ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พันเอกหญิง ดร. นงพิมล นิมิตรอานันท์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หลักสูตร eLearning สำหรับ มทรก เม.ย.09
Advertisements

Helping you make better treatment decisions for your patients.
An Online Computer Assisted Instruction Development of Electronics Devices Subject for Learning Effectiveness Testing By Assoc.Prof. Suwanna Sombunsukho.
ภาษาอังกฤษ อ่าน-เขียน 2
Model development of TB active case finding in people with diabetes.
Image Processing Course
การประเมินผลระหว่างเรียนที่ ส่งเสริมการสอนของครูและ การเรียนรู้ของนักเรียนใน ศตวรรษที่ 21.
ประเด็นบรรยาย ๑. ทำไมต้อง “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ๒. นโยบายของโครงการ ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ ๓. ผล O-net ของโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้
ศาสตราจารย์ ดร. ชุติมา สัจจานันท์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
การฝึกอบรมคืออะไร.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษา
การเรียนรู้โดยใช้โครงการเป็นฐาน (Project based Learning : PBL)
การวิจัยปฏิบัติการ ในชั้นเรียน
ติวสอบออนไลน์ หลักการสอนที่เน้นการสอนคิดวิเคราะห์และ
ความคืบหน้าการจัดทำ ร่าง-ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ นพ.ยงยศ ธรรมวุฒิ ที่ปรึกษาระดับกระทรวง นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ
นางวนิดา สมภูงา หัวหน้ากลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
โรงเรียนในเตาพิทยาคม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
บทที่ 5 การออกแบบการวิจัย
Innovation and Information Technology in Education
Part 1: By the Power of the Gospel
การวัดและประเมินการปฏิบัติ
มโนทัศน์เกี่ยวกับการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น
ทิศทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560
การบำบัดรักษาทางสังคมจิตใจ สำหรับผู้ป่วยโรคซึมเศร้า ในการอบรมการบริการผู้ป่วยโรคซึมเศร้าสำหรับผู้ปฏิบัติ หลักสูตรกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.
ทิศทางการดูแลสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ
การวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research)
Health Promotion & Environmental Health
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
นวัตกรรมการบริการสารสนเทศ ในยุคประเทศไทย 4.0
มาตรฐานระบบบริการสุขภาพ ด้านสุขศึกษา ปี 2562
ดร.จันทร์ ติยะวงศ์ คณะศึกษาศาสตร์และศิลปศาสตร์ วิทยาลัยนครราชสีมา
นายดำหริ งิมสันเทียะ ผอ.สพป.อย.1
แผนงาน/โครงการ สร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ
ดร.จันทร์ ติยะวงศ์ คณะศึกษาศาสตร์และศิลปศาสตร์ วิทยาลัยนครราชสีมา
ณ ห้องประชุมศาสตราจารย์ ดร. กานดา ณ ถลาง
User Experience Design
ข้อสังเกตในการจัดทำผลงานทางวิชาการ
แนวทางการประเมินผลสัมฤทธิ์ ด้วยข้อสอบมาตรฐานกลาง
FOOD AND BEVERAGE SERVICE CHIANG RAI VOCATIONAL COLLEGE
การปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาคนอย่างยั่งยืน พ.ศ
วิทยานิพนธ์เรื่อง การศึกษาความเป็นไปได้ของการใช้โปรแกรมการออกกำลังกายต่ออาการเหนื่อยล้าของผู้ป่วยมะเร็ง เม็ดเลือดขาวมัยอีลอยด์ชนิดเฉียบพลันที่รับการรักษาในโรงพยาบาลด้วยยาเคมีบำบัด.
(Promotion and Prevention Excellence) นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์
การแนะแนวอาชีพในศตวรรษที่ 21
โดย ดร.ปราณี คงพิกุล ผอ.กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการศึกษา
ดร.ศรีวรรณ ฉัตรสุริยวงศ์ ครูเชี่ยวชาญ (คศ.4)
โรงพยาบาลสมิติเวช ศรีนครินทร์
แผนการจัดตั้งคลินิกหมอครอบครัวจังหวัดสตูล ปี
ASEAN - China Free Trade Agreement (ACFTA)
โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ชุมชนบ้านทุ่งโหลง อ. เมือง จ
Scholarships Chayooth Theeravithayangkura
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
ดร.ภาสกร พงษ์สิทธากร ผู้อำนวยการศูนย์พัฒนาการนิเทศและเร่งรัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน สพฐ.
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
อ.ดร.พิมพ์ใจอุ่นบ้าน MD.พยาบาลชุมชน เวชปฏิบัติ
หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ฉบับปรับปรุง ปีการศึกษา ๒๕๖๒
รายวิชา IFM4401 โครงงานการจัดการสารสนเทศ 3 (ทฤษฎี2-ปฏิบัติ2-ศึกษาด้วยตนเอง5) หน่วยกิต
สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
1. พระเยซูทรงต้องการให้เราเป็น เหมือนพระองค์
โครงการฟันเทียมพระราชทาน เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 การประชุมเชิงปฏิบัติการ.
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พันเอกหญิง ดร. นงพิมล นิมิตรอานันท์
Skills of 21st century learning ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 3Rs X 7Cs (เรียนรู้ตลอดชีวิต) Reading ’Riting (Writing) ’Rithmetic (Arithmetic) ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ.
Fully Participation ส่วนกลาง และ ศูนย์อนามัยเขต
เขตสุขภาพที่ 10 มุกศรีโสธรเจริญราชธานี
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 5
ผู้วิจัย : สุภาพร อภิพันธุ์
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านบัวงาม อ.ดำเนินสะดวก จ.ราชบุรี
Program Evaluation Achakorn Wongpreedee, Ph.D.
Big data management for health Care Utilization in community / public Health Mr.Prapunchock Sanachoo (R.N, M.N.S) 12 July 2019.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประยุกต์ Health literacy concept ในผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 รายใหม่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พันเอกหญิง ดร. นงพิมล นิมิตรอานันท์ หลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยคริสเตียน

วิทยานิพนธ์ เรื่อง ผลของโปรแกรมการสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพ ในผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 รายใหม่ The Effects of Health Literacy Enhancement Program for the New Case Diabetes Mellitus Type II Patients ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พันเอกหญิง ดร. นงพิมล นิมิตรอานันท์ อาจารย์ ดร. ศศิธร รุจนเวช สุพัตรา เชาว์ไวย หลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยคริสเตียน 1/17/2019

จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานทั่วโลก ล้านคน จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานทั่วโลก 700 600 500 400 300 200 100 ค.ศ.2013 ค.ศ.2015 ค.ศ.2040 1/17/2019 (IDF ; Diabetic Atlas, 2015)

ผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงระดับประเทศ 1/17/2019 (กระทรวงสาธารณสุข, 2561)

เขตบริการสุขภาพที่ 7 1/17/2019

(สถิติแผนกผู้ป่วยโรคเรื้อรัง โรงพยาบาลหนองสองห้อง, 2561) 1/17/2019 (สถิติแผนกผู้ป่วยโรคเรื้อรัง โรงพยาบาลหนองสองห้อง, 2561)

โรคเบาหวาน: อันตรายจริงหรือ ? รูปถ่ายนี้ โดย ไม่ทราบผู้เขียน ลิขสิทธิ์ของ CC BY-NC-SA รูปถ่ายนี้ โดย ไม่ทราบผู้เขียน ลิขสิทธิ์ของ CC BY-NC-SA รูปถ่ายนี้ โดย ไม่ทราบผู้เขียน ลิขสิทธิ์ของ CC BY-NC-ND 1/17/2019

