งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เอกสารประกอบการสอน บทที่ 7 แนวโน้มและ สถานการณ์ด้านอุตสาหกรรมท่องเที่ยวในประเทศไทยอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและบริการ Tourism Industry and Hospitality Management.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เอกสารประกอบการสอน บทที่ 7 แนวโน้มและ สถานการณ์ด้านอุตสาหกรรมท่องเที่ยวในประเทศไทยอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและบริการ Tourism Industry and Hospitality Management."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เอกสารประกอบการสอน บทที่ 7 แนวโน้มและ สถานการณ์ด้านอุตสาหกรรมท่องเที่ยวในประเทศไทยอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและบริการ Tourism Industry and Hospitality Management Program

2 แนวโน้มของการท่องเที่ยวโลก
แนวโน้มด้านอุตสาหกรรมท่องเที่ยวในประเทศไทยอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและบริการ แนวโน้มของการท่องเที่ยวโลก สถานการณ์ด้านอุตสาหกรรมท่องเที่ยวในประเทศไทยอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและบริการ

3 แนวโน้มของการท่องเที่ยวโลก
ทุกประเทศยอมรับว่าการท่องเที่ยวเป็นอุตสาหกรรมการบริการที่สำคัญ สามารถนำเงินตรา เข้าประเทศได้เป็นจำนวนมากและมีผลต่อการพัฒนาประเทศเป็นอย่างยิ่ง แต่ละประเทศจัด ให้มีกิจกรรมการส่งเสริมการท่องเที่ยวอย่างจริงจัง เพื่อเพิ่มจำนวนนักท่องเที่ยว ให้กับ ประเทศของตน และสร้างรายได้จากการท่องเที่ยวให้ได้มากที่สุดเท่านี้จะทำได้ ดังนั้นประเทศ ต่างๆทั่วโลกได้ให้ความสำคัญกับการส่งเสริมการท่องเที่ยวเป็นอย่างมากและได้ใช้กลไกการ ส่งเสริมหลายรูปแบบ โดยมุ่งหมายที่จะให้มีนักท่องเที่ยวเข้าสู่ประเทศมากขึ้น จึงเป็นเหตุให้ การท่องเที่ยวกลายเป็นอุตสาหกรรมที่ใหญ่ที่สุดของโลก ซึ่งการท่องเที่ยวได้มีการขยายตัว อย่างรวดเร็วในแทบทุกภูมิภาคของโลก

4 ปัจจัยทางเศรษฐกิจ ปัจจัยทางเทคโนโลยี
การเจริญเติบโตของการท่องเที่ยวโลก มีปัจจัยที่สำคัญพอสรุปได้ 5 ปัจจัยคือ การแข่งขันการท่องเที่ยวที่มากขึ้น ทำให้ราคาของสินค้าและบริการท่องเที่ยวมีราคาถูกลง และนักท่องเที่ยว และนักท่องเที่ยวเองก็มีความคาดหวังสูงต่อบริการทางการท่องเที่ยว มีการต่อรองมากขึ้น มีการมองหาตัวเลือกที่ถูกกว่าและมีคุณภาพดีกว่าภูมิภาคเอเชียโดยเฉพาะประเทศจีนและอินเดียจะมีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ว ปัจจัยทางเศรษฐกิจ ในอนาคตประชากรโลกจะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วจาก 1.5 พันล้านคนในปี ค.ศ.2005 เป็น 8 พันล้านคนในปี ค.ศ.2025 อนาคตกลุ่มประเทศที่เป็นตลาดหลักของการท่องเที่ยว เช่นยุโรปเหนือ อเมริกา และญี่ปุ่นจะมีจำนวนคนสูงอายุมากขึ้น ทำให้ตลาดท่องเที่ยวของคนสูงอายุมีความสำคัญมากขึ้น ปัจจัยทางสังคม เทคโนโลยีทางการสื่อสารได้รับการพัฒนาไปอย่างรวดเร็วส่งผลให้มีการเข้าถึงข้อมูลที่ช่วยในการวางแผนการท่องเที่ยวได้สะดวกรวดเร็วเช่นการสำรองการเดินทางในเรื่องของตั๋วเครื่องบิน รถเช่า รถไฟ โรงแรม และแหล่งท่องเที่ยวได้ด้วยตัวเอง นอกจากนั้นระบบการคมนาคมจะมีความสะดวก ปลอดภัย รวดเร็ว และมีราคาถูกอีกทั้งจะมีดารนำเอาวิศวะขั้นสูงมาใช้เพื่อพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวใหม่ ปัจจัยทางเทคโนโลยี

