งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การคลังและงบประมาณ นายธเนศ บริสุทธิ์.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การคลังและงบประมาณ นายธเนศ บริสุทธิ์."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การคลังและงบประมาณ นายธเนศ บริสุทธิ์

2 การคลังภาครัฐ การกำหนดนโยบาย และ การดำเนินงานด้านการเงินของรัฐ
เกี่ยวข้องกับ รายได้ รายจ่าย หนี้สาธารณะ นโยบายการคลัง

3 การเมือง การคลัง การบริหาร สังคม ภาครัฐ เศรษฐกิจ

4 บทบาทของรัฐในทางเศรษฐกิจ 3 ประการ
การจัดสรรการใช้ทรัพยากรของสังคม โดยใช้นโยบายงบประมาณเป็นเครื่องมือ การกระจายรายได้ของสังคม โดยใช้นโยบายการคลัง ด้านมาตรการภาษีเป็นเครื่องมือ การรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของสังคม โดยใช้นโยบายการคลังเป็นเครื่องมือ

5 เป้าหมายสูงสุดในการบริหารราชการ ประโยชน์สุขของประชาชน

6 ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจ
สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจของประเทศ ที่เป็นอยู่ในขณะนั้น ความเหมาะสมทางการเมือง

7 ความมีเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
เป้าหมายทางเศรษฐกิจ ความเจริญเติบโต / ความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ ความมีเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ความเท่าเทียมกันทางเศรษฐกิจ เสรีภาพทางเศรษฐกิจ ปัญหาทางเศรษฐกิจ

8 นโยบายการคลัง นโยบายการเงิน

9 นโยบายการคลัง (Fiscal Policy)
หมายถึง : นโยบายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับรายรับและรายจ่ายของรัฐบาล ซึ่งวิธีการสำคัญ ได้แก่ 1. การกำหนดรายจ่าย ต้องจัดทำเป็นงปม. อันเป็นไปตาม นโยบายงบประมาณ 2. การหารายได้ โดยการจัดเก็บภาษี อันเป็นไปตาม นโยบายหรือมาตร การภาษี 3. การก่อหนี้ โดยเป็นไปตาม นโยบาย หรือ มาตรการ ก่อหนี้สาธารณะ

10 งบประมาณแบบขาดดุล + กู้เงิน
เศรษฐกิจชะลอตัว ภาวะเงินฝืด งบประมาณแบบขาดดุล + กู้เงิน นโยบายการคลัง ลดภาษี แบบขยายตัว เร่งการใช้จ่าย เช่น ส่งเสริมการลงทุน เขตเศรษฐกิจพิเศษ (เกิดการจ้างงาน) (นโยบายการคลังกับภาวะเศรษฐกิจ)

11 งบประมาณแบบเกินดุล / สมดุล
เศรษฐกิจขยายตัว ภาวะเงินเฟ้อ งบประมาณแบบเกินดุล / สมดุล นโยบายการคลัง เพิ่มภาษี แบบหดตัว ชลอการใช้จ่าย เช่น ชะลอโครงการใหญ่ ส่งเสริมภาคเอกชน (นโยบายการคลังกับภาวะเศรษฐกิจ)

12 นโยบายการเงิน (Monetary Policy)
หมายถึง : นโยบายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดจำนวนเงิน หรือ ปริมาณเงินของประเทศ ซึ่งวิธีการสำคัญ ได้แก่ 1 . การเพิ่ม หรือลด ปริมาณ เงินสด สำรอง 2. การเพิ่ม และ การลดอัตรา ดอกเบี้ย 3. การรับช่วง ซื้อลด 4. การซื้อ หรือ ขายพันธบัตร รัฐบาล

13 ธนาคารแห่งประเทศไทย นโยบายการเงิน นโยบายการคลัง กระทรวงการคลัง

14 นโยบายงบประมาณ 3 แนวทาง
แบบเกินดุล รายจ่ายต่ำกว่ารายรับ ช่วงเงินเฟ้อ แบบขาดดุล รายจ่ายสูงกว่ารายรับ ช่วงเงินฝืด แบบสมดุล รายจ่ายเท่ากับรายรับ

