งเสริมอาชีพ 471,780 ราย/ครัวเรือน กลุ่มอาชีพ ที่ได้รับการพัฒนา 2,360 กลุ่ม หน่วยดำเนินการ โครงการหลัก โครงการ ยกระดับต่อยอด โครงการสนับสนุน สพช. (ศูนย์ศึกษาฯ) ประชุมเชิงปฏิบัติการ ทีมสนับสนุนการขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชนระดับประเทศ ประชุมเชิงปฏิบัติการ ทีมสนับสนุนการขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชนระดับจังหวัด ประชุมเชิงปฏิบัติการ ทีมสนับสนุนการขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชนระดับอำเภอ ส่วนกลาง พัฒนาผู้นำสัมมาชีพ 23,589 หมู่บ้าน (คน) ประชุมเชิงปฏิบัติการวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับจังหวัด 23,589 หมู่บ้าน (คน) เตรียมความพร้อมทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน 23,589 หมู่บ้านๆ ละ 5 คน ส่งเสริมการสร้างสัมมาชีพชุมชน ในระดับหมู่บ้าน 23,589 หมู่บ้านๆละ 20 คน สนับสนุนการจัดตั้งและ พัฒนากลุ่มอาชีพ จำนวน 2,360 กลุ่ม ประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างเครือข่าย นักจัดการความรู้ชุมชน ไตรมาส 1 จำนวน 76 จังหวัดๆ ละ 2 คน จำนวน 3 วัน ส่วนกลาง ไตรมาส 1-2 จำนวนรุ่นละ 4 วัน ไตรมาส 1,3 จำนวน 4 รุ่นละ 3 วัน ประชุมเชิงปฏิบัติการ องค์กรสตรีระดับภาค ส่งเสริมครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน ไตรมาส 1,3 จำนวน 4 ภาคๆ ละ 2 วัน ระดับจังหวัด ระดับจังหวัด จังหวัด พัฒนา ผู้นำสัมมาชีพชุมชนระดับตำบล ไตรมาส 2,4 จำนวน 6,095 คน เฉลี่ยตำบลๆ ละ 1 คน ไตรมาส 1-2 จำนวน 1 วัน ไตรมาส 1,3 จำนวน 1 วัน ระดับหมู่บ้าน พัฒนาผู้นำชุมชนรุ่นใหม่ สืบสานงานสัมมาชีพชุมชน ไตรมาส 1 จำนวน 76 จังหวัด ๆ ละ 1 รุ่นๆ ละ 3 วัน จำนวน 20 คน/รุ่น ระดับอำเภอ อำเภอ ไตรมาส 1-2 จำนวน 3 วัน บูรณาการ แผนชุมชนระดับตำบล ไตรมาส 1 จำนวน 6,095 ตำบลๆ ละ 1 วัน ระดับหมู่บ้าน ไตรมาส 1,3 จำนวน 1 วัน อำเภอ สนับสนุนสัมมาชีพ แก่ครัวเรือนยากจน ไตรมาส 2 จำนวน 10,054 ครัวเรือน ไตรมาส 1-2 จำนวน 5 วัน ระดับหมู่บ้าน พัฒนาหมู่บ้าน เศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ไตรมาส 3 จำนวน 878 หมู่บ้าน อำเภอ ไตรมาส 3-4 จำนวน 1 วัน
ตัวชี้วัดงบประมาณ ตามผลผลิต/โครงการ (บาท) ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ 3. โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการการเงินชุมชน 168,676,400 จำนวนครัวเรือนที่สามารถแก้ปัญหาหนี้สิน 1ครัวเรือน 1 สัญญา 10,000 ครัวเรือน ร้อยละ 75 ของสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชนสามารถบริหารจัดการหนี้ได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด
ตัวชี้วัดงบประมาณ ตามผลผลิต/โครงการ (บาท) ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ 4. โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการและพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน 319,006,700 จำนวนผลิตภัณฑ์ชุมชนที่ได้รับการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน 7,187 ผลิตภัณฑ์ จำนวนผู้ประกอบการที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านการผลิตผลิตภัณฑ์ให้ตรงตามความต้องการของตลาด 10,496 ราย ร้อยละ 70 ของผลิตภัณฑ์ชุมชนมีคุณภาพและมูลค่าเพิ่ม
ตัวชี้วัดงบประมาณ ตามผลผลิต/โครงการ (บาท) ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ 5. โครงการส่งเสริมช่องทางการตลาดผลิตภัณฑ์ชุมชน 472,560,000 จำนวนช่องทางการตลาด 77,807 ครั้ง ร้อยละ 10 ของรายได้ที่เพิ่มขึ้นจากการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชนของปีที่ ผ่านมา
กองแผนงาน กรมการพัฒนาชุมชน