5 ปัจจัยทางชีววิทยา ปัจจัยทางการเมือง
ความสมบูรณ์ของธรรมชาติจะมีคุณค่าเพิ่มมาก นักท่องเที่ยวในอนาคตจะมองหาแหล่งท่องเที่ยวที่ยั่งยืนและมีความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม ย่อมส่งผลให้แหล่งท่องเที่ยวที่มีธรรมชาติสมบูรณ์ได้รับความนิยมมากขึ้น ส่วนเรื่ององสภาวะโลกร้อนและชั้นโอโซนเป็นรู ทำให้แสงอาทิตย์มีอันตรายมากขึ้นย่อมมีผลต่อแหล่งท่องเที่ยวทางทะเลและการปล่อยสารคาร์บอนของเครื่องบินจะทำให้อุณหภูมิของโบกสูงมากขึ้นอีกทั้งส่งผลต่อการเดินทางทางอากาศและการเดินทางท่องเที่ยวระยะไกล ปัจจัยทางชีววิทยา อัตราเหตุการณ์การก่อการร้ายที่มีมากขึ้นทำให้นักท่องเที่ยวเกิดความผิดพลาดความวิตกกังวลและรู้สึกว่าความปลอดภัยในการเดินทางท่องเที่ยวมีน้อยลงนอกจากนี้ขั้นตอนการขออนุญาตเดินทางเข้าประเทศและพิธีการตรวจคนเข้าเมืองก็จะมีความซับซ้อนมายิ่งขึ้นและอาจมีขั้นตอนทากขึ้นในการตรวจสอบก่อนการขึ้นเครื่องบินในขณะที่การปิดประเทศของจีนยอมส่งผลให้มีนักท่องเที่ยวชาวจีนหลั่งไหลออกนอกประเทศเป็นจำนวนมากและส่งผลต่อการพัฒนาจีนเป็นแหล่งท่อง ปัจจัยทางการเมือง

6 สถานการณ์ด้านอุตสาหกรรมท่องเที่ยวในประเทศไทย
การท่องเที่ยวเป็นอุตสาหกรรมภาคบริการมีบทบาทสำคัญในระบบเศรษฐกิจของ ประเทศไทย เพราะนอกจากนั้นมีการสร้างรายได้โดยมีมูลค่าเป็นอันดับหนึ่งของ การค้าบริการรวมของประเทศแล้ว ยังเป็นอุตสาหกรรมที่ก่อให้เกิดธุรกิจที่ เกี่ยวเนื่องอีกมากมาย อาทิ โรงแรมและที่พัก ภัตตาคารร้านอาหาร ร้านจำหน่าย ของที่ระลึก การคมนาคมขนส่ง เป็นต้น

7 1. สถานการณ์การท่องเที่ยวโลก
1.1 โครงสร้างการตลาดและแนวโน้มการท่องเที่ยวการท่องเที่ยว 1) การเพิ่มขึ้นของนักท่องเที่ยว องค์การท่องเที่ยวโลก 2) การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างการตลาด กลุ่มประเทศ BRIC 3) การแข่งขันด้านการท่องเที่ยวสูงขึ้น 4) การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรโลก 5) การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การช่วงเชิงการตลาดการท่องเที่ยว 1.2 วิกฤตและความเสี่ยงที่ส่งผลกระทบต่อการท่องเที่ยว 1) การท่องเที่ยวโลกมีความเสี่ยงที่จะได้รับผลกระทบจากการก่อการร้าย 2) การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศโลก 3) ความเสี่ยงของโรคระบาด 4) สภาวะเศรษฐกิจโลก