15 การบริหารการคลังภาครัฐในปัจจุบัน
จากการปฏิรูปการคลัง : ระบบการรับ - จ่ายเงิน และการบริหารเงินสดภาครัฐ ระบบบัญชีภาครัฐ ระบบประมวลผลสารสนเทศการคลัง (GFMIS) ระบบเงินนอกงบประมาณ ระบบพัสดุภาครัฐ ระบบสวัสดิการรักษาพยาบาล ระบบตรวจสอบภายในภาครัฐ

16 งบประมาณ งบประมาณ เครื่องมือทางการบริหารของรัฐบาล
เครื่องมือในการควบคุมเศรษฐกิจของประเทศ เครื่องมือในการบริหารประเทศ งบประมาณ

17 งบประมาณ งบประมาณ เครื่องมือทางการเมือง ความรับผิดชอบ
ความสัมพันธ์ของอำนาจทางการเมือง (การประนีประนอมต่อรอง) พันธะสัญญาระหว่างผู้ให้และผู้รับงบประมาณ งบประมาณ

18 งบประมาณ งบประมาณ การเป็นเอกสารแสดงความต้องการของรัฐบาล
รัฐบาลคาดหวังว่าจะใช้จ่ายอะไร , อย่างไร รัฐบาลคาดหวังว่าจะได้รายได้จากที่ใด งบประมาณ

19 งบประมาณ งบประมาณ เครื่องมือของรัฐบาล
ที่เป็นเอกสารแสดงถึงความต้องการของรัฐบาล แสดงออกมาในลักษณะแผนทางการเงิน + โครงการที่จะดำเนินการ รัฐบาลได้สัญญาต่อรัฐสภา และ ประชาชนที่จะใช้เงินภายใต้เงื่อนไข ที่ตกลงกัน งบประมาณ

20 ระบบงบประมาณ งบประมาณแบบแสดงรายการ แบบเน้นการควบคุม แบบเน้นการจัดการ งบประมาณแบบแสดงแผนงาน แบบเน้นการวางแผน งบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน แบบเน้นการแก้ปัญหาข้อจำกัดทางทรัพยากร งบประมาณฐานศูนย์

21 งบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน
งบประมาณแบบแผนงาน PROGRAM BUDGET PERFORMANCED BASED BUDGETING งบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน (PBB) งบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน ตามยุทธศาสตร์ STRATEGIC PERFORMANCED BASED BUDGETING (SPBB)

22 ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน
(เน้น 3 ประการหลัก) 1. มุ่งเน้นยุทธศาสตร์เป้าหมายการให้บริการ (ผลผลิต/ผลลัพธ์) 2. มอบอำนาจการบริหารจัดการ 3. เน้นความรับผิดชอบ ในการใช้งบประมาณ 3 ระดับ - รัฐบาล รับผิดชอบในระดับ เป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติ ิ - กระทรวง รับผิดชอบต่อ เป้าหมายการให้บริการสาธารณะ - กรม รับผิดชอบต่อ ผลผลิต

23 งบประมาณยุคปฏิรูประบบบริหารราชการ
แนวคิด  ประชาชนจะได้อะไรจากงบประมาณ  ประชาชนเป็นศูนย์กลาง  ใช้นโยบายเป็นตัวนำ แนวทาง การจัดทำ  เน้นการบริการประชาชน  มีตัวชี้วัดความสำเร็จของงาน

24 บทบาทใหม่ในการจัดทำงบประมาณ กำหนดเป้าหมายผลผลิต และจัดทำคำของปม.
รัฐสภา ใช้เป้าหมาย ครม. กำหนดทิศทาง รับผิดชอบการใช้จ่าย รัฐมนตรี หน่วยงาน กำหนดเป้าหมายผลผลิต และจัดทำคำของปม.

