งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

พันธกิจที่ 4 สร้างกลไกการพัฒนางานสุขภาพจิต นายแพทย์บุญชัย นวมงคลวัฒนา ประธานพันธกิจที่ 4.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "พันธกิจที่ 4 สร้างกลไกการพัฒนางานสุขภาพจิต นายแพทย์บุญชัย นวมงคลวัฒนา ประธานพันธกิจที่ 4."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 พันธกิจที่ 4 สร้างกลไกการพัฒนางานสุขภาพจิต นายแพทย์บุญชัย นวมงคลวัฒนา ประธานพันธกิจที่ 4

2 พันธกิจที่ 4 สร้างกลไกการพัฒนางานสุขภาพจิต ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 สร้างกลไกเพื่อรองรับ การดำเนินงานด้านสุขภาพจิต ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาคุณภาพ ระบบบริหารจัดการ สู่มาตรฐานสากล 6. การจัดการ กระบวนการ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 1. การนำ องค์กร 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อมความสัมพันธ์ และความท้าทาย 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ กลไกการจัดการ ภายในกรม กลไกระดับชาติ การจัดทำร่าง ข้อเสนอเชิงนโยบาย คกก. สุขภาพจิตแห่งชาติ กลไกระดับ ท้องถิ่น / พื้นที่ พวงบริการ กลไกการจัดการ ภายนอกกรม

3 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4

4 เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ มีข้อเสนอเชิงนโยบายด้านสุขภาพจิตที่ผ่านความเห็นชอบของ คณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ จำนวนข้อเสนอเชิงนโยบายด้านสุขภาพจิตที่ผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการ สุขภาพจิตแห่งชาติ กลยุทธ์ 4.1 พัฒนากลไกเพื่อรองรับการดำเนินงานสุขภาพจิตใน ระดับชาติและระดับท้องถิ่น ตัวชี้วัดกลยุทธ์ จำนวนข้อเสนอเชิงนโยบายด้านสุขภาพจิตที่ยกร่างและเสนอต่อคณะกรรมการ สุขภาพจิตแห่งชาติ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 สร้างกลไกเพื่อรองรับการ ดำเนินงานด้านสุขภาพจิต

5 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการ สู่มาตรฐานสากล

6 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการสู่มาตรฐานสากล เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ การบริหารจัดการของกรมสุขภาพจิตมีคุณภาพ ตามเกณฑ์การบริหารจัดการภาครัฐ ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ กรมสุขภาพจิตผ่านการประเมินตามเกณฑ์ คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ สิ้นปี 2557ผ่านการประเมินเกณฑ์ Certified FL สิ้นปี 2559 ผ่านการประเมินเกณฑ์ TQC

7 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการสู่มาตรฐานสากล โครงการที่ขับเคลื่อนประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 จำนวน 7 โครงการ รวมงบประมาณทั้งสิ้น 12,708,400 บาท + โครงการที่ขับเคลื่อนพันธกิจที่ 1-3

8 1. โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการสู่ความ เป็นเลิศ 2. โครงการบริหารจัดการยุทธศาสตร์ให้มี ประสิทธิภาพ 3. โครงการทบทวนและปรับปรุงระบบรับฟังความ ต้องการ / ข้อคิดเห็น / ข้อร้องเรียนของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 4. โครงการพัฒนาคุณภาพระบบข้อมูลสารสนเทศ 5. โครงการพัฒนาบุคลากรตามแผนการส่งเสริม ความก้าวหน้าในอาชีพ (Career Path) และ ยุทธศาสตร์การพัฒนาข้าราชการกรมสุขภาพจิต 6. โครงการพัฒนาระบบสร้างแรงจูงใจและความ ผูกพันของบุคลากร 7. โครงการพัฒนาองค์กรด้านการบริหารทัพยากร บุคคล โครงการที่ขับเคลื่อนประเด็นยุทธศาสตร์

9 กลยุทธ์ 5.1 พัฒนาระบบการนำและบริหารจัดการองค์การที่ดี ตัวชี้วัด ร้อยละของบุคลากรที่มีความพึงพอใจต่อการนำ องค์การของผู้บริหาร โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการสู่ความเป็นเลิศ - ระบบการนำองค์กร (GES) - ระบบการกำกับดูแลองค์การที่ดี (นโยบาย OG) - การพัฒนาระบบคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (ISO/HA/PMQA) เน้นการพัฒนามิติงานส่งเสริม ป้องกันปัญหาสุขภาพจิต - พัฒนาค่านิยมและวัฒนธรรมองค์กร (GES) - พัฒนาระบบการจัดการความรู้สู่การเป็น LO (GES)