8 1.3 การเปลี่ยนแปลงของพฤติกกรมของนักท่องเที่ยว
1) พฤติกรรมผู้บริโภคปรับเปลี่ยนไปตามสภาพเศรษฐกิจ 2) นักท่องเที่ยวนิยมเดินทางท่องเที่ยวระยะใกล้ 3) นักท่องเที่ยวมีแนวโน้มสนใจการท่องเที่ยวในความสนใจพิเศษ 4) กระแสความสนใจและนักท่องเที่ยวใส่ใจในสุขภาพ และการออกกำลังกาย 5) กระแสความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม

9 2. สถานการณ์การท่องเที่ยวไทย
1) ประเทศต้องประสบกับภาวะวิกฤตและความเสี่ยงด้านการท่องเที่ยว 2) สถานการณ์ทางการเมืองยังคงส่งผลกระทบต่อการท่องเที่ยว 3) จำนวนนักท่องเที่ยว รายได้ ค่าใช้จ่าย และวันพักเฉลี่ยของนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น 4) นักท่องเที่ยวจากกลุ่มประเทศเอเชียตะวันออกและยุโรปเป็นนักกลุ่มท่องเที่ยวหลักไทย นักท่องเที่ยวมากกว่าครึ่งหนึ่ง 5) นักท่องเที่ยวไทยมีแนวโน้มเดินทางท่องเที่ยวภายในประเทศมากขึ้น 6) กลุ่มธุรกิจโรงแรมและภัตตาคาร มีบทบาทสำคัญในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย 7) ระบบโลจิสติกส์และการเชื่อมโยงการท่องเที่ยว ประเทศไทยมีความพร้อมในด้านโครงสร้างพื้นฐานระดับหนึ่ง 8)การท่องเที่ยวไทยมีแนวโน้มได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศโลก 9) ประเทศไทยยังคงมีจุดอ่อนในด้านความปลอดภัย กฎระเบียบ ด้านสิ่งแวดล้อม สุขอนามัย และนโยบาย 10) มีการกระจายอำนาจและเปิดโอกาสให้ชุมชนและท้องถิ่นมีส่วนร่วม

10 1) ศักยภาพด้านการท่องเที่ยว การเปรียบเทียบด้านการท่องเที่ยว 124 ประเทศ ของ World Economic Forum พบว่าประเทศไทยมีอันดับที่ดีขึ้น แม้ต้องเผชิญกับความและวิกฤตในหลายด้านในปี 2550 ประเทศ อยู่ในอันดับที่ 43 ของโลก และปี 2552 อยู่ที่อันดับ 39 ของโลก โดยประเทศไทยเป็นที่ยอมรับเรื่องการ ท่องเที่ยวในด้านทรัพยากรมนุษย์ ธรรมชาติ และวัฒนธรรม ความคุ้มค่าด้านราคา และความดึงดูดใจให้ เดินทางมาท่องเที่ยว 2) ประเทศไทยมีความได้เปรียบด้านการท่องเที่ยว มีทรัพยากรพื้นฐานด้านการท่องเที่ยวหลากหลายแห่งนี้มี ความสวยงามติดระดับโลก มีเอกลักษณ์ต่างจากภูมิภาคอื่น ซึ่งสามารถพัฒนาเป็นกิจกรรมการท่องเที่ยว รวมถึงอุตสาหกรรมที่สนับสนุนเชื่อมโยง และยังมีแหล่งท่องเที่ยวที่มีศักยภาพพร้อมที่จะพัฒนาอีกจำนวน มาก ความได้เปรียบด้านทรัพยากรการท่องเที่ยวของประเทศไทยจึงเป็นจุดแข็งทำให้แหล่งท่องเที่ยวใน ประเทศไทยเป็นที่รู้จักแพร่หลายและได้รับรางวัลความสำเร็จจากการจัดอันดับในระดับโลก ( access online 01/03/2013)

11 จบการบรรยาย


ดาวน์โหลด ppt เอกสารประกอบการสอน บทที่ 7 แนวโน้มและ สถานการณ์ด้านอุตสาหกรรมท่องเที่ยวในประเทศไทยอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและบริการ Tourism Industry and Hospitality Management.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google