งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research)
ดร.เตือนใจ ดลประสิทธิ์

2 จุดมุ่งหมาย การวิจัยเชิงทดลอง เป็นเทคนิคการวิจัยที่มุ่งศึกษาความสัมพันธ์ในเชิงสาเหตุและผล (Cause-and-Effect Relationship) เช่น - ต้องการศึกษาว่าการใช้ภาพประกอบคำบรรยายส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหรือไม่ -การใช้ผังความคิดส่งผลต่อความคงทนในการเรียนรู้หรือไม่

3 ลักษณะของการวิจัย การจัดการทดลองสอน (การจัดกระทำ)
การจัดการสอนแบบสรุปความ 2 แบบ (การให้องค์ประกอบหนึ่งมีการเปลี่ยนแปลง) การทำให้พื้นฐานความรู้และอื่นๆเท่ากัน (การควบคุมองค์ประกอบอื่นให้คงที่) การวัดผลการทดลองด้วยเครื่องมือคุณภาพ (การวัดอย่างเป็นปรนัย)

4 ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยเชิงทดลอง
ตัวแปรอิสระ (Independent Variable)คือ ตัวแปรที่ผู้วิจัยจัดกระทำในการทดลอง ตามแปรตาม (Dependent Variable) คือ ตัวแปรที่เกิดจากอิทธิพลของตัวแปรอิสระ

5 ตัวอย่าง ความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหา ความสนใจในการเรียน ตัวแปรอิสระ
ตัวแปรตาม วิธีสอนโจทย์ปัญหา ทำงานเป็นกลุ่ม แบบปกติ ความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหา การใช้การเสริมแรง ใช้การเสริมแรง ไม่ใช้การเสริมแรง ความสนใจในการเรียน

6 ตัวแปรที่ต้องควบคุม คือตัวแปรอื่นๆทั้งหมดที่นอกเหนือจากตัวแปรอิสระและมีอิทธิพลต่อตัวแปรตาม เรียกว่าตัวแปรเกิน ถ้าการวิจัยเชิงทดลองใดมีอิทธิพลของตัวแปรเกิน (Extraneous Variable)ต่อตัวแปรตามมากจะทำให้ได้ผลการทดลองที่ไม่ถูกต้อง

7 ตัวแปรที่ต้องควบคุม (ต่อ)
ถ้าควบคุมตัวแปรเกินได้ดี ทำให้ได้ผลการทดลองถูกต้อง ถือว่าผลการวิจัยมีความตรงภายใน (Internal Validity)

8 ตัวแปรเกินที่ต้องควบคุม ประกอบด้วย
เหตุการณ์ระหว่างการทดลอง ซึ่งเกิดขึ้นระหว่างทำการทดลองแล้วส่งผลต่อตัวแปรตาม วุฒิภาวะ ความคลาดเคลื่อนจากการใช้เครื่องมือ การถดถอยทางสถิติ ความคลาดเคลื่อนจากการเลือกกลุ่ม การสูญหายของผู้รับการทดลอง

9 แบบแผนของการวิจัยเชิงทดลอง
แบ่งเป็น 3 แบบ คือ แบบแผนการทดลองแบบไม่ถูกต้อง (Faulty Research Design) แบบแผนการทดลองแบบแท้ (True Research Design) แบบแผนการทดลองแบบกึ่งทดลอง (Quasi Research Design)

10 1.แบบแผนการทดลองแบบไม่ถูกต้อง (Faulty Research Design)
เป็นแบบแผนที่ไม่สามารถสรุปผลในเชิงสาเหตุและผลได้ ผู้วิจัยต้องเลือกใช้ในสถานการณ์ที่เหมาะสม โดยผู้วิจัยควรเลือกใช้แบบแผนวิจัยแบบอื่นก่อนแบบแผนชนิดนี้

11 1.แบบแผนการทดลองแบบไม่ถูกต้อง (Faulty Research Design)
มี 3 แบบ ได้แก่ 1.1 แบบแผนที่มีกลุ่มเดียว มีการทดสอบหลังการทดลอง (One- Group Posttest – only Design) ตัวอย่าง กลุ่ม เงื่อนไขการทดลอง ทดสอบหลัง กลุ่มทดลอง X Y

12 จุดอ่อนคือ ผลการทดสอบหลังการทดลอง อาจไม่ใช่ผลที่เกิดจากการทดลองก็ได้ จึงควรพิจารณาให้เหมาะสมกับสถานการณ์ เช่น ต้องการทดลองว่า นวัตกรรมการสอนที่คิดขึ้นส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เป็นที่น่าพอใจหรือไม่ โดยผู้เรียนจะต้องได้คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 80 ขึ้นไป สถานการณ์ประกอบการพิจารณา คือผู้ทดลองรู้ว่า ผู้เรียนไม่มีความรู้ในเรื่องที่ทดลองมาก่อน หรือมีพื้นฐานบ้าง