10 กลยุทธ์ 5.2 พัฒนาระบบการบริหารจัดการยุทธศาสตร์ให้มี ประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด ร้อยละของบุคลากรมีความเข้าใจในทิศทางการดำเนินงาน ขององค์กร โครงการบริหารจัดการยุทธศาสตร์ให้มีประสิทธิภาพ - กำหนดทิศทาง นโยบาย / วางแผนยุทธศาสตร์ แผนบริหารทรัพยากร แผนปฏิบัติการและ แผนติดตามประเมินผล - การสื่อสารทิศทาง นโยบาย ยุทธศาสตร์ และการแปลงแผน สู่การปฏิบัติ การสื่อสารการขับเคลื่อนงานสุขภาพจิตตาม กลุ่มวัย - ระบบการวัด การวิเคราะห์และติดตามประเมินผลการ ดำเนินงาน

11 กลยุทธ์ 5.4 พัฒนากระบวนการดำเนินงานให้สอดคล้องกับความ ต้องการและความคาดหวังของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ตัวชี้วัด ร้อยละของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีความพึง พอใจต่อการดำเนินงานของกรมฯ - ทบทวนการจำแนกกลุ่มผู้รับบริการ โดยใช้ปัจจัยคือ กลุ่มวัย พื้นที่ และ ปัญหาสุขภาพจิต - ปรับปรุงแบบประเมินความพึงพอใจตามกระบวนการสำคัญของ หน่วยงาน - นำข้อมูลที่ได้จากผู้รับบริการมาปรับปรุงงานของหน่วยงาน ข้อเสนอแนะ : ฐานข้อมูลของผู้รับบริการในการดำเนินการของ พันธกิจที่ 1,2 และ 3 จะมีการรวบรวมและจัดเก็บ อย่างไร โครงการทบทวนและปรับปรุงระบบรับฟังความต้องการ/ข้อคิดเห็น/ ข้อร้องเรียนของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

12 กลยุทธ์ 5.5 พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพจิต เพื่อมุ่งสู่การเป็นศูนย์กลางของประเทศ ตัวชี้วัด ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของข้อมูลและสารสนเทศด้าน สุขภาพจิตที่เชื่อมโยงกับระบบสารสนเทศอื่นๆ - พัฒนาฐานข้อมูลด้านสุขภาพจิตให้รองรับยุทธศาสตร์และการ ดำเนินงานด้านสุขภาพจิต (GES) - พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพจิตให้มีคุณภาพ มีความเชื่อมโยงกับระบบข้อมูลสารสนเทศอื่นๆของประเทศ (GES) โครงการพัฒนาคุณภาพระบบข้อมูลสารสนเทศ

13 1. พัฒนาระบบฐานข้อมูลตามพันธกิจ 2. พัฒนาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศตามเกณฑ์ มาตรฐาน 3. เชื่อมโยงระบบฐานข้อมูลสารสนเทศกับหน่วยงานอื่น มีจำนวน 8 ฐานข้อมูล 4. เชื่อมข้อมูล 21 แฟ้มข้อมูลของสนย. (ข้อมูลรายเดือน ลงระดับตำบล อำเภอ จังหวัด) มีแฟ้มที่เกี่ยวข้องกับงานสุขภาพจิต 15 แฟ้มข้อมูล ระบบข้อมูลจะตอบอัตราการเข้าถึงบริการ 5. Data Center การวิเคราะห์ข้อมูลผู้ป่วย : โรค พื้นที่ สถานที่รักษา ยาที่กิน โครงการ SINAP