มุมมองที่แตกต่าง ความเชื่อทางสุขภาพ (Health beliefs) ทัศนคติ (Attitude) การให้ความหมาย (Meaning) ความรู้ (Knowledge) การเข้าถึงข้อมูลสุขภาพ (health information accessibility) การทำความเข้าใจกับข้อมูลสุขภาพ (health information understanding) การนำข้อมูลสุขภาพมา (ปรับ) ใช้ในการดูแล/บำบัด/เยียวยาสุขภาพของตน (health information utilization) 1/17/2019

รูปถ่ายนี้ โดย ไม่ทราบผู้เขียน ลิขสิทธิ์ของ CC BY-NC-SA

ปัญหาของผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่ ขาดทักษะในการแก้ปัญหาสุขภาพ เครียด วิตกกังวล ซึมเศร้า ปฏิบัติตัวไม่ถูกต้อง ขาดทักษะในการดูแลตนเอง (อรพิน สีขาว, 2559) (Davies et al, 2008) (จุฑามาศ เกษศิลป์, พาณี วิรัชกุล และอรุณี หล่อนิล, 2556) 1/17/2019

HL มีความสำคัญต่อผู้ป่วยโรคเบาหวานอย่างไร ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มีความจำกัด ด้านความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Low/limited hl)

บริบทการทำงานในชุมชน/บริการปฐมภูมิ ของพยาบาลชุมชน/พยาบาลเวชปฏิบัติ

จากการศึกษานำร่อง ณ แผนกผู้ป่วยนอก คลินิกโรคเรื้อรัง โรงพยาบาลหนองสองห้อง จังหวัดขอนแก่น ในช่วงเดือนมกราคม พ.ศ. 2561 ไม่สามารถระบุ ชนิดของอาหาร ที่ควรรับประทาน หรือควรงดได้ ไม่สามารถระบุเวลาและขนาดของยารักษาโรคเบาหวานได้ ไม่สามารถอธิบายระดับน้ำตาลในเลือดและระดับน้ำตาลสะสมได้ 1/17/2019

นโยบายสุขภาพเพื่อการจัดการโรคเบาหวาน แผนยุทธศาสตร์ สุขภาพดีวิถีไทย (พ.ศ. 2554 - 2563) แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ด้านสาธารณสุข (2560 - 2579) 1/17/2019

กระบวนทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ (Systematic review) การค้นหาและคัดสรร หลักฐานเชิงประจักษ์ (ย้อนหลัง 10 ปี) ค.ศ.2008 - 2017 หรือ พ.ศ.2551 -2560 ฐานข้อมูล Google, Google scholar, CINAHL, Proquest Nursing, Thailist digital collection, Cochrane, JBI ชุดคำสืบค้น (Key words) Diabetes newly diagnosis / Health literacy enhancement / Health literacy in Diabetes Mellitus การส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพ / ผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 รายใหม่ / การส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพในผู้ป่วยโรคเบาหวาน / การส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพในผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 รายใหม่

Keywords New case DM HL in DM HL Enhancement (Davies, Heller, Skinner, Cambell, Carey, Cradock et al, 2008) (Speros, 2011) (Taggart et.al, 2012) (Heinrich, 2012) (Eadie, 2014) (Kennard, 2016) (Kennard, 2016) (Nutbeam, 2017) Keywords HL Enhancement (Osborn, Cavanaugh, Wallston, Rothman, 2010) (Osborn, Cavanaugh & Kripalani, 2010) (Mancuso, 2010) (Stiles, 2011) (Cavanaugh, 2011) (Sayah, Marjumdar, Williams, Robertson and Johnson, 2012) (Moss, 2014) (Lizarondo, Wiles and Kay, 2014) (Gin Den Chen et al, 2014) (Bailey, Brega, Crutchfield, Elasy, Herr, Kaphingst, Karter, et al, 2014) HL in DM 1/17/2019