25 FEED BACK INPUT PROCESS (RBM) OUT PUT OUT COME
แผนการปฏิบัติงาน + แผนการใช้จ่ายเงิน INPUT PROCESS (RBM) OUT PUT OUT COME ประสิทธิภาพ ความคุ้มค่าในเชิงเศรษฐศาสตร์ ความโปร่งใส สอดคล้องกับนโยบาย FEED BACK วิสัยทัศน์ / พันธกิจ / ภารกิจ นโยบาย เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ของรัฐบาล + เป้าหมายการให้บริการของกระทรวง วิเคราะห์ทางเลือกที่ดีที่สุด

26 กรมการปกครองมุ่งบำบัดทุกข์ บำรุงสุขให้ประชาชน
วิสัยทัศน์ กรมการปกครองมุ่งบำบัดทุกข์ บำรุงสุขให้ประชาชน โดยการบูรณาการการทำงานในระดับพื้นที่ เพื่อให้สังคมร่มเย็นเป็นสุขสมานฉันท์ สงบเรียบร้อย และมั่นคง ภายใต้การปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

27 1. การอำนวยความเป็นธรรมในระดับพื้นที่
8 พันธกิจ 1. การอำนวยความเป็นธรรมในระดับพื้นที่ 2. การรักษาความสงบเรียบร้อยและความปลอดภัย 3. ความมั่นคง ความสมานฉันท์และสันติสุขในชายแดนใต้ 4. ประชาชนมีส่วนร่วมในการปกครอง 5. คุณภาพการบริการประชาชน 6. พัฒนาระบบการปกครองท้องที่ 7. การทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 8. การขับเคลื่อนนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติในพื้นที่

28 เป้าหมายยุทธศาสตร์ระดับชาติ
ผลสัมฤทธิ์ ที่รัฐบาลต้องการจะให้เกิด ต่อ ประชาชน และ ประเทศ

29 เป้าหมายยุทธศาสตร์ระดับชาติ
(แผนพัฒนาเศรษฐกิจ ฯ ฉบับที่ 10) 1. การพัฒนาคุณภาพคน ตัวชี้วัด 2. การพัฒนาชุมชนและแก้ปัญหาความยากจน ตัวชี้วัด 3. การปรับปรุงโครงสร้างทางเศรษฐกิจ ตัวชี้วัด 4. การสร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ตัวชี้วัด 5. การส่งเสริมธรรมาภิบาล ตัวชี้วัด

30 เป้าหมายการให้บริการของกระทรวง
ผลลัพธ์ ที่กระทรวงต้องการให้เกิดขึ้น จากการให้บริการ ซึ่งต้องสอดคล้อง และ เชื่อมโยงกับ เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ของรัฐบาล * ผลลัพธ์ จะเกิดได้จากผลสัมฤทธิ์ของผลผลิตของส่วนราชการ

31 เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน
1. มีระบบการบริหารจัดการการขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหา ความยากจน และโครงการพัฒนาหมู่บ้าน / ชุมชน ตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2. ประชาชนได้รับการบำบัดทุกข์บำรุงสุข มีความปลอดภัย ในชีวิตและทรัพย์สิน โดยการเสริมสร้างความเข้มแข็ง ของประชาชนและชุมชน

32 เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน
3. สร้างความพึงพอใจ และ ความมั่นใจให้แก่ประชาชนผู้รับบริการ 4. ประเทศมีความมั่นคงปลอดภัย มีระบบข่าวกรอง และการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ 5. การควบคุมสถานการณ์ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้

33 การแก้ไขปัญหาความยากจนระดับอำเภอ
6 ผลผลิต การแก้ไขปัญหาความยากจนระดับอำเภอ ประชาชนได้รับการบำบัดทุกข์ บำรุงสุข การพัฒนาการให้บริการทะเบียน บัตรฯ และข้อมูลสารสนเทศ อำเภอเป็นศูนย์กลางการบริการประชาชน เสริมสร้างความเข้มแข็งให้ประชาชนและชุมชนได้รับความปลอดภัย เสริมสร้างความมั่นคงและการพัฒนาจังหวัดชายแดนใต้

