การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นการตรวจราชการที่ ๕ : ประสิทธิภาพของการ บริหารการเงินการคลัง 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง ตัวชี้วัด หน่วยบริการในพื้นที่มีต้นทุนต่อหน่วยไม่เกิน.
Advertisements

เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
แผนการดำเนินงานปี 2558 กลุ่มโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
สกลนครโมเดล.
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
สหกรณ์ ปี 2560 สหกรณ์ 4,629 สหกรณ์ (65%) ต้อง  สมาชิกไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 มีส่วนร่วม ในการดำเนินธุรกิจสหกรณ์  สหกรณ์มีเสถียรภาพทางการเงินในระดับ มั่นคงมาตรฐานขึ้นไป.
มีระบบหลักประกันสุขภาพที่ประชาชน เข้าถึงด้วยความมั่นใจ.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
การประชุมแนวทางการพัฒนา กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ปี 2556 วันที่ 30 มกราคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุมสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
สรุปกิจกรรมการบริหารจัดการวัคซีน ไข้หวัดใหญ่ ปี 2559 รวินท์นิภา ภักดี กลุ่มงานควบคุมโรค รวินท์นิภา ภักดี กลุ่มงานควบคุมโรค.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
FAI60 อมรรัตน์ พีระพล กลุ่มประกันสุขภาพ.
การถ่ายทอดตัวชี้วัด เป้าหมาย เพื่อลงนามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
ยุทธศาสตร์ ที่ 2 Service Excellence (ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ)
ตัวชี้วัด 24 ร้อยละของจังหวัดที่มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยง
แผนยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี และคำรบรองการปฏิฟ้ติราชการ
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
สถานการณ์ปัจจุบัน ปัญหา Problem
การพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ ปีงบประมาณ 2560
โดย นางอัญธิกา ชัชวาลยางกูร ผู้อำนวยการกองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
นายนุกูลกิจ พุกาธร นายธีรภัทร์ ฉ่ำแสง Cluster KISS
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงินระดับ 7
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
การประเมินศักยภาพชุมชน ด้วย... ค่ากลางที่คาดหวัง
ตัวชี้วัดที่ 2.3 ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย (Integrity and Transparency Assessment: ITA) เฉพาะหลักฐานเชิงประจักษ์
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ปี 2562
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
แผนงานการพัฒนาองค์กรคุณภาพ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 6 จังหวัดตราด
กิจกรรมหลัก ภาคกลาง 12กันยายน 2560
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
ข้อตกลงการปฏิบัติงาน (Performance Agreement : PA) ปีงบประมาณ 2561 ไตรมาสที่ 2 (1 ต.ค. 60 – 31 มี.ค. 61) เขตสุขภาพที่ 12.
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การดำเนินงาน GREEN & CLEAN Hospital จังหวัดน่าน ปีงบประมาณ 2561
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
ข้อตกลงการปฏิบัติงาน (Performance Agreement : PA) ปีงบประมาณ 2561 ไตรมาสที่ 1 (1 ต.ค. 60 – 31 ธ.ค. 60) เขตสุขภาพที่ 12.
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
1.ประเด็น : การบริหารการเงินการคลังอย่างมีประสิทธิภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562 การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562 นพ.ธีระพงษ์ แก้วภมร นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ

สรุปจากการประชุม

นโยบายการบริหารการเงินการคลังปี2562 นโยบายปลัดกระทรวงฯ ข้อ 7,8

นโยบายการบริหารการเงินการคลังปี2562 PA -2562 ข้อ 10:Financial Management

การบริหารการเงินการคลังอย่างมีประสิทธิภาพ หน่วยงานหลัก: กองเศรษฐกิจสุขภาพและ หลักประกันสุขภาพ หน่วยงานร่วม: กองบริหารการคลัง/ กลุ่ม ตรวจสอบภายใน สป./ ศูนย์เทคฯ ประเด็น PA Financial Management การบริหารการเงินการคลังอย่างมีประสิทธิภาพ Governance Excellence แผนงานที่ 13 เป้าหมาย/ตัวชี้วัด Target: หน่วยงานสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขทุกแห่ง (สสจ./ รพศ./ รพท./ รพช.) KPI: ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงิน ระดับ 7 ไม่เกินร้อยละ 4 สถานการณ์/ ข้อมูลพื้นฐาน หน่วยบริการสังกัด สป.สธ. (รพศ. รพท. รพช.) มีการจัดทำแผนบริหารความเสี่ยง (Risk Management) แลกเปลี่ยนเรียนรู้ นวัตกรรมระดับพื้นที่ เพื่อการพัฒนาและขยายเป้าหมาย การดำเนินงาน การร่วมบริหารผ่านคณะกรรมการร่วมระดับประเทศ (7x7) และคณะทำงานระดับเขต (5x5) พัฒนาการบริหารระบบบัญชีให้มีคุณภาพ พัฒนาศักยภาพ ภาคีเครือข่าย ที่ครอบคลุมทุกพื้นที่ เพื่อลดอัตราหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงิน ระดับ 7 ด้วยการขับเคลื่อน 5 มาตรการ มาตรการ (Value chain) 1. การจัดสรรเงินอย่างเพียงพอ (Sufficient Allocation) 2. พัฒนาการบริหารระบบบัญชี (Accounting Management) 3. พัฒนาศักยภาพบริหารด้านการเงินการคลังแก่เครือข่ายและบุคลากร (Network & Capacity Building) 4. สร้างประสิทธิภาพการบริหารจัดการ (Efficient Management) 5. ติดตาม กำกับ เครื่องมือประสิทธิภาพทางการเงิน (Monitoring Management) 1.1 พัฒนาต้นแบบการจ่ายแบบมุ่งเน้นคุณค่า (Value-based Payment) ใน DM, HT 1.2 จัดทำแผนทางการเงินที่มีคุณภาพ 1.3 พัฒนาประสิทธิภาพของระบบการจัดสรรเงินให้กับหน่วยบริการมีรายได้เพียงพอกับค่าใช้จ่าย 2.1 พัฒนาการบริหารระบบบัญชีให้ได้มาตรฐาน 2.2 พัฒนาฐานข้อมูล ด้านการเงินการคลัง ของ สป.สธ. 2.3 นำเกณฑ์การประเมินคุณภาพบัญชีมาประเมิน ความถูกต้องของข้อมูล 2.4 พัฒนาการรับ – จ่ายเงินภาครัฐทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Payment ภาครัฐ) 3.1 พัฒนาศักยภาพผู้บริหารด้านการเงินการคลังเพื่อเข้าสู่ตำแหน่ง ผอ.รพศ. /รพท./ รพช. และ นพ.สสจ. 3.2 พัฒนาศักยภาพบริหารด้านการเงินการคลังแก่ผู้ดำรงตำแหน่งบริหาร (นพ.สสจ./ ผอ.รพ.) 3.3 พัฒนาศักยภาพบริหารด้านการเงินการคลังแก่ CFO ระดับเขต และจังหวัด 3.4 พัฒนาศักยภาพบริหารด้านการเงินการคลังแก่เครือข่ายและบุคลากรด้านการเงินการคลัง 3.5 พัฒนาศักยภาพผู้ตรวจสอบภายในตามมาตรฐาน CGIA 4.1 กระจายอำนาจให้ เขตสุขภาพบริหารจัดการ 4.2พัฒนารูปแบบการบริหารจัดการร่วม (Merging) 5.1 ควบคุมกำกับโดยเปรียบเทียบ แผนการเงินกับผลการดำเนินงาน 5.2 ควบคุมกำกับโดยเกณฑ์ประสิทธิภาพทางการเงิน (7 plus efficiency) 5.3 ควบคุมกำกับด้วยเกณฑ์ประเมินต้นทุนผู้ป่วยนอก และผู้ป่วยใน (Unit cost) 5.4 พัฒนาระบบการบริหารจัดการหน่วยบริการ ด้วยการตรวจสอบภายใน และควบคุมภายใน 5.5 เฝ้าระวัง ติดตาม ประเมินผลการบริหารจัดการด้านการเงินการคลัง กิจกรรมหลัก ผู้รับผิดชอบ กศภ./ สปค. (PCC) กศภ./ กองคลัง/ ศูนย์เทคฯ กศภ./ ศูนย์เทคฯ/ ตสน.สป./ สบช. กศภ. กศภ./ ตสน.สป. ระดับความสำเร็จ ไตรมาส 1 หน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤต ทางการเงิน ระดับ 7 ไม่เกินร้อยละ 4 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4