13 จุดอ่อน (ต่อ) ต้องการหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน โดยรู้ก่อนว่าผู้รับการทดลอง ไม่มีความรู้เกี่ยวกับเนื้อหาในการทดลองมาก่อน หรือยังไม่เคยเรียนมาก่อน การทดลองที่ใช้เวลานาน อาจมีตัวแปรเกินที่เป็นวุฒิภาวะ หรือเหตุการณ์ระหว่างทดลอง ที่ส่งผลต่อตัวแปรตามได้

14 1.แบบแผนการทดลองแบบไม่ถูกต้อง (ต่อ)
1.2แบบแผนที่มีกลุ่มเดียว มีการทดลองก่อนและหลัง (One-Group pretest-Posttest Design) เป็นแบบแผนที่แสดงให้เห็นถึงความเปลี่ยนแปลงหรือความก้าวหน้า เหมาะสมสำหรับการทดลองเกี่ยว การสอน การใช้นวัตกรรม หรือพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางการเรียนการสอน

15 1.แบบแผนการทดลองแบบไม่ถูกต้อง (ต่อ)
แต่โดยหลักการ การทดลองเกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนยังไม่สามารสรุปได้ว้าวิธีการสอนนั้นดี เพราะโดยทั่วไปแล้วไม่ว่าจะสอนโดยวิธีใด คะแนนหลังทดลองก็สูงกว่าคะแนนก่อนทดลอง ถ้าหาคำตอบได้ว่าคะแนนสอบหลังสูงกว่าคะแนนสอบก่อนมากเพียงใดตามที่กำหนดจึงจะสามารถบอกได้ว่าวิธีสอนนั้นมีประสิทธิภาพ เช่นวิธีสอนแบบ A ทำให้คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังสอนสูงกว่าก่อนสอน 40%

16 ตัวอย่าง 1.2 กลุ่ม ทดสอบก่อน เงื่อนไขการทดลอง ทดสอบหลัง กลุ่มทดลอง Y1 X Y2 เปรียบเทียบ

17 1.3แบบแผนที่มีกลุ่มควบคุมและมีการทดสอบหลังอย่างเดียว (Nonequivalent Control – Group Posttest – Only Design) กลุ่ม เงื่อนไขการทดลอง ทดสอบหลัง กลุ่มทดลอง X Y เปรียบเทียบ กลุ่มควบคุม Y

18 แบบแผนการทดลองแบบแท้ (True Research Design)
มีลักษณะ 3 ประการ สามารถตอบคำถามการวิจัยได้ สามารถควบคุมตัวแปรเกินที่สำคัญได้หรือมีความตรงภายใน (Internal Validity)โดยการสุ่มเข้ากลุ่มเป็นวิธีสำคัญในการควบคุมตัวแปรเกิน สามารถสรุปพาดพิงไปยังประชากรได้ หรือมีความตรงภายนอก (External Validity)

19 ตัวอย่างที่นิยม ขอเสนอ 3 แบบ
แบบแผนที่มีการสุ่มมีกลุ่มควบคุมและมีการทดสอบหลัง(Randomized Control Group Posttest – Only Design) ตัวอย่าง กลุ่ม เงื่อนไขการทดลอง ทดสอบหลัง กลุ่มทดลอง X Y สุ่มเข้า เปรียบเทียบ กลุ่มควบคุม Y

20 ตัวอย่าง 2.แบบแผนจับคู่ที่มีการทดสอบหลังอย่างเดียว (Matched – Su bject and Randomized Posttest – Only Design) กลุ่ม เงื่อนไขการทดลอง ทดสอบหลัง จับคู่ตาม กลุ่มทดลอง X Y สุ่มเข้า เปรียบเทียบ ตัวแปรสำคัญ กลุ่มควบคุม Y

21 ตัวอย่าง 3. แบบแผนการทดลองแบบมีการสุ่มหลายกลุ่มและมีการทดสอบหลัง (Randomized Multiple Group Posttest – Only Design) กลุ่ม เงื่อนไขการทดลอง ทดสอบหลัง กลุ่มควบคุม Y สุ่มเข้า กลุ่มทดลอง 1 X 1 Y เปรียบเทียบ กลุ่มทดลอง 2 X 2 Y

22 3. แบบแผนการทดลองแบบกึ่งทดลอง (Quasi Research Design)
เป็นแบบแผนที่ไม่สามารถควบคุมตัวแปรเกินได้อย่างทั่วถึง 3.1 แบบแผนที่ไม่มีการสุ่ม มีกลุ่มควบคุม และมีการทดสอบก่อนและหลัง (Nonrandomized Control Group Pretest - Posttest Design)

23 ตัวอย่าง กลุ่ม ทดสอบก่อน เงื่อนไขการทดลอง ทดสอบหลัง ผลต่าง(ก่อน-หลัง) กลุ่มทดลอง Y X Y D ไม่สุ่มเข้า เปรียบเทียบ กลุ่มควบคุม Y Y D


ดาวน์โหลด ppt การวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google