งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ความคืบหน้าการจัดทำ ร่าง-ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ นพ.ยงยศ ธรรมวุฒิ ที่ปรึกษาระดับกระทรวง นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ความคืบหน้าการจัดทำ ร่าง-ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ นพ.ยงยศ ธรรมวุฒิ ที่ปรึกษาระดับกระทรวง นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ความคืบหน้าการจัดทำ ร่าง-ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
นพ.ยงยศ ธรรมวุฒิ ที่ปรึกษาระดับกระทรวง นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ ด้านเวชกรรมป้องกัน นพ.สุวัฒน์ วิริยพงษ์สุกิจ ผอ.รพ.สมเด็จพระบรมราชินีนาถ ณ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา 5 กรกฏาคม 2560

2 Timeline 30-90 วัน เพื่อนำเสนอ ครม.
ประชุมร่วมคณะเล็ก มท. และ สธ. เป็นแกน พร้อมกับ พม. สปสช. สสส. สช. และกฤษฎีกา เมื่อ 8, 19, 26 มิย. และ 3 กค. 2560 หารือและได้รับข้อเสนอแนะ ที่ปรึกษา รมว. สธ. (อ.มยุรา กุสุมภ์) อธิบดีกรมอนามัย อธิบดีกรมควบคุมโรค(รอง อธิบดี) 3 กค. รองปลัดกทม. และคณะ 4 กค.

3 ร่าง ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีฯ ประกอบด้วย
1. ชื่อ วัตถุประสงค์ (หลักการและเหตุผล) 3. ฐานอำนาจในการออกระเบียบ คณะกรรมการนโยบายฯ 5. คณะกรรมการ และ องค์ประกอบ คุณสมบัติกรรมการ การได้มา การพ้นวาระ 7. อำนาจหน้าที่ การดำเนินการ/ปฏิบัติงานของคณะกรรมการ 9. เลขานุการ สำนักงานเลขานุการ และอำนาจหน้าที่ 10. การบังคับใช้ระเบียบ 11. ค่าใช้จ่าย เช่น เบี้ยประชุม ค่าตอบแทน ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับการดำเนินงาน ของ คณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และคณะทำงาน 12. ผู้รักษาการตามระเบียบนี้

4 ชื่อ ใช้ตามมติ ครม. “คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ”
วัตถุประสงค์ มี key words “บูรณาการ” “การมีส่วนร่วม” ประชาชน เอกชน รัฐ “ภาวะการนำร่วม” ฐานอำนาจในการออกระเบียบ พรบ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ มาตรา 11 (6) (8) คกก.และองค์ประกอบ คุณสมบัติ การได้มา การพ้นวาระ

5 องค์ประกอบ ทั่วไป (โดยตำแหน่ง 2 และการคัดเลือก 19)
1. ภาครัฐ(6) ส่วนราชการ ส่วนท้องถิ่นและท้องที่ (อปท. กำนัน ผญบ.) 2. เอกชน และ ผู้ประกอบวิชาชีพ(6) 3. ประชาสังคม(7) (ประชาชน องค์กรภาคประชาชน) ประธาน : นายอำเภอ (ตามสรุป บยศ. และ มติ ครม.) เลขานุการ : สสอ. จำนวน ใช้สัดส่วนในแต่ละกลุ่มใกล้เคียงกัน ไม่เกิน.... คน โดยกำหนดจำนวนทั้งหมด ไม่เกิน 21 คน หลักการ : ให้มีความหลากหลายและ เป็นไปได้ในการเลือกคนในพื้นที่

6 อำเภอขนาดเล็ก อำเภอขนาดกลาง อำเภอขนาดใหญ่ รวม 11 คน รวม 17 คน
นอภ ประธาน สสอ เลขาฯ รัฐ ผู้อำนวยการ รพ. ปลัดอำเภอ นายกอบต. กำนัน เอกชน/ผู้ประกอบวิชาชีพ ผอ.รพ.สต. เจ้าของโรงงาน ผู้อำนวยการ รร. ประชาชน พระ อสม. นอภ ประธาน สสอ เลขาฯ รัฐ ผู้อำนวยการ รพ. ผู้กำกับฯ ปลัดอำเภอ นายกเทศฯ นายกอบต. กำนัน เอกชน/ผู้ประกอบวิชาชีพ ผอ.รพ.สต. เจ้าของโรงงาน ผู้อำนวยการ รร. เจ้าของร้านขายยา ประชาชน พระ อสม. ผู้สูงอายุ นอภ ประธาน สสอ เลขาฯ รัฐ ผู้อำนวยการ รพ. ปลัดอำเภอ พัฒนากร นายกเทศฯ ปลัด อบต. ผู้ใหญ่บ้าน เอกชน/ผู้ประกอบวิชาชีพ ผอ.รพ.สต. เจ้าของโรงงาน ผู้อำนวยการ รร. เจ้าของร้านขายยา แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว พยาบาลวิชาชีพ ประชาชน พระ อสม. ผู้สูงอายุ ผู้จัดการมูลนิธิ หมอยาพื้นบ้าน ชมรมเยาวชน ชมรมสตรี รวม 11 คน รวม 17 คน รวม 21 คน

