ทบทวนนโยบายด้าน Fuel Economy และ ความเกี่ยวข้องกับนโยบายในระดับประเทศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สื่อการเรียนรู้ โดย นางสุมิตรา ดีมี
Advertisements

กรอบการเจรจาจัดทำ ความตกลงยอมรับร่วมด้านการมาตรฐาน สาขาผลิตภัณฑ์ยานยนต์ โดย นายไชยวัฒน์ ตั้งเกริกโอฬาร สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม 28 กันยายน 2553.
ดร. สมบัติ สุวรรณพิทักษ์ กระทรวงศึกษาธิการ
นางสาวสรัญญา ชื่นเย็น (พี่ออย) เจ้าหน้าที่ศูนย์นวัตกรรมการจัดการ อ.ก้องภู นิมานันท์ อาจารย์ที่ปรึกษา 1.น.ส.นพรัตน์ ปฏิกรณ์ (คุ๊กกี้) นายบุรินทร์
การแข่งขันทาง การตลาด และตัวแปรทาง เศรษฐกิจ. การแข่งขันทางการตลาด (Competition) พฤติกรรมของผู้บริโภคไทยได้มีการ เปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ในช่วง.
เข้าสู่ วิชา การงานอาชีพ จัดทำโดย ด. ญ. สุชัญญา เขียวสมอ ม.1/14 เลขที่ 38 ด. ญ. พรรณวษา ยาวะระ ม.1/14 เลขที่ 32 นำเสนอ อาจารย์ ฐิตาพร ดวงเกตุ โรงเรียนวินิตศึกษา.
สถานการณ์ด้านสิ่งแวดล้อม จังหวัดพัทลุง 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง จังหวัดพัทลุงพื้นที่ ๒, ๑๔๐, ๓๐๖ ไร่ ประชากร ๕๑๐, ๔๗๐ คน แบ่งการปกครอง ๑๑ อำเภอ.
พันธกิจที่ 4 สร้างกลไกการพัฒนางานสุขภาพจิต นายแพทย์บุญชัย นวมงคลวัฒนา ประธานพันธกิจที่ 4.
KM (Knowledge Management
“ศึกษาการประยุกต์ใช้ พลังงานรังสีอาทิตย์ร่วมกับ พลังงานไฟฟ้าช่วยในการ กลั่นเอทานอล” พรประสิทธิ์ คงบุญ และคณะ, 2549, การกลั่นเอทานอลโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
ดร.ประสาร ไตรรัตน์วรกุล
Report การแข่งขัน.
เทคโนโลยีสารสนเทศ อาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับการพัฒนา
เชื้อเพลิงและการเผาไหม้
Energy Consumption and CO2 Emission of Rice Production in THAILAND
Financing Social Protections: Fiscal Space Analysis
Economy Update on Energy Efficiency Activities
สาธารณรัฐ ประชาธิปไตย ประชาชนลาว The Lao People’s Democratic Republic
ระบบพลังงานโลก วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยแม่โจ้
การวางแผนกำลังการผลิต
Automotive and Alternative Fuel Laboratory (AAFL)
เอกสารรายวิชา: : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย
การประชุมวิชาการประจำปี ศสท
กลยุทธ์สร้างความแข็งแกร่งทางการเงินหลังเกษียณ สำหรับข้าราชการไทย
ข้อเสนอแนะสำหรับ นโยบายด้าน Fuel Economy
โครงการโรงเรียนคาร์บอนต่ำ (ลดการใช้พลังงานไฟฟ้าที่โรงเรียน)
ความรู้เกี่ยวกับการ นำเข้าและส่งออก
สิ่งแวดล้อมกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต (environmental and quality of life)
ภาษีเกี่ยวกับการค้าทองคำ
องค์กรทางการเงินระหว่างประเทศ
การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างพื้นที่ ๔ ภาค โครงการความร่วมมือขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรมในระดับตำบล.
บทที่ 7 การคลังสาธารณะ.
การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ถ้าคิดว่าคุณแน่ อย่าแพ้เรานะ
การอบรมเชิงปฏิบัติการ
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มสุกร 2552 VS 2558
การคลังและงบประมาณ นายธเนศ บริสุทธิ์.
การเสริมสร้างศักยภาพเมืองชายแดน ภายใต้ประชาคมอาเซียนที่จังหวัดสระแก้ว กองความร่วมมือการค้าและการลงทุน กรมการค้าต่างประเทศ.
ผลการติดตามและทบทวนแผนการปรับปรุง การควบคุมภายใน
วันพฤหัสบดีที่ 23 มีนาคม 2560 ณ สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร
การปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาคนอย่างยั่งยืน พ.ศ
โครงการแลกเปลี่ยนความรู้ การเสวนาแนวทางเพื่อสร้างมาตรฐานในการทำงานของเจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการ ; (การเขียนคู่มือปฏิบัติงาน (Work Manual) วันที่ 22 มีนาคม.
โดย ดร.ปราณี คงพิกุล ผอ.กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการศึกษา
คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล สำนักงานสภามหาวิทยาลัย
ไฟแสดงสถานะและไฟเตือนต่างๆ
122351/ Soil Fertility and Plant Nutrition
การค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ ภายใต้ความมั่นคงและมั่งคั่ง
สิ่งแวดล้อมกับคุณภาพชีวิต
ผศ.ดร.พรชัย วิสุทธิศักดิ์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การจัดการโซ่อุปทานและโลจิสติกส์
เทคโนโลยีสารสนเทศ อาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์
โครงการปรับปรุง และสร้างฐานข้อมูลหลักมาตรฐานสากล
เมืองไทยกับกองทุน การเงินระหว่างประเทศ (IMF)
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิทยาศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน บทที่ 7 แนวโน้มและ สถานการณ์ด้านอุตสาหกรรมท่องเที่ยวในประเทศไทยอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและบริการ Tourism Industry and Hospitality Management.
วิชา การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce)
การกระจายอายุของบุคลากร เวชศาสตร์เขตร้อน
พืชเกษตรอย่างครบวงจรในระดับพื้นที่
ปรัชญา ของ เศรษฐกิจพอเพียง Sufficiency Economy
คัดสรรกิจกรรมพัฒนาชุมชนดีเด่น ประจำปี 2562
ชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย
ทบทวนกฎหมายรัฐธรรมนูญ บทบัญญัติที่สำคัญซี่งมีมิติในเชิงคดี
ลักษณะทั่วไปของการขนส่ง Transport General Features
โปรแกรม Thai cancer based Version 6.0
โดย สำนักงาน ป.ป.ช. ประจำจังหวัดจันทบุรี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทบทวนนโยบายด้าน Fuel Economy และ ความเกี่ยวข้องกับนโยบายในระดับประเทศ การประชุมเชิงปฏิบัติการ การผลักดันการดำเนินงานนโยบายการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพด้านยานยนต์ในประเทศไทย ครั้งที่ ๒ วันจันทร์ที่ ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๘.๓๐ – ๑๒.๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๒๐๑ ชั้น ๒ อาคารสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร

นิยาม: fuel economy (km/l) vs fuel consumption (l/100km) vs fuel efficiency (MJ/p-km) Fuel efficiency: MJ/p-km or MJ/t-km Source: IEA Technology Roadmap: Fuel Economy of Road Vehicles

ความสัมพันธุ์ ระหว่าง อัตราการสิ้นเปลืองเชื้อเพลิง การปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และ มลพิษ สารที่เป็นมลพิษ ได้แก่ CO, NH3, NOx, VOC, PM10, SOx ซึ่งตัวที่ถูก ควบคุมในมาตรฐานยูโรคือ HC, NOx, CO และ PM อัตราการสิ้นเปลืองเชื้อเพลิง (L/100km) และ การปลดปล่อยก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ (gCO2/km) มีความสัมพันธุ์กันโดยตรง โดยมีค่า carbon intensity (gCO2/L) ของเชื้อเพลิงนั้นๆ เป็น conversion factor ส่วนมลพิษ (pollutant emissions) นั้นจะต่างจาก CO2 emission เพราะ รถคันใหญ่ อาจจะมีมลพิษต่ำ (โดยการใช้ catalytic converters) แต่ ยังคงมีการสิ้นเปลืองเชื้อเพลิงสูง และ CO2 emission ที่สูง

การเดินทางของผู้โดยสาร และจำนวนยานพาหนะในอาเซียน คาดการณ์ไปถึงปี 2050 Source: IEA Energy Technology Perspectives 2012 การเดินทางของผู้โดยสาร (กม.-คน) ในอาเซียน คาดการณ์ว่าจะเพิ่มขึ้น 4 เท่า ในปี 2050 (IEA ETP 2012 4DS) ยอดจำหน่ายรถยนต์ส่วนบุคคล ในอาเซียน คาดการณ์ว่าจะเพิ่มขึ้น 5 เท่า ระหว่างปี 2010 และ 2050

อัตราการสิ้นเปลืองเชื้อเพลิงของ PLDV* ในอาเซียน ประเทศที่มีนโยบาย FE แสดงให้เห็นถึงอัตราการพัฒนาประสิทธิภาพการใช้เชื้อเพลิง การเปลี่ยนขนาดรถ และการพัฒนาเทคโนโลยี ยังไม่ค่อยส่งผลอย่างชัดเจนในอาเซียน อัตราการสิ้นเปลืองเชื้อเพลิง (L/100km) ของรถ LDV ใหม่ มีความแตกต่างกันมากในอาเซียน *PLDV = passenger light duty vehicle 5 Source: GFEI working paper 11 - International Comparison of Light-Duty Vehicle Fuel Economy 2012-2013 Update

นโยบาย Fuel economy & เครื่องมือ กลุ่มเป้าหมาย: ผู้บริโภค ผู้ผลิต มาตรการด้านการเงิน Monetary Fiscal มาตรการบังคับโดยเกณฑ์มาตรฐาน Regulatory (FE/CO2 standards) มาตรการด้านการให้ข้อมูล Consumer information Labelling FE

ความเกี่ยวข้องกับนโยบาย FE ในระดับประเทศ

นโยบาย FE ในระดับโลก GFEI (Global fuel economy initiative), 2016, ลด FC ของรถใหม่ใน OECD 30% ภายในปี 2020 ลด FC ของรถใหม่ทั่วโลก 50% ภายในปี 2020 ลด FC ของรถใหม่ทั่วโลก 50% ภายในปี 2050 GFEI (Global fuel economy initiative), 2016, http://www.globalfueleconomy.org/media/203446/gfei-state-of-the-world-report-2016.pdf

แนวโน้มมาตรฐาน FE และการปลดปล่อย CO2 เกณฑ์ FC และการ ปลดปล่อย CO2 ของรถใหม่ โดยอ้างอิงจากค่าเฉลี่ย: weighted average (EU) หรือ harmonic mean (US) ให้แต้มต่อสำหรับ ยานยนต์ เชื้อเพลิงทางเลือก เช่น ตัว คูณสำหรับยานยนต์ไฟฟ้า มีการตั้งเป้าหมายระยะยาว มาตรฐาน FE เป็นมาตรการที่ มีประสิทธิภาพสำหรับ ประเทศที่มีบริษัทผู้ผลิต รถยนต์ หรือตลาดยานยนต์ที่ ใหญ่ Source: ICCT 2016

นโยบาย FE ใน ASEAN กระทรวงคมนาคม กระทรวงพลังงาน http://www.aseanenergy.org/wp-content/uploads/2015/12/HighRes-APAEC-online-version-final.pdf

