ทิศทางการดำเนินงานด้านยาเสพติด เขตสุขภาพที่ 12 ปีงบประมาณ 2560 โดย นายแพทย์อดิศักดิ์ งามขจรวิวัฒน์ โรงพยาบาลธัญญารักษ์ปัตตานี ประธานคณะทำงานเขตสุขภาพที่ 12 สาขายาเสพติด
การแบ่งระดับโรงพยาบาลตาม Service Plan ในเขตสุขภาพที่ 12 รพ เฉพาะทาง. 3แห่ง(รพธ.ปัตตานี/รพธ.สงขลา/ รพ.จิตเวชฯสงขลา) Referral Level Advance รพศ. 3 แห่ง(รพ.ตรัง/หาดใหญ่/ ยะลา) High level Standard รพท. 5 แห่ง(รพ.พัทลุง/สตูล/สงขลา/ ปัตตานี/นราธิวาสฯ) รพท.ขนาดเล็ก 2 แห่ง(รพ.สุไหงโกลก/เบตง) M1 Mid level รพช.ขนาดใหญ่ 4 แห่ง(รพ.ห้วยยอด/ ควนขนุน/นาทวี/สายบุรี) M2 First level เครือข่ายบริการทุติยภูมิ (รพช.) 63 แห่ง F1-3 798 แห่ง เครือข่ายบริการปฐมภูมิ (รพ.สต.) P1-2
ยาเสพติดที่มีการค้าและการแพร่ระบาด ห้วง ต.ค.57– ก.ย.58 ห้วง ต.ค.58– ก.ย.59 ห้วงเวลา/ยาเสพติดที่มีการค้า และการแพร่ระบาด อันดับ 1 อันดับ 2 อันดับ 3 อันดับ 4 อันดับ 5 ตุลาคม 2557 – กันยายน 2558 พืชกระท่อม 13,719 คดี (ร้อยละ 47.38) ยาบ้า 10,572 คดี (ร้อยละ 36.51) ไอซ์ 1,632 คดี (ร้อยละ 5.64) กัญชาแห้ง 1,547 คดี (ร้อยละ 5.34) เฮโรอีน 492 คดี (ร้อยละ 1.70) ตุลาคม 2558 กันยายน 2559 14,968 คดี (ร้อยละ 58.87) 7,118 คดี (ร้อยละ 27.99) 1,398 คดี (ร้อยละ 5.50) 838 คดี (ร้อยละ 3.30) ยาแก้ไอ 390 คดี (ร้อยละ 1.53) ที่มา : สถานการณ์ยาเสพติดในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง ปปส. ภาค 9
ที่มา : สถานการณ์ยาเสพติดในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง ปปส. ภาค 9 พื้นที่/ ตัวยาหลัก อันดับ 1 อันดับ 2 อันดับ 3 จ.สงขลา พืชกระท่อม (ร้อยละ 61.22) ยาบ้า (ร้อยละ 19.15) ไอซ์ (ร้อยละ 12.07) จ.สตูล (ร้อยละ 60.80) (ร้อยละ 27.99) กัญชาแห้ง (ร้อยละ 5.31) จ.ตรัง (ร้อยละ 71.37) (ร้อยละ 19.84) (ร้อยละ 2.50) จ.พัทลุง (ร้อยละ 64.33) (ร้อยละ 26.96) (ร้อยละ 4.45) จ.ปัตตานี (ร้อยละ 53.80) (ร้อยละ 40.93) เฮโรอีน (ร้อยละ 1.94) จ.ยะลา (ร้อยละ 57.02) (ร้อยละ 28.95) (ร้อยละ 5.37) จ.นราธิวาส (ร้อยละ 47.47) (ร้อยละ 39.51) (ร้อยละ 4.30) ที่มา : สถานการณ์ยาเสพติดในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง ปปส. ภาค 9
ข้อมูลการบำบัดรักษายาเสพติด ปี 2559 ที่มา : สถานการณ์ยาเสพติดในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง ปปส. ภาค 9
การบริการด้านยาเสพติด ความพร้อมการให้บริการสำหรับผู้ป่วยยาเสพติด กระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 12 บริการผู้ป่วยใน IPD บริการผู้ป่วยนอก OPD กรมการแพทย์ 2 แห่ง กรมสุขภาพจิต 1 แห่ง การบริการด้านยาเสพติด รพศ./รพท. รพท(ล)/รพช. รพ.สต. กรมแพทย์ กรมจิต กรมวิทย์ จำนวน(แห่ง) 8 69 796 2 1 1.การค้นหาผู้เสพ 2. การคัดกรอง 3.จำแนกผู้ป่วยกลุ่ม 4.การบำบัดรักษาฟื้นฟู OPD 5.การติดตามหลังการบำบัด 1 ปี 6.การตรวจคัดกรองยาเสพติดทางห้องปฏิบัติการ 7.ตรวจพิสูจน์ยาเสพติดในปัสสาวะ ในขั้นการตรวจยืนยัน 8.การรักษา วิธี Harm reduction