คำสืบค้น 3 เรื่อง 2 เรื่อง ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ชนิดที่ 2 รายใหม่ (พัชรมนต์ ไกรสร, 2550) (ยุพิณ ชัยยลและจิราภรณ์ เกศพิชยวัฒนา, 2552) (คณิตตา อินทบุตร, สุรินธร กลัมพากร และ ปาหนัน พิชยภิญโญ,2560) ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ชนิดที่ 2 รายใหม่ คำสืบค้น 2 เรื่อง (ขวัญเมือง แก้วดำเกิง และ ดวงเนตร ธรรมกุล, 2558) (อภิญญา อินทรรัตน์, 2557) การส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพ 6 เรื่อง สมฤทัย เพชรประยูร และคณะ (2557) ธเนศวุฒิ สายแสง และคณะ (2557) ชะนวนทอง ธนสุกาญจน์และนรีมาลย์ นีละไพจิต (2559) ชลธิรา เรียงคำ และคณะ (2559) พรวิจิตร ปานนาค, สุทธีพร มูลศาสตร์ และ เชษฐา แก้วพรม (2559) อารยา เชียงของ, พัชรี ดวงจันทร์ และ อังศินันท์ อินทรกำแหง (2560) ความรอบรู้ด้านสุขภาพกับผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 1/17/2019

สรุปสาระความรู้ 1. ผู้ที่มีความรอบรู้ด้านสุขภาพสูง จะทำให้ดูแลตนเองและควบคุมระดับน้ำตาล ในเลือดได้ดี ส่วนผู้ที่มีความรอบรู้ด้านสุขภาพที่ต่ำจะส่งผลให้ไม่สามารถควบคุม ระดับน้ำตาลได้ 2. ควรมีการพัฒนาโปรแกรมการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพในผู้ป่วยกลุ่มนี้ ซึ่งมีหลายเทคนิคที่ใช้ร่วมกัน เช่น ศึกษาและเข้าใจวัฒนธรรมของผู้ป่วย การใช้ ภาษาที่เข้าใจง่าย สร้างบรรยากาศที่เป็นกันเอง อธิบายศัพท์ทางการแพทย์ให้ ผู้ป่วยเข้าใจ ใช้เทคนิคสอนกลับ(Teach-back) การใช้สามคำถาม (Ask me 3) เพื่อกระตุ้นให้ผู้ป่วยได้คิด ใช้สื่อต่างๆ ช่วยให้ผู้ป่วยเข้าใจได้ง่ายขึ้น 1/17/2019

สรุปสาระความรู้ 3. ควรสอนสุขศึกษาเรื่องโรคเบาหวานและการปฏิบัติตัวเมื่อป่วย เป็นโรคเบาหวาน 4. ควรมีเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินระดับความรอบรู้ด้าน สุขภาพได้อย่างถูกต้องเพื่อแยกระดับและวางแผนการดูแลผู้ป่วย ได้อย่างเหมาะสม 1/17/2019

ความรอบรู้ด้านสุขภาพในประเทศไทย ประเด็นการพัฒนา โปรแกรมการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพใน กลุ่มคน/ กลุ่มวัย / ผู้ป่วยโรคต่างๆ ในประเทศไทยยังมีน้อย ประเทศไทยประกาสนโยบายในแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติฉบับที่ 12 โดยเน้นการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ ระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพในผู้ป่วยโรคเบาหวานในคนไทยยังอยู่ระดับต่ำ 1/17/2019

การให้ความรู้และสร้างทักษะ เพื่อการดูแลโรคเบาหวานด้วยตนเอง 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโรคเบาหวาน 2. โภชนบำบัด 3. การออกกำลังกาย 4. ยารักษาเบาหวาน 5. การตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือดด้วยตนเองและการแปลผล 6. ภาวะน้ำตาลต่ำหรือสูงในเลือดและวิธีป้องกันแก้ไข 1/17/2019 (สมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทย, 2560)