34 แผนการบริหารราชการแผ่นดิน
แผนปฏิบัติราชการ แผน 4 ปี แผนประจำปี จัดทำแล้วเสร็จภายใน 60 วัน จัดทำและเสนอ รมว. ก่อนขอ งปม. สาระสำคัญ นโยบายการปฏิบัติราชการ เป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ของงาน ประมาณการรายได้รายจ่าย สงป.จัดสรร งปม. เพื่อการปฏิบัติราชการ ส่วนราชการจัดทำรายงานแสดงผลสัมฤทธิ์

35 กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502
พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2548

36 4 งวด งวดละ 3 เดือน / 4 ไตรมาส
การจัดสรรงบประมาณ การจัดสรรงบประมาณรายจ่าย ให้ส่วนราชการ / รัฐวิสาหกิจ ตาม พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจำปี / เพิ่มเติม เพื่อการใช้จ่าย หรือ ก่อหนี้ผูกพัน สงป. กำหนดวิธีการจัดสรร 4 งวด งวดละ 3 เดือน / 4 ไตรมาส

37 เป็นไปตามยุทธศาสตร์ระดับชาติ
แผนงบประมาณ แผนที่กำหนดไว้ใน พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจำปีหรือที่กำหนดขึ้นใหม่ในระหว่างปี เป็นไปตามยุทธศาสตร์ระดับชาติ

38 แผนงบประมาณ 1. แผนขจัดความยากจนและพัฒนาชนบท 2. แผนบริหารจัดการภาครัฐ 3. แผนรักษาความมั่นคง 4. แผนเสริมสร้างความมั่นคงในจังหวัดชายแดน

39 กลุ่มวัตถุประสงค์ของรายจ่าย
งบรายจ่าย กลุ่มวัตถุประสงค์ของรายจ่าย ที่กำหนดให้จ่าย ตามหลักการจำแนกประเภทรายจ่ายงบประมาณ

40 งบรายจ่าย 1. งบบุคลากร 2. งบดำเนินงาน 3. งบลงทุน 4. งบเงินอุดหนุน 5. งบรายจ่ายอื่น 6. งบกลาง

41 สิ่งที่ได้จากการให้บริการที่ดำเนินงานโดยส่วนราชการ
ผลผลิต สิ่งที่ได้จากการให้บริการที่ดำเนินงานโดยส่วนราชการ ทั้งรูปแบบการให้บริการโดยตรง หรือ โดยการใช้วัตถุสิ่งของ และหรือสิ่งก่อสร้าง เพื่อนำไปใช้ในการบริการประชาชน * ตัวชี้วัดความสำเร็จ 4 มิติ

42 การแก้ไขปัญหาความยากจนระดับอำเภอ
6 ผลผลิต การแก้ไขปัญหาความยากจนระดับอำเภอ ประชาชนได้รับการบำบัดทุกข์ บำรุงสุข การพัฒนาการให้บริการทะเบียน บัตรฯ และข้อมูลสารสนเทศ อำเภอเป็นศูนย์กลางการบริการประชาชน เสริมสร้างความเข้มแข็งให้ประชาชนและชุมชนได้รับความปลอดภัย เสริมสร้างความมั่นคงและการพัฒนาจังหวัดชายแดนใต้

43 แผนการดำเนินงานของส่วนราชการ
แผนการปฏิบัติงาน แผนการดำเนินงานของส่วนราชการ ในรอบปีงบประมาณ ที่แสดงรายละเอียดถึง ผลผลิต , กิจกรรม ตลอดจน เป้าหมายการให้บริการ และตัวชี้วัดในมิติต่าง ๆ

44 แผนที่แสดงรายละเอียดการใช้จ่ายงบประมาณ
แผนการใช้จ่ายเงิน แผนที่แสดงรายละเอียดการใช้จ่ายงบประมาณ ของส่วนราชการ เพื่อ เป้าหมายดำเนินงานตามแผนปฏิบัติงานในรอบปี * แผนปฏิบัติการที่เป็นตัวเลข