Design Scenario ยาเสพติด การบริการ ด้านยาเสพติด A S M1 M2 F1 F2 F3 P รพ.ธัญญารักษ์ รพ.จิตเวช กรมวิทย์ การค้นหาผู้เสพ X – Ray(ร่วมตามบริบท) √ การคัดกรอง จำแนกผู้ป่วย การบำบัดรักษาฟื้นฟู OPD BA/BI การติดตามหลังการบำบัด 1 ปี การตรวจคัดกรองยาเสพติดทางห้องปฎิบัติการ ตรวจพิสูจน์ ยาเสพติดในปัสสาวะในขั้นการตรวจยืนยัน การรักษา วิธี Harm Reduction methadone etc # สำนักบริหารการสาธารณสุข ตามบริบท
สรุปจุดเน้น/สิ่งที่เปลี่ยนแปลงภาพรวม: ระบบบำบัดรูปแบบบังคับรักษา ที่มา สิ่งที่ต้องเตรียมการปี60 ผู้เกี่ยวข้อง 1.มาตรฐานการบำบัดในระบบไม่ควบคุมตัวด้วยโปรแกรมจิตสังคมบำบัดในรพ. ยังมีความหลากหลาย มีบุคลากรใหม่ สำรวจศักยภาพผู้บำบัดเก่า ใหม่ทุกระดับ เพื่อวางแผนปฏิทินจัดการอบรมเพิ่มเติม/refresh ทุกระดับ สสจ กรมการแพทย์ กรมสุขภาพจิต 2.การบำบัดในระบบไม่ควบคุมตัวแบบโปรแกรมรายงานตัวที่สนง.คุมประพฤติ ให้สธ. บำบัด(ใหม่) ผู้ป่วยมีโอกาสกลับเสพซ้ำ มีมติเห็นควรให้บำบัดภายใต้มาตรฐานวิชาชีพสธ เตรียมบุคลากร และองค์ความรู้ด้วยการบำบัดอย่างสั้นBA/BI ณ.จุดบริการที่เหมาะสมตามข้อสั่งการ 3.การกำกับมาตรฐานระบบ หน่วยงานยาเสพติดในภาคีเครือข่ายบางแห่งมีมาตรฐานที่ไม่สอดคล้องกัน จัดเตรียมคณะทำงานกำกับติดตามและกำกับตามมาตรฐานกลางกระทรวง สธ
สรุปจุดเน้น/สิ่งที่เปลี่ยนแปลงภาพรวม: ระบบบำบัดรูปแบบต้องโทษ ที่มา สิ่งที่ต้องเตรียมการปี60 ผู้เกี่ยวข้อง 1.การกำกับมาตรฐานระบบ หน่วยงานยาเสพติดในภาคีเครือข่ายบางแห่งมีมาตรฐานที่ไม่สอดคล้องกัน จัดเตรียมคณะทำงานกำกับติดตาม และกำกับตามมาตรฐานกลางกระทรวงสธ สสจ กรมการแพทย์ กรมสุขภาพจิต กรมราชทัณฑ์
กลไกการดำเนินงานยาเสพติด เขตสุขภาพ มีหน่วยงานยาเสพติด ในเขตสุขภาพทุกเขต บทบาท กำกับควบคุม ติดตามประมวลผล หน่วยบริหาร (Administration) หน่วยปฏิบัติการ (Operation) รพศ. รพท. สสจ. สสอ. รพช. มีหน่วยงานยาเสพติดในสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด บทบาท : กำกับ ควบคุม ติดตามประมวลผล ดูแลระบบฐานข้อมูลด้านยาเสพติด ประสานการดำเนินงานกับภาคีเครือข่าย และพัฒนาองค์ความรู้ด้านยาเสพติด มีหน่วยงานยาเสพติดในสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด บทบาท : กำกับ ควบคุม ติดตามประมวลผล ดูแลระบบฐานข้อมูลด้านยาเสพติด ประสานการดำเนินงานกับภาคีเครือข่าย และพัฒนาองค์ความรู้ด้านยาเสพติด จัดตั้งหน่วยงานยาเสพติด 1.อัตรากำลัง 2.สิ่งก่อสร้าง 3.ครุภัณฑ์ 4.ยา -Methadoneในพื้นที่ที่มีปัญหา 5.เวชภัณฑ์ -ชุดตรวจคัดกรองปัสสาวะสำหรับกลุ่มแอมเฟตามีน เฮโรอีน มอร์ฟีน กัญชา -การตรวจยืนยันปัสสาวะใน กลุ่มแอมเฟตามีน จัดตั้งหน่วยงานยาเสพติด 1.อัตรากำลัง 2.สิ่งก่อสร้าง 3.ครุภัณฑ์ 4.ยา -Methadoneในพื้นที่ที่มีปัญหา 5.เวชภัณฑ์ -ชุดตรวจคัดกรองปัสสาวะสำหรับกลุ่มแอมเฟตามีน เฮโรอีน มอร์ฟีน กัญชา