การให้ความรู้และสร้างทักษะ เพื่อการดูแลโรคเบาหวานด้วยตนเอง 7. โรคแทรกซ้อนจากเบาหวาน 8. การดูแลสุขภาพโดยทั่วไป 9. การดูแลสุขภาพช่องปาก 10. การดูแลรักษาเท้า 11. การดูแลในภาวะพิเศษ เช่น การตั้งครรภ์ 1/17/2019 (สมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทย, 2560)

ช่วงเวลาที่สมควรให้ความรู้และ/หรือ ทบทวนโรคเบาหวาน 1. เมื่อได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคเบาหวาน 2. หลังจากให้ความรู้โรคเบาหวานครั้งแรก ควรมีการประเมินและทบทวนความรู้เกี่ยวกับ โรคเบาหวาน อาหาร และความต้องการทางอารมณ์ (Emotional needs ) อย่างน้อยทุก 1 ปี 3. เมื่อมีปัญหาภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน หรือปัจจัยอื่นๆที่มีผลต่อการดูแลตนเอง 4. เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการดูแลรักษาโรคเบาหวาน เช่น จากเด็กสู่วัยผู้ใหญ่ การวางแผนการ ตั้งครรภ์ 1/17/2019 (สมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทย, 2560)

คู่มือการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ 3 ขั้นตอน ขั้นที่ 1 ค้นหาความรู้เดิมหรือ สิ่งที่ผู้ป่วยรู้ ขั้นที่ 2 สร้างทักษะ ความรอบรู้ด้านสุขภาพและความรู้ ขั้นที่ 3 ตรวจสอบให้แน่ใจว่าเข้าใจ ถ้าไม่ - ให้กลับไปขั้นที่ 2 ใหม่ โมเดล 3 ขั้นตอน เพื่อความรอบรู้ที่ดีกว่า (A three – step model for better health literacy) (Health Quality & Safety Commission New Zealand, 2015) (อังศินันท์ อินทรกำแหง, 2560)

ความรู้เรื่อง เครื่องมือวัดระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพ 1) The Short Test of Functional Health Literacy in Adult (S-TOFHLA) 2) The Newest Vital Sign (NVS) 3) Diabetes Numeracy Test (DNT)

ตัวอย่างเครื่องมือวัดระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพ The Short Test of Functional Health Literacy in Adult (S-TOFHLA) ตัวอย่างคำถาม : The doctor has sent you to have a ……X- ray. Stomach 2. Diabetes 3. Stitches 4. germs

The Newest Vital Sign (NVS) 1/17/2019

The Newest Vital Sign (NVS) 1/17/2019

เครื่องมือและการวัด/แบบคัดกรอง HL 1) แบบประเมินการอ่านศัพท์พื้นฐานทางการแพทย์อย่างเร็วใน กลุ่มผู้ใหญ่ (Rapid Estimate of Adults Literacy: REALM) 2) แบบประเมินการอ่านศัพท์พื้นฐานทางการแพทย์อย่างเร็วใน กลุ่มผู้ใหญ่แบบสั้ น (Shortened version of the Rapid Estimate of Adults Literacy: S-REALM) 3) แบบทดสอบการอ่านศัพท์ทางการแพทย์ (Medical Achievement Reading Test: MART) 4) The Newest Vital Sign (NVS)

REALM – the screening tool Is a 2 – 3 minutes reading recognition test that can be administered by RN It measures the Pts’ ability to interpret health care terms and health – related materials.

แบบคัดกรองความแตกฉานด้านสุขภาพของผู้ป่วย (Thesis บังอรศรี จินดาวงศ์, มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2556) รายการที่ 1 รายการที่ 2 รายการที่ 3 หู ถุงน้ำดี ซิฟิลิส ไต เส้นประสาท ริดสีดวง เริม ไขมัน ตับอักเสบ ชัก ยาเม็ด ปริมาณยาต่อครั้ง ลำไส้ การวินิจฉัยโรค เชิงกราน คาเฟอิน การออกกำลังกาย อัณฑะ การตั้งครรภ์ พิษสุราเรื้อรัง มะเร็ง ประจำเดือน กระดูกพรุน หอบหืด โปตัสเซียม พฤติกรรม