45 สำนักเบิกส่วนภูมิภาค
สำนักเบิก (เงิน) กรมบัญชีกลาง สำนักเบิกส่วนกลาง สำนักงานคลังจังหวัด สำนักเบิกส่วนภูมิภาค

46 การโอนจัดสรรงบประมาณรายจ่าย
การโอนงบประมาณรายจ่ายจากสำนักเบิกส่วนกลาง ไปยัง สำนักเบิกส่วนภูมิภาค หรือสำนักเบิกส่วนภูมิภาค ไปสำนักเบิกส่วนภูมิภาคอื่น โดยสอดคล้องกับแผนการปฏิบัติงาน และ แผนการใช้จ่ายเงิน

47 หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติ หลังจาก งปม. ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
การจัดทำแผนการปฏิบัติงาน และ แผนการใช้จ่ายเงิน การจัดสรรงบประมาณ โดย สงป. ให้ส่วนราชการ การจัดสรรงบประมาณ โดย สงป. ให้กรมบัญชีกลาง การใช้จ่ายเงินโดยส่วนราชการ การโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณรายจ่าย การรายงานผลการปฏิบัติงาน ให้ สงป. และ สงป. รายงาน นรม.

48 งบประมาณปี 2551 ของ กรมการปกครอง (23,578,036,400)
1,195,062,200 59,422,000 (5.07%) (0.25 %) 2,549,926,100 (10.82%) 19,773,626,100 ( %) แผนขจัดความยากจนและพัฒนาชนบท แผนบริหารจัดการภาครัฐ แผนเสริมสร้างความมั่นคงในจังหวัดชายแดนภาคใต้ แผนรักษาความมั่นคง

49 งบประมาณปี 2551 ของกรมการปกครอง
(23,578,036,400) 4,757,992,000 (20.18%) 3,582,717,300 13,600,317,600 (15.20%) (57.68%) 1,115,514,500 (4.73%) 521,495,000 (2.21%)

50 GFMIS ระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์
GOVERNMENT FISCAL MANAGEMENT ING INFORMATION SYSTEM GFMIS

51 วัตถุประสงค์ @ ปรับปรุงระบบการจัดการให้มีความทันสมัย และมีประสิทธิภาพโดยการนำเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัยมาประยุกต์ใช้ @ ปรับปรุงกระบวนการดำเนินงานให้เป็นไปในทิศทางเดียวกับ นโยบายที่เน้นประสิทธิภาพ ความคล่องตัว ความคุ้มค่า @ สร้างเครื่องมือในการได้มาซึ่งข้อมูลการเบิกจ่าย สภานะการคลัง

52 GFMIS ระบบงานหลักของ e - Government
ระบบการบริหารงานการเงิน การคลัง ภาครัฐ เป็นระบบงานหลักส่วนหลัง ของประเทศ (Back Office Operation) * ระบบบริหารเงินงบประมาณ * ระบบบัญชีเกณฑ์คงค้าง ต้นทุน * ระบบจัดซื้อจัดจ้างอิเล็กทรอนิกส์ * ระบบรับจ่ายแบบอิเล็กทรอนิกส์ * ระบบข้อมูลบริหารแบบ Matrix และ Online Realtime GFMIS การให้บริการประชาชนส่วนหน้าแบบอิเล็กทรอนิกส์และเบ็ดเสร็จ (FrontOperation) ความพึงพอใจ ของ ประชาชน INTERFACE บริการ กระทรวง กรม จังหวัด พื้นที่ One Stop Service Call Center Multi Channel E-CitiZen E- Service E - GOVERNMENT

53 กระบวนงานในระบบ GFMIS ระบบจัดซื้อจัดจ้างอิเล็กทรอนิคส์
ระบบงบประมาณ ระบบการเงินและบัญชี ระบบจัดซื้อจัดจ้างอิเล็กทรอนิคส์ ระบบบัญชีต้นทุน ระบบทรัพยากรบุคคล