ข้อสั่งการสำนักปลัด
ข้อสั่งการสำนักปลัด
ข้อสั่งการสำนักปลัด
ข้อสั่งการสำนักปลัด
ข้อมูลการดำเนินงานด้านยาเสพติดกระทรวงสาธารณสุขเขตสุขภาพที่12 ปี 2559 ลำดับ จังหวัด จำนวนโรงพยาบาล(แห่ง) จำนวน รพ.สต.(แห่ง) จำนวนผู้ป่วยที่เข้ารับการบำบัด (คน) บสต. จำนวนผู้ป่วยที่เข้ารับการบำบัด บังคับบำบัดแบบไม่เข้มงวด(บสต) จำนวนผู้ป่วยที่เข้ารับการบำบัด ค่ายศูนย์ขวัญแผ่นดิน(Nispa) การให้บริการ เมทาโดนคลินิก(แห่ง) ผ่านการรับรองคุณภาพงานยาเสพติด(HA ยาเสพติด) 1 รพธ.ปัตตานี 2 รพธ.สงขลา 3 รพ.จิตเวชฯ 4 ปัตตานี 12 128 625 190 979 11 5 ยะลา 8 80 266 37 444 6 นราธิวาส 13 111 396 105 723 7 ตรัง 10 125 511 55 584 สงขลา 17 175 2608 214 2464 16 9 สตูล 54 204 219 235 พัทลุง 418 173 420 รวม 77 798 5,028 993 5,849 24 56
ค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมฯ ปี 2559 รวมทั้งเขตสุขภาพ 47 ค่าย ค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมฯ ปี 2559 ข้อมูลจาก ปปส ภาค 9 จังหวัด อำเภอ ค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สงขลา อำเภอเมืองสงขลา ศูนย์ขวัญแผ่นดินจังหวัดสงขลา อำเภอสทิงพระ ศูนย์ขวัญแผ่นดิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา อำเภอจะนะ ศุนย์ขวัญแผ่นดิน อำเภอนาทวี ค่ายมหาจักรีสิรินธร อำเภอเทพา โครงการศูนย์ขวัญแผ่นดิน อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา ประจำปีงบประมาณ 2559 อำเภอสะบ้าย้อย ค่ายเพิ่มพลังชีวิตเอาชนะยาเสพติดอย่างยั่งยืน อำเภอกระแสสินธุ์ ศูนย์ขวัญแผ่นดินอำเภอกระแสสินธุ์ อำเภอรัตภูมิ ค่ายศูนย์ขวัญแผ่นดินอำเภอรัตภูมิ อำเภอสะเดา โครงการจัดทำค่ายศูนย์ขวัญแผ่นดินของ ศป.ปส.อ.สะเดา อำเภอหาดใหญ่ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม อำเภอนาหม่อม ค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอำเภอนาหม่อม อำเภอควนเนียง ค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม "ศูนย์ขวัญแผ่นดินอำภอควนเนียง อำเภอบางกล่ำ ค่ายเสริมพลังชีวิต สร้างพลังแผ่น "ศูนย์ขวัญแผ่นดิน อำเภอบางกล่ำ" 14 ค่าย อำเภอคลองหอยโข่ง ศูนย์ขวัญแผ่นดินอำเภอคลองหอยโข่ง สตูล อำเภอเมืองสตูล ศูนย์ขวัญแผ่นดินจังหวัดสตูล 2 ค่าย อำเภอควนโดน ตรัง อำเภอเมืองตรัง ค่ายศูนย์ขวัญแผ่นดินจังหวัดตรัง พัทลุง อำเภอเมืองพัทลุง ศูนย์ขวัญแผ่นดินจังหวัดพัทลุง ยะลา อำเภอเมืองยะลา ค่ายศูนย์ขวัญแผ่นดิน อำเภอเมืองยะลา ปี2559 อำเภอยะหา ค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม "ศูนย์ขวันแผ่นดิน อำเภอยะหา" 3 ค่าย อำเภอรามัน ศูนย์ขวัญแผ่นดินอำเภอรามัน "ลูกชายนายอำเภอ คนดีศรีรามันห์"