สรุป - เทคนิคการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ กระตุ้นให้ผู้ป่วยถาม 3 คำถาม (Ask me 3) สร้างบรรยากาศที่เป็นกันเอง เป็นมิตร (Shame - free) ให้คำแนะนำที่เหมาะกับวัฒนธรรม ของผู้ป่วย ใช้เทคนิค การสอนกลับ(Teach-back) พัฒนาทักษะการคิดคำนวณและอ่านฉลากโภชนาการ ใช้ภาษาที่ผู้ป่วย เข้าใจง่าย อธิบายศัพท์ทางการแพทย์ให้ผู้ป่วยเข้าใจ ใช้สื่อต่างๆ ช่วยให้ผู้ป่วยเข้าใจได้ง่ายขึ้น

การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพ ในผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 รายใหม่ คำถามของการวิจัย ผลของโปรแกรม การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพ ในผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 รายใหม่ เป็นอย่างไร

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ - มีความรอบรู้ด้านสุขภาพเพิ่มขึ้น - รับรู้ว่าตนเองมีความสามารถในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลด ความเสี่ยง ควบคุมระดับน้ำตาลในกระแสเลือดได้ดี การเกิดภาวะแทรกซ้อน จากโรคเบาหวานลดลง สามารถพึ่งตนเองทางสุขภาพ (Self-reliance) ได้เป็นอย่างดี 1/17/2019

กรอบแนวคิดการวิจัย ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ชนิดที่ 2 รายใหม่ - ระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพ - พฤติกรรมการดูแลตนเองเพื่อควบคุมโรคเบาหวาน ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ชนิดที่ 2 รายใหม่ โปรแกรมการสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพในผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 รายใหม่ 1. การวิเคราะห์ ความรู้ ความเชื่อ และประสบการณ์เดิม 2. การประเมินความสามารถในการอ่านศัพท์พื้นฐานทางการแพทย์ และความเข้าใจตัวเลขทางคณิตศาสตร์ 3. การตั้งเป้าหมายร่วมกัน 4. การพัฒนาทักษะ 4.1 การอ่านและการเขียนทางสุขภาพ 4.2 การสื่อสารด้วยวาจาทางสุขภาพ 5. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการสะท้อนกลับ 1/17/2019

วิธีดำเนินการวิจัย การศึกษาแบบกึ่งทดลอง (Quasi-experimental design) ชนิดศึกษาหนึ่งกลุ่ม วัดก่อนและหลัง (One group pretest – posttest design) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาผลของโปรแกรมการ สร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพในผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 รายใหม่ 1/17/2019

สถานที่ศึกษา 1/17/2019

ประชากรศึกษา ประชากรศึกษาเป็นผู้ป่วยที่มารับบริการที่ โรงพยาบาล หนองสองห้อง จังหวัดขอนแก่น โดยผู้ป่วยต้องได้รับการวินิจฉัย ว่าเป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นผู้ป่วย เบาหวานไม่เกิน 6 เดือน ตั้งแต่เดือนกันยายน พ.ศ.2560 – เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 จำนวน 43 คน 1/17/2019

กลุ่มตัวอย่าง รพสต.โนนธาตุ ( 1 คน) รพสต. สำ โรง (0 คน) รพสต.ตะกั่วป่า   กลุ่มตัวอย่าง รพสต.ตะกั่วป่า (2 คน) คึมชาด (7 คน ) วังหิน (1 คน) PCU หนองสองห้อง (5 คน) รพสต.โนนแต้ รพสต.ดอนดู่ (7 คน) รพสต.ดอนดั่ง (4 คน) รพสต.หนองเม็ก (3 คน) รพสต.หันโจทย์ หนองไผ่ล้อม ดงเค็ง (10 คน) รพสต. บ้านเปาะ 1/17/2019