7 องค์ประกอบ กทม. (โดยตำแหน่ง 4 และการคัดเลือก 19)
1. ภาครัฐ(6) ส่วนราชการ ส่วนท้องถิ่นและท้องที่ 2. เอกชน และ ผู้ประกอบวิชาชีพ(6) 3. ประชาสังคม (7) (ประชาชน องค์กรภาคประชาชน) ประธาน : ผู้อำนวยการเขต เลขานุการ : ผอ.ศูนย์บริการสาธารณสุข ผช เลขานุการ : หัวหน้าฝ่ายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม หัวหน้าฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล จำนวน ใช้สัดส่วนในแต่ละกลุ่มใกล้เคียงกัน ไม่เกิน.... คน โดยกำหนดจำนวนทั้งหมด ไม่เกิน 23 คน

8 อำนาจหน้าที่ 1. กำหนดแผนงาน เป้าหมาย ทิศทาง และยุทธศาสตร์ ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตในอำเภอ 2. ดำเนินการให้เกิดการขับเคลื่อนตามแผนงาน เป้าหมาย ทิศทาง และยุทธศาสตร์ตาม (1) โดยประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชนภายในและภายนอกเขตอำเภอ 3. บูรณาการและระดมทรัพยากรที่มีอยู่ในอำเภอ ทั้งจากภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน เพื่อให้เกิดการขับเคลื่อนตามแผนงาน เป้าหมาย ทิศทาง และยุทธศาสตร์ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตในอำเภอ 4. สนับสนุนและส่งเสริมให้ท้องถิ่นและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม 5. เสนอแนะและให้คำปรึกษาเกี่ยวกับการดำเนินงานในเรื่องการพัฒนาคุณภาพชีวิตต่อหน่วยงานหรือองค์กรต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง

9 อำนาจหน้าที่ (ต่อ) 6. ประสานงานกับ พชอ. ในอำเภออื่น เพื่อให้เกิดการบูรณาการในการดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ 7. ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานในการพัฒนาคุณภาพชีวิตในอำเภอ 8. เรียกให้ส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือหน่วยงานของเอกชนในอำเภอ จัดส่งข้อมูล เอกสาร หรือหลักฐานที่เกี่ยวข้องหรือเป็นประโยชน์ต่อการกำหนดแผนงาน เป้าหมาย ทิศทาง และยุทธศาสตร์ หรือการดำเนินงานในการพัฒนาคุณภาพชีวิตในอำเภอ 9. ปฏิบัติการอื่นใดที่จำเป็นและต่อเนื่องเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของการดำเนินการตามระเบียบนี้ หรือตามที่กฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของ พชอ. หรือตามที่ผู้ว่าราชการจังหวัดมอบหมาย การดำเนินการตาม (๑) ให้รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตในอำเภอ และภารกิจของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนประเมินสถานการณ์และสภาพปัญหาต่าง ๆ ในอำเภอด้วย

10 ระดับประเทศ “คกก.นโยบายพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ”
รมว มท. สธ. ที่ปรึกษา ปลัด มท. และ ปลัดสธ. ประธานร่วม คกก : ปลัดพม. ปลัดศธ. อธิบดีกรมการปกครอง กรมพัฒนาชุมชน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น อธิบดีกรมควบคุมโรค กรมอนามัย กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ เลขาฯสปสช. ผู้จัดการ สสส. เลขาฯสช. เลขานุการ : รองปลัด สธ. ที่รับผิดชอบกลุ่มภารกิจด้านการพัฒนาการสาธารณสุข

11 การดำเนินการ/ปฏิบัติงานของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)
วาระ 2 ปี ไม่เกิน 3 วาระ ให้ พชอ. รายงานความก้าวหน้า ปัญหา หรืออุปสรรคในการดำเนินงาน รวมทั้งขอรับการสนับสนุน ต่อผู้ว่าราชการจังหวัดและคณะกรรมการนโยบายพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ หรือ คณะกรรมการระดับจังหวัดที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตในระดับอำเภอที่ พชอ. เห็นสมควร สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ เป็นสำนักงานเลขานุการ (ศูนย์บริการสาธารณสุขเขต กทม.) ค่าใช้จ่าย เช่น เบี้ยประชุม ค่าตอบแทน ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับการดำเนินงาน ของ คณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และคณะทำงาน ตั้งที่ สธ. ในระยะเริ่มต้น การบังคับใช้ระเบียบ ให้ใช้บังคับเป็นการทั่วไปทุกพื้นที่ ผู้รักษาการระเบียบ รมว.มท. และ รมว.สธ.

12 ประเด็นเพื่อพิจารณา ขอบเขตอำนาจหน้าที่ (ระดับความเข้มข้น) การบังคับใช้ : เป็นไปตามระเบียบนี้ หรือจะให้มีบทเฉพาะกาลของพื้นที่กทม. (เงื่อนเวลา และเงื่อนพื้นที่) พิจารณาเห็นชอบ Timeline เสนอ ครม. - ประชุม คกก.จัดทำร่างฯ ตามคำสั่งกระทรวงสาธารณสุขที่ 911/2560 - กำหนดวันและรูปแบบเพื่อเสนอ ครม.


ดาวน์โหลด ppt ความคืบหน้าการจัดทำ ร่าง-ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ นพ.ยงยศ ธรรมวุฒิ ที่ปรึกษาระดับกระทรวง นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google