นโยบาย FE สอดคล้องกับแผนสภาพัฒน์ ฉบับที่ 11 ยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจสู่การเติบโตอย่างมีคุณภาพและ ยั่งยืน ๕.๔.๓ การพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันที่มีประสิทธิภาพ เท่า เทียม และเป็นธรรม เพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานในทุกระดับ ปฏิรูปกฎหมาย และกฎ ระเบียบต่างๆ ทาง เศรษฐกิจให้เอื้อต่อการเพิ่มประสิทธิภาพการแข่งขันและสอดคล้องกับกระแสการ เปลี่ยนแปลงในสังคมโลก ๕.๖.๒ การปรับกระบวนทัศน์การพัฒนาและขับเคลื่อนประเทศเพื่อ เตรียมพร้อมไปสู่การเป็นเศรษฐกิจและสังคมคาร์บอนต่ำและเป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม โดยปรับพฤติกรรมการบริโภคเพื่อเตรียมพร้อมไปสู่เศรษฐกิจคาร์บอนต่าและเป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม เพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานในภาคคมนาคมและขนส่ง เพื่อลดปริมาณ ก๊าซเรือนกระจก พัฒนาเมืองที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ๕.๒.๒ เพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานในภาคคมนาคมและขนส่ง เพื่อ ลดปริมาณก๊าซเรือนกระจก โดย ส่งเสริมให้ประชาชนเปลี่ยนแปลงรูปแบบการเดินทางและขนส่งสินค้าด้วยระบบคมนาคม และขนส่งที่ใช้พลังงานต่อหน่วยต่ำ ซึ่งจะนาไปสู่การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานใน ภาพรวมของประเทศ ส่งเสริมการพัฒนาเทคโนโลยียานยนต์ที่สะอาดและช่วยประหยัดพลังงาน ควบคู่กับการ ควบคุมประสิทธิภาพการใช้พลังงานภายใต้ศักยภาพของเทคโนโลยี โดยการกำหนด มาตรฐานอัตราการบริโภคเชื้อเพลิง เพื่อให้เกิดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างคุ้มค่า และลดการใช้น้ามันเชื้อเพลิง ซึ่งจะเป็นกลไกสาคัญในการลดปริมาณก๊าซเรือนกระจกใน ระยะยาว http://www.nesdb.go.th/download/article/article_20160323112431.pdf

นโยบาย FE ต่อเนื่องในร่างแผนสภาพัฒน์ ฉบับที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ ๔: การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนา อย่างยั่งยืน ๓.๓ แก้ไขปัญหาวิกฤตสิ่งแวดล้อม โดยการปรับปรุงกฎหมายและ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเมืองเพื่อรองรับการเติบโตที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม สนับสนุนมาตรการกำหนดฉลากแสดงประสิทธิภาพการใช้ พลังงานกับอุปกรณ์ต่างๆ ๔.๖ แผนงานด้านการลดก๊าซเรือนกระจกที่เหมาะสมของประเทศ (NAMA Roadmap) และแผนงานด้านการปรับตัวเพื่อรองรับการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ให้ความสำคัญกับการลดก๊าซเรือนกระจกในภาคพลังงานและ คมนาคมขนส่ง ผ่านมาตรการต่างๆ อาทิ มาตรการด้าน คมนาคมขนส่งที่ยั่งยืน ยุทธศาสตร์ที่ ๗:การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ ๓.๔ การพัฒนาด้านพลังงาน ส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานและเพิ่ม ประสิทธิภาพการใช้พลังงาน โดย บังคับใช้กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ พลังงาน และเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานอย่างจริงจังและ ต่อเนื่อง http://www.nesdb.go.th/Portals/0/news/plan/P12/Book_Plan12.pdf http://dmcrth.dmcr.go.th/downloadNw.php?WP=pUqgoap4GQqgG2rDqYyc4UuepPMgZUplGQWgG2rDqYyc4Uux

ผลการศึกษาด้าน FE ที่เกี่ยวข้องในประเทศ DEDE (2007) DEDE (2012)

มาตรฐานด้าน FE ที่เกี่ยวข้องในประเทศ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2557/E/020/8.PDF

http://transportandclimatechange.org/wp-content/uploads/2015/01/Thailands-Automotive-Excise-Tax-Reform.pdf

http://transportandclimatechange.org/wp-content/uploads/2015/01/Thailands-Automotive-Excise-Tax-Reform.pdf

After (2016) Before (2011) Max = 293 g/km Max = 411 g/km Min = 16 g/km Mean = 219 After (2016) Max = 293 g/km Min = 16 g/km Mean = 163 (decrease 25%) https://www2.mtec.or.th/eventnstda/Template/index.aspx?EventID=S16026&ContentID=2879