54 ประโยชน์ที่ส่วนราชการจะได้รับจาก GFMIS
1. มีระบบการบริหารงานคลังที่เป็นระบบเดียวกัน 2. ลดขั้นตอน ลดภาระ ในการจัดทำเอกสารและการรายงาน 3. สามารถเร่งรัดระยะเวลาการปิดบัญชี เมื่อวันสิ้นงวดบัญชี 4. มีระบบฐานข้อมูลบริหารกลางทางการคลังแบบ Online เป็นข้อมูลเพื่อการตัดสินใจของผู้บริหาร CFO CEO ทุกระดับที่ต้องติดตามการใช้จ่ายงบประมาณให้เป็นไปตามยุทธศาสตร์และเป้าหมายที่มีต่อประชาชน

55 FM HR PO GFMIS CO FI

56 การกำกับดูแล อบต. (ม. 90 – 92) นอ.มีอำนาจในการกำกับดูแลการปฏิบัติหน้าที่ของ อบต. ให้เป็นไปตามระเบียบของทางราชการ ม. 90 นอ.จะรายงานเสนอความเห็นต่อ ปวจ. เพื่อยุบสภาได้ เพื่อคุ้มครองประโยชน์ของประชาชนในเขต / ประเทศ ม. 91 นอ.เสนอ ผวจ. สั่งให้ นายก อบต. / รองนายก อบต. / ประธานสภา อบต. / รองประธานสภา อบต. พ้นจากตำแหน่ง กรณีกระทำการฝ่าฝืนต่อความสงบเรียบร้อย หรือ สวัสดิภาพของประชาชน หรือ ละเลยไม่ปฏิบัติหน้าที่ หรือปฏิบัติการไม่ชอบด้วยอำนาจหน้าที่ ม.92

57 คณะผู้บริหาร ทถ. เสนอข้อบัญญัติต่อสภา ภายใน 15 ส.ค. กรณีเสนอร่างไม่ทัน
การกำกับดูแล อบต. (ด้านงบประมาณ) การจัดทำงปม. การเสนอร่างต่อสภา คณะผู้บริหาร ทถ. เสนอข้อบัญญัติต่อสภา ภายใน 15 ส.ค. กรณีเสนอร่างไม่ทัน คณะผู้บริหารทถ. เสนอขอต่อสภา ทถ. ก่อน แล้ว รายงานให้ นอ.ทราบ การอนุมัติ งปม. นอ.อนุมัติข้อบัญญัติ ภายใน 15 วัน นับแต่วันที่ได้รับร่าง กรณีไม่อนุมัติ ต้องแจ้งเหตุผลและส่งคืนร่างให้สภา อบต. ทบทวนใหม่ หากไม่แจ้งเหตุและส่งคืน ให้ถือว่า นอ.อนุมัติ

58 ส่งสำเนารายงานแสดงรายรับ – รายจ่าย และงบทดลอง เป็นรายเดือน ให้นายอำเภอ
การกำกับดูแล อบต. (ด้านการเงิน) การรายงาน เมื่อสิ้นเดือน. ส่งสำเนารายงานแสดงรายรับ – รายจ่าย และงบทดลอง เป็นรายเดือน ให้นายอำเภอ เมื่อสิ้นปี งปม. ส่งสำเนางบแสดงฐานะการเงินและงบอื่น ๆ ให้ นายอำเภอ

59 ยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ 2551
1. การส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพที่ดี มีคุณธรรมนำความรู้ และสามารถปรับตัวสู่สังคมฐานความรู้ได้ 2. การแก้ไขปัญหาความยากจน กระจายความเจริญสู่ชนบท และลดช่องว่างของรายได้ 3. การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน เพื่อให้เศรษฐกิจขยายตัว ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

60 ยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ 2551 (ต่อ)
4. การดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และการใช้ประโยชน์ จากความหลากหลายทางชีวภาพให้เป็นประโยชน์ต่อเศรษฐกิจและสังคม 5. การพัฒนาการเมือง และการบริหารจัดการภาครัฐที่มีประสิทธิภาพ 6. การรักษาความมั่นคงของชาติ และความสงบสุขของสังคม 7. การบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ


ดาวน์โหลด ppt การคลังและงบประมาณ นายธเนศ บริสุทธิ์.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google