ค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมฯ ปี 2559 รวมทั้งเขตสุขภาพ 47 ค่าย ค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมฯ ปี 2559 ข้อมูลจาก ปปส ภาค 9 จังหวัด อำเภอ ค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ปัตตานี อำเภอเมืองปัตตานี ศูนย์ขวัญแผ่นดินอำเภอเมืองปัตตานี อำเภอโคกโพธิ์ ค่ายศูนย์ขวัญแผ่นดิน อำเภอหนองจิก ศูนย์ขวัญแผ่นดิน อำเภอปะนาเระ ค่าปรับเปลี่ยนพฤติกรรม "ศูนย์ขวัญแผ่นดิน" อำเภอมายอ โครงการแก้ไขปัญหายาเสพติดในระบบสมัครใจ "ศูนย์ขวัญแผ่นดิน" อำเภอทุ่งยางแดง ศูนย์ขวัญแผ่นดินอำเภอทุ่งยางแดง อำเภอสายบุรี ค่ายศูนย์ขวัญแผ่นดินอำเภอสายบุรี (3 อำเภอ) อำเภอไม้แก่น ศูนย์ขวัญแผ่นดินอำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2559 (ศป.ปส.อ.ไม้แก่น) อำเภอยะหริ่ง ค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม"ศูนย์ขวัญแผ่นดิน"อำเภอยะหริ่ง อำเภอยะรัง "ศูนย์ขวัญแผ่นดิน"อำเภอยะรัง ค่าย"ศูนย์ขวัญแผ่นดิน" อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี ประจำปีงบประมาณ 2559 อำเภอกะพ้อ ศูนย์ขวัญแผ่นดินอำเภอกะพ้อ อำเภอแม่ลาน ค่าย "ศูนย์ขวัญแผ่นดิน" อำเภอแม่ลาน 15 ค่าย นราธิวาส อำเภอเมืองนราธิวาส กองร้อย อสจ.นธ.ที่ 1 (ศูนย์ขวัญแผ่นดิน) รุ่นที่ 1 โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด (งบท้องถิ่น) พ.ศ 2559 อำเภอตากใบ กองร้อย ตชด.446 อำเภอระแงะ ค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอำเภอระแงะ(งบท้องถิ่น) อำเภอรือเสาะ ค่ายลูกผู้ชายหัวใจแกร่งอำเภอรือเสาะ อำเภอศรีสาคร สานฝัน ร่วมใจรักศรีสาคร อำเภอแว้ง ศูนย์ขวัญแผ่นดินอำเภอแว้ง อำเภอสุคิริน ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม "โรงเรียนสุคิรินเดอะวินเนอร์" อำเภอสุไหงโกลก โครงการค่ายนี้มีรัก อำเภอสุไหงปาดี ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรจังหวัดนราธิวาส 11 ค่าย อำเภอจะแนะ โครงการบำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพผู้เสพยาเสพติด (ศูนย์ขวัญแผ่นดิน) รุ่นที่ 1
ยาเสพติด เป้าหมาย : 1.ผู้ป่วยยาเสพติดหลังการบำบัดฟื้นฟูไม่กลับมาเสพซ้ำ 2.ลดอันตรายจากการใช้ยาเสพติด(Harm Reduction) KPI : ร้อยละ 92 ของผู้ป่วยยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจำหน่ายจากการบำบัดรักษาตามเกณฑ์กำหนด 1.ด้านการส่งเสริมป้องกันไม่เสพสารเสพติด 1.ดำเนินการโครงการ To Be Number One อย่างจริงจัง ต่อเนื่อง 2.รณรงค์สร้างความรู้ให้ประชาชนและเยาวชน เรื่องโทษของยาเสพติด 3.