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง โปรแกรมการสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพในผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 รายใหม่ ขั้นตอนที่ 1 1.1 การสร้างสัมพันธภาพ 1.2 การวิเคราะห์ ความรู้ ความเชื่อ และประสบการณ์เดิม (Prior knowledge, Believe and Experience) ขั้นตอนที่ 2 การประเมินความสามารถในการอ่านชุดศัพท์ทางการแพทย์ ขั้นตอนที่ 3 การตั้งเป้าหมายร่วมกับกลุ่มตัวอย่าง ขั้นตอนที่ 4 การพัฒนาทักษะการอ่านและการเขียน (Print literacy) ทางสุขภาพ และการสื่อสารด้วยวาจา (Oral literacy) ประกอบด้วย 8 ชุดการเรียนรู้ ขั้นตอนที่ 5 การแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการสะท้อนกลับโดยใช้เทคนิคการสอนกลับ (Teach - back) 1. ข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่ 2. แบบสัมภาษณ์กลุ่มเรื่อง ความรู้ ความเชื่อ และประสบการณ์เดิมของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 รายใหม่ 3. ชุดศัพท์พื้นฐานทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยโรคเบาหวาน 4. แบบประเมินความแตกฉานด้านสุขภาพขั้นพื้นฐานสำหรับผู้เป็นเบาหวาน 5. แบบประเมินพฤติกรรมการดูแลตนเองเพื่อควบคุมโรคเบาหวาน 6. แบบทดสอบสภาพสมองเบื้องต้นของสถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ 1/17/2019

แบบสัมภาษณ์กลุ่ม เรื่อง ความรู้ ความเชื่อ และประสบการณ์เดิม ของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 รายใหม่ 7.5 การรับประทานยา 7.6 การมาตรวจตามนัด 8. ท่านทราบหรือไม่ว่าผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมน้ำตาลไม่ได้จะมีอาการเตือนอย่างไร 9. ท่านทราบหรือไม่ว่า หากไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้เป็นระยะเวลา นานๆ จะทำให้เกิดปัญหาสุขภาพด้านใด 10. ที่ผ่านมาท่านมีพฤติกรรมการดูแลตนเองในด้านต่างๆเหล่านี้อย่างไร พอใจกับวิธีการดูแลตนเองเหล่านี้หรือไม่ 10.1 การรับประทานอาหาร 10.2 การออกกำลังกาย ที่เหมาะสมกับโรคเบาหวาน 10.3 การจัดการตนเองเมื่อมีภาวะน้ำตาลในเลือดสูงหรือต่ำเกินไป 10.4 การจัดการความเครียดและการพักผ่อนหลับ 10.5 การรับประทานยา 10.6 การมาตรวจตามนัด 1. ท่านเข้าใจว่าโรคเบาหวานคืออะไร 2. ท่านทราบหรือไม่ว่าโรคเบาหวานเกิดจากอะไร 3. ท่านเชื่อว่าที่ป่วยด้วยโรคเบาหวานเกิดจากสาเหตุอะไร 4. ท่านเชื่อว่าที่ป่วยด้วยโรคเบาหวานเกิดจากสาเหตุอะไร 5. ท่านทราบหรือไม่ว่าอาการที่ป่วยเป็นโรคเบาหวานมักจะมีอาการสำคัญหรืออาการที่ เด่นชัดคืออะไร 6. ท่านทราบหรือไม่ว่าแผนการรักษาของแพทย์เป็นอย่างไร 7. ท่านทราบหรือไม่ว่าแผนการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวาน เป็นอย่างไร 7.1 การรับประทานอาหาร 7.2 การออกกำลังกาย ที่เหมาะสมกับโรคเบาหวาน 7.3 การจัดการตนเองเมื่อมีภาวะน้ำตาลในเลือดสูงหรือต่ำเกินไป 7.4 การจัดการความเครียดและการพักผ่อน นอนหลับ 1/17/2019