14 กลยุทธ์ 5.3 พัฒนาระบบคุณภาพการบริหารทรัพยากรบุคคล ตัวชี้วัด ร้อยละของความสำเร็จตามเกณฑ์การประเมินตาม กรอบมาตรฐานการพัฒนาทรัพยากรบุคคล (HR Scorecard) - จากงานการเจ้าหน้าที่ การบริหารทรัพยากรบุคคล - การพัฒนาหน่วยงาน HR ในกรม เครือข่าย HR - ความสมดุลย์ : เวลาในการทำงาน กับ ชีวิตส่วนตัว ครอบครัว - การพัฒนาบุคลากรตามแผนการส่งเสริมความก้าวหน้าในอาชีพ (Career Path) - โครงการพัฒนาบุคลากรตามแผนการส่งเสริมความก้าวหน้า ในอาชีพ (Career Path) และยุทธศาสตร์การพัฒนาข้าราชการ กรมสุขภาพจิต - โครงการพัฒนาระบบสร้างแรงจูงใจและความผูกพัน ของบุคลากร (GES) - โครงการพัฒนาองค์กรด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล

15 15 ระบบ GES รางวัล PMQA ปี 48 - 51 525354 55 ภาคบังคับเป็นตัวชี้วัดคำรับรองระดับกรม การพัฒนาองค์การ : มิติภายใน 5657 58 ประเมิน+วางแผน ปรับปรุง เกณฑ์ Fundamental Level ปีละ 2 หมวด ดำเนินการครบถ้วนในปี 54 กำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 ในช่วงแผนฯ10 59 กำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 ในช่วงแผนฯ 11ระบบบริหารจัดการภายในกรมฯ ภาคสมัครใจ

16 16 การดำเนินการด้านการพัฒนาองค์การที่เป็นภาคบังคับ GES ด้านการพัฒนาองค์การ KPI 1 : ระดับความสำเร็จของการ พัฒนาสมรรถนะของบุคลากร ประเด็นการประเมินผล - การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (HRD) - การบริหารทรัพยากรมนุษย์ (HRM) KPI 2 : ระดับความสำเร็จของการ พัฒนาปรับปรุงสารสนเทศ ประเด็นการประเมินผล Information Capital Survey - Utilization of User (User Satisfaction Survey or Effectiveness) - Efficiency KPI 3 : ระดับความสำเร็จของการ พัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ ประเด็นการประเมินผล Organization Climate Survey - Culture - Leadership - Personal Contribution - Teamwork - KM Human CapitalInformation CapitalOrganization Capital

17 17 ระบบ GES ปี 48 - 51 525354 55 ภาคบังคับ ผลการสำรวจพบโอกาสในการปรับปรุง Gapในด้านต่างๆ IT, Personal contribution, Leadership, KM 5657 58 ประเมิน+วางแผน ปรับปรุง เกณฑ์ Fundamental Level ปีละ 2 หมวด ดำเนินการครบถ้วนในปี 54 กำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 ในช่วงแผนฯ10 59 กำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 ในช่วงแผนฯ 11 ผลการดำเนินงานประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 รอบ 6 เดือนแรก ตัวชี้วัดบรรลุเป้าหมาย ภาคสมัครใจ

18 ผลการดำเนินงานรอบ 6 เดือนแรก ตัวชี้วัดประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 บรรลุเป้าหมาย กรมสุขภาพจิตผ่านการประเมินตามเกณฑ์ คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ เกณฑ์ Certified FL จากผู้ตรวจประเมินภายนอก ที่เข้ามาเมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2555

19 การตรวจ Certified FL มีแนวทางที่เป็นระบบ และสามารถตอบสนองต่อเป้าประสงค์ ขององค์การ ได้นำแนวทางไปปฏิบัติจริง ได้ทบทวน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และ ปรับปรุง แนวทาง/กระบวนการ อย่างเป็นระบบ มีแนวทางที่เป็นระบบ และสามารถตอบสนองต่อเป้าประสงค์ ขององค์การ ได้นำแนวทางไปปฏิบัติจริง ได้ทบทวน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และ ปรับปรุง แนวทาง/กระบวนการ อย่างเป็นระบบ การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการระดับพื้นฐาน (Certified FL) เป็นการตรวจรับรองว่า ส่วนราชการ

20 ปัจจัยแห่งความสำเร็จของการบรรลุเป้าหมาย  กระบวนการบริหารจัดการในหมวดการนำองค์กร ได้แก่ - ผู้บริหารให้ความสำคัญกับการบริหารยุทธศาสตร์ - ผู้บริหารกำหนดและจำแนกผู้รับบริการ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียชัดเจน ในแผนยุทธศาสตร์ - ระบบนำแผนยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ การจัดทำคำรับรองระดับหน่วยงาน การถ่ายทอดตัวชี้วัดสู่ระดับบุคคล การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ระดับ หน่วยงาน - การบริหารโครงการพัฒนางานสุขภาพจิตโดยมีเจ้าภาพ (Project Manager : PM) ทำให้เห็นการทบทวน ปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง

21 ปัจจัยแห่งความสำเร็จของการบรรลุเป้าหมาย - กระบวนการประเมินผลการดำเนินการแต่ละหมวด เพื่อหา โอกาสในการปรับปรุง(Opportunity for Improvement : OFI) จัดลำดับความสำคัญของโอกาสในการปรับปรุงให้เสร็จก่อนการ ทบทวนแผนยุทธศาสตร์ และการวางแผนปฏิบัติการประจำปี เพื่อให้มีการจัดสรรทรัพยากรอย่างสอดคล้องกับประเด็น ความสำคัญของเรื่องที่ต้องดำเนินการปรับปรุง

22 สรุปบทเรียนการดำเนินการ ผู้บริหารทุกท่านให้ความสำคัญกับการพัฒนาคุณภาพ การสร้างโอกาสในการเรียนรู้ : กรมนำร่อง วัฒนธรรมคุณภาพ วัฒนธรรมการเรียนรู้ ที่มีอยู่ใน หน่วยงาน เสริมสร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายกระบวนงาน : แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เช่น เครือข่ายHR เครือข่ายงานแผน หน่วยงานหลักในรายหมวด เป็นคณะกรรมการ คณะทำงาน ในระบบบริหารจัดการสำคัญ เพื่อเชื่อม แนวคิด สานต่อการพัฒนาระบบ

23 เส้นทางการรับรางวัลใน 6 เดือนหลัง การดำเนินการเพื่อรับรางวัลการพัฒนาคุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐ ? หมวด 2 ? หมวด 5 ทำอย่างไร : - การรวบรวมข้อมูลระบบบริหารจัดการทั้ง 7 หมวด - การเขียน Application Report กรมสุขภาพจิต - การประเมินตนเอง - การจัดลำดับความสำคัญของโอกาสในการ ปรับปรุง และ จัดทำแผนปรับปรุง

24 24 การวางแผนปรับปรุงตัวชี้วัดมิติภายในองค์กร GES ด้านการพัฒนาองค์การ KPI 1 : ระดับความสำเร็จของการ พัฒนาสมรรถนะของบุคลากร ประเด็นการประเมินผล - การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (HRD) - การบริหารทรัพยากรมนุษย์ (HRM) KPI 2 : ระดับความสำเร็จของการ พัฒนาปรับปรุงสารสนเทศ ประเด็นการประเมินผล Information Capital Survey - Utilization of User (User Satisfaction Survey or Effectiveness) - Efficiency KPI 3 : ระดับความสำเร็จของการ พัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ ประเด็นการประเมินผล Organization Climate Survey - Culture - Leadership - Personal Contribution - Teamwork - KM Human CapitalInformation CapitalOrganization Capital กองการเจ้าหน้าที่กองแผนงานสำนักพัฒนาสุขภาพจิต

25 25 การแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับหน่วยงานนำร่องใน 4 ภาค GES ด้านการพัฒนาองค์การ KPI 1 : ระดับความสำเร็จของการ พัฒนาสมรรถนะของบุคลากร ประเด็นการประเมินผล - การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (HRD) - การบริหารทรัพยากรมนุษย์ (HRM) KPI 2 : ระดับความสำเร็จของการ พัฒนาปรับปรุงสารสนเทศ ประเด็นการประเมินผล Information Capital Survey - Utilization of User (User Satisfaction Survey or Effectiveness) - Efficiency KPI 3 : ระดับความสำเร็จของการ พัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ ประเด็นการประเมินผล Organization Climate Survey - Culture - Leadership - Personal Contribution - Teamwork - KM Human CapitalInformation CapitalOrganization Capital ทีมประกอบด้วย : ผู้บริหารและทีมงานจาก กองการ เจ้าหน้าที่ กองแผนงาน สำนักพัฒนาสุขภาพจิต และ ก. พ. ร.


ดาวน์โหลด ppt พันธกิจที่ 4 สร้างกลไกการพัฒนางานสุขภาพจิต นายแพทย์บุญชัย นวมงคลวัฒนา ประธานพันธกิจที่ 4.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google