สร้างถูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพติดในสถานศึกษา สถานประกอบการและชุมชน ตามกลไกประชารัฐ 2.ด้านคัดกรอง บำบัดฟื้นฟู ติดตามผู้ป่วยยาเสพติด อย่างมีคุณภาพมาตรฐาน ให้ครอบคลุม และทั่วถึง 1.ร่วมมือกับภาคีเครือข่ายในการค้นหา เน้นกลไกประชารัฐ 2.รพ.สต./รพช./รพท./รพศ./รพ.ธัญญารักษ์/รพ.จิตเวชสงขลาฯ ดำเนินการคัดกรอง บำบัด ฟื้นฟู และติดตามผู้ป่วยยาเสพติด
ยาเสพติด 3.การลดอันตรายจากการใช้ยาเสพติด(Harm Reduction) รพ.สต./รพช./รพท./รพศ./รพ.ธัญญารักษ์/รพ.จิตเวชสงขลาฯ ดำเนินการมาตรการลดอันตรายจากการใช้ยาเสพติด 4.มีกลไกการดำเนินงาน การกำกับติดตามงานยาเสพติด 1.จัดตั้งหน่วยงานยาเสพติดระดับเขตสุขภาพ จังหวัด อำเภอ รพศ รพท รพช 2.ใช้กลไก ศอ.ปส .อ./ศอ.ปส จ. 3.ร่วมกับคณะอนุกรรมการฟื้นฟูฯระดับจังหวัดกำกับดูแลผู้ป่วยยาเสพติดในระบบบังคับบำบัด 1.ระบบข้อมูลยาเสพติด บสต. ใหม่ 2.พัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวข้องทั้งในและนอกกระทรวงสาธารณสุข 3.สนับสนุนงบดำเนินการ บุคลากร ครุภัณฑ์ สิ่งก่อสร้าง และวัสดุ ที่จำเป็น มาตรการสนับสนุน
การบริหารระบบ (6 BB) SP ยาเสพติด ปี2559 การจัดบริการสุขภาพ Health service delivery ระบบสารสนเทศ Information system&Sharing บริการเตียงผู้ป่วยยาเสพติดภาวะเร่งด่วน (Acute care) รพ.ระดับ A,S, M1 ร้อยละ ๗0 • ดำเนินการศูนย์เพื่อการคัดกรอง ผู้ติดยาเสพติด ร้อยละ 100 • คลินิกผู้ป่วยนอกยาเสพติดคุณภาพ ร้อยละ 70 บริการเตียงผู้ป่วยยาเสพติดภาวะเร่งด่วน (Acute care) รพ.ระดับ A,S, M1 ร้อยละ ๑๐0 • ดำเนินการศูนย์เพื่อการคัดกรอง ผู้ติดยาเสพติด ร้อยละ 100 • คลินิกผู้ป่วยนอกยาเสพติดคุณภาพ ร้อยละ ๑๐0 ค่ายมีมาตรฐาน ร้อยละ 80 หน่วยบำบัดทำ Harm Red.ร้อยละ ๕๐ • จังหวัดมีระบบรายงานข้อมูล บสต. ครบ ๗๕%(สารเสพติดผิด กม.)ระบบรายงานข้อมูลสุรา บุหรี่ ฐานข้อมูลด้านบำบัดรักษา และติดตาม เชื่อมโยงระหว่าง รพ.สป. เขตสุขภาพ กรมวิชาการ • จังหวัดมีระบบรายงานข้อมูล บสต. ครบ ๙๐%(สารเสพติดผิด กม.)ระบบรายงานข้อมูลสุรา บุหรี่ ฐานข้อมูลด้านบำบัดรักษา และติดตาม เชื่อมโยงระหว่าง รพ.สป. เขตสุขภาพ กรมวิชาการ เทคโนโลยี Output Outcome • ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจำหน่ายจากการบำบัดรักษา (ร้อยละ 92) การส่งต่อผู้ป่วยออกนอกเขตสุขภาพลดลง (ร้อยละ 50) ยาบำบัดสารเสพติดที่จำเป็น รพ. F3 ขึ้น ไป • อุปกรณ์ผูกมัดผู้ป่วยรพ.ทุกระดับ • ชุดตรวจปัสสาวะหาสารเสพติด รพ.