แบบประเมินการอ่าน ศัพท์พื้นฐานทางการแพทย์ คำศัพท์ชุดที่ 1 อ่านได้ คำศัพท์ชุดที่ 2 คำศัพท์ชุดที่ 3 1. มก./ดล. 2. จอตา 3. เลนส์ตา 4. วุ้นตา 5. วิ่งเหยาะ 6. บริกรรม 7. องุ่นสด 8. สมาธิ 9. ฟอกเลือด 10. ภาวนา 11. พุทโธ 12. ลูกอม 13. ช้อนยา 14. ช้อนชา 15. จักษุแพทย์ 16. อัมพฤกษ์ 17. อัมพาต 18. จักรยาน 19. แพ้ยา 20. น้ำตาลในเลือด 21. ความดันโลหิต 22. การประเมิน 23. ไตเสื่อม 24. หมดสติ   1. สมดุล 2. ช้อนกาแฟ 3. ช้อนกินข้าว 4. ผงชูรส 5. เอ็กซเรย์ปอด 6. สมุดประจำตัว 7. ดัชนีมวลกาย 8. ไข่ขาวในปัสสาวะ 9. ชีพจรหลังเท้า 10. ชีพจรตาตุ่มด้านใน 11. คลื่นไฟฟ้าหัวใจ 12. เส้นเลือดฝอย 13. น้ำมันปาล์ม 14. แกงเลียงกุ้งสด 15. นมสดพร่องมันเนย 16. กิจวัตรประจำวัน 17. ยาละลายลิ่มเลือด 18. โปรตีนในปัสสาวะ 19. ความเข้มข้นของเลือด 20. ค่าน้ำตาลหลังอาหาร 21. ค่าน้ำตาลสะสม 22. ภาวะแทรกซ้อน 1. ระดับไขมันโคเลสเตอรอล 2. ระดับไขมันไตรกลีเซอร์ไรด์ 3. ระดับไขมันเอชดีแอล 4. ระดับไขมันแอลดีแอล 5. ธงโภชนา 6. มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์ 7. มิลลิเมตรปรอท 8. ช็อกโกแลต 9. โซเดียม 10. ผลกระทบ 11. วิกฤติ 12. ปฏิบัติการ 13. กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด 14. เส้นเลือดฝอยร่างแหในลูกตา 15. การควบคุมความดันโลหิตสูง 16. การควบคุมเบาหวาน 17. หน่วยบริโภค 18. ปัจจัยเสี่ยง 19. ≤ 20. ≥ 1/17/2019

ชลธิรา เรียงคำ และคณะ (2559) ชลธิรา เรียงคำ และคณะ (2559)

แบบประเมินพฤติกรรมการดูแลตนเองเพื่อควบคุมโรคเบาหวาน   พฤติกรรม ความถี่ของการปฏิบัติต่อสัปดาห์ ปฏิบัติสม่ำเสมอ ปฏิบัติบ่อยครั้ง ปฏิบัติบางครั้ง ไม่ปฏิบัติเลย 1.หลังจากเป็นเบาหวานท่านยังคงกินข้าว มากกว่า 2 ทัพพี ต่อมื้อ 2.หลังจากเป็นเบาหวานท่านยังคงกินขนมหวาน เช่น ลอดช่อง บัวลอย 3.ท่านมีการยืดเหยียดกล้ามเนื้อก่อนและหลังออกกำลังกายทุกครั้ง อย่างน้อย 5-10 นาที (คณิตตา อินทบุตร, สุรินธร กลัมพากร และ ปาหนัน พิชยภิญโญ, 2560)

เราได้เรียนรู้อะไร ใครคือผู้ที่จะได้รับประโยชน์จากผลผลิตนี้ ผลผลิตของการเรียนรู้ (Learning product/Learning outcome) คืออะไร ผลผลิตนี้ เป็นนวัตกรรม (Innovation) หรือไม่ ใครคือผู้ที่จะได้รับประโยชน์จากผลผลิตนี้