ทุกระดับ การเงิน Financing กำลังคนด้านสุขภาพ Health workforce • งบประมาณการบำบัดรักษา ค่ายาและวัสดุทางการแพทย์ ค่าบริการทางการแพทย์ ระบบผู้ป่วยนอก ระบบฉุกเฉิน และระบบผู้ป่วยใน ค่าส่งต่อเพื่อรับการรักษา • งบประมาณพัฒนาหน่วยบริการ ค่าปรับปรุงสถานที่สำหรับการดูแล ผู้ป่วยยาเสพติดระยะสั้น • งบประมาณพัฒนาบุคลากร • แพทย์ผ่านอบรมเวชศาสตร์ยาเสพติด (5 วัน) รพ.A,S,M1,M2,F1-3 อย่างน้อย 1 คน • พยาบาลPG ผู้ใช้ยาและสารเสพติด รพ.A,S,M1 อย่างน้อย 1 คน • จนท.ผ่านการอบรมระยะสั้น การบำบัดรักษา (3-5วัน)รพ.ทุกระดับ อย่างน้อย 1 คน • นักจิตวิทยา รพ.ระดับ A,S,M1 อย่างน้อย 1 คน ผ่านการอบรมระยะสั้น ยสต. •นักสังคมสงเคราะห์ รพ.ระดับ A,S,M1 อย่างน้อย 1 คนผ่านการอบรมระยะสั้น ยสต. • นักกิจกรรมบำบัด รพ.ระดับ A,S อย่างน้อย 1 คน ผ่านการอบรมระยะสั้น ยสต. ธรรมาภิบาล Leadership&Governance • คณะกรรมการ Service Plan ระดับเขต , จังหวัด • คำสั่ง คสช. ที่ 108/2557 • คณะกรรมการ ศอ.ปส.สธ.,จังหวัด ที่ประสานงาน ระดับอำเภอได้ • คณะกรรมการสถานบำบัดรักษาตาม พรบ. พ.ศ.2551 • คณะกรรมการ Service Plan ระดับเขต , จังหวัด , หน่วยงาน • คำสั่ง คสช. ที่ 108/2557 • คณะกรรมการ ศอ.ปส.สธ.,จังหวัด ที่ประสานงาน ระดับอำเภอได้ • คณะกรรมการสถานบำบัดรักษาตาม พรบ. พ.ศ.2551
เป้าหมายการพัฒนา ปี 25๖๐ เป้าหมายการพัฒนา ปี 2559 OUTPUT ร้อยละ92 ของผู้ป่วยยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจำหน่ายจากการบำบัดรักษา OUTPUT ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจำหน่ายจากการบำบัดรักษา (ร้อยละ 92) PROCESS ๑.การบริการแบบผู้ป่วยในยาเสพติดระยะเร่งด่วน (Acute care) ๒.การดำเนินการศูนย์การคัดกรองผู้เข้ารับการบำบัดฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติด ๓.สถานพยาบาลยาเสพติดผ่านการรับรองคุณภาพงานบำบัดรักษายาเสพติด ๔.พัฒนาบุคลากร(ยาเสพติด สุรา บุหรี่) ที่จำเป็นในเขต ๕.ระบบฐานข้อมูลผู้ป่วยยาและสารเสพติด (บสต. บำบัดรักษาและติดตาม) ๖.ค่ายศูนย์ขวัญฯ/ค่ายวิวัฒน์ฯ/ระบบต้องโทษ จัดบริการตามมาตรฐานกระทรวงสาธารณสุข ๗.หน่วยบริการสาธารณสุขมีมาตรการลดอันตราย(Harm Reduction)
ยาเสพติด Quick win 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน ร้อยละ 100 ของสถานบริการระดับ รพ.สต.ขึ้นไปสามารถให้บริการคัดกรอง บำบัด ฟื้นฟู และติดตาม ผู้ป่วยยาเสพติดได้ตามที่กำหนด ร้อยละ 50 ของค่ายศูนย์ขวัญฯ ค่ายวิวัฒน์ฯ ระบบต้องโทษ จัดบริการตามมาตรฐานกระทรวงสาธารณสุข ร้อยละ 80 ของค่ายศูนย์ขวัญฯ ค่ายวิวัฒน์ฯ ระบบต้องโทษ จัดบริการตามมาตรฐานกระทรวงสาธารณสุข ร้อยละ 92 ของผู้ป่วยยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจำหน่ายจากการบำบัดรักษาตามเกณฑ์กำหนด ร้อยละ 30 ของหน่วยบริการสาธารณสุขมีมาตรการลดอันตราย(Harm Reduction) ร้อยละ 40 ของหน่วยบริการสาธารณสุขมีมาตรการลดอันตราย(Harm Reduction) ร้อยละ 50 ของหน่วยบริการสาธารณสุขมีมาตรการลดอันตราย(Harm Reduction)
Thank you