รองผู้อำนวยการสำนักบริหารการสาธารณสุข

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

น.พ.นิทัศน์ รายยวา รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
เชื่อมโยงนโยบายแต่ละระดับ
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ความปลอดภัยอาหาร Food Safety
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค ด้านสุขภาพ (ปรับปรุง )
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหาร จัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการ.
ศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก เทศบาล ตำบลปัว ยินดี ต้อนรับ ยินดี ต้อนรับ.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
เป้าหมายงานวัณโรค ปี 2559 ระดับความสำเร็จของการควบคุมวัณโรค 1. การค้นหาและรายงานผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ เพิ่มขึ้น 10% ( ของปี 56) 2. รพ. ผ่านมาตรฐานรพ. คุณภาพการดูแลรักษาวัณ.
นายแพทย์ศุภมิตร ชุณห์สุทธิวัฒน์ ที่ปรึกษากรมควบคุมโรค และ ที่ปรึกษาศูนย์ประสานงานเครือข่ายสุขภาพหนึ่งเดียว.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ภก.กิตติศักดิ์ ไท้ทอง
การกำกับดูแลวิชาชีพ ด้านการพยาบาล (Nursing) 6 กรกฎาคม 2559
โครงการอบรม เรื่องการส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล โรงพยาบาลสัตหีบ กม.10 ปีงบประมาณ 2560 วันที่ 23 พฤษภาคม 2560.
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอน้ำพอง
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
3P กับการพัฒนาคุณภาพ สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
การประชุมคณะกรรมการอำนวยการ โครงการพัฒนาเมืองสมุนไพร ครั้งที่ 1/2559
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
ผลการปฏิบัติงานกรมตรวจบัญชีสหกรณ์
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
ประชุมติดตามความก้าวหน้าการดำเนินการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ วันที่ ๔ เมษายน ๒๕๕๕ เวลา ๑๓.๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๔/๑ ศาลากลางจังหวัด.
ณ โรงแรมเดอะ รอยัล เจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท จ.นครปฐม
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
รศ. ทวีศักดิ์ สูทกวาทิน สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
อดีต ปัจจุบัน อนาคต ของเอชไอวี ในประเทศไทย
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 25 รพ.สต.ผ่านเกณฑ์พัฒนาคุณภาพ รพ.สต.ติดดาว
ความสำคัญ เหตุผลที่เฝ้าระวัง PM10
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการ
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข โซน3 จังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 ด้วยความยินดียิ่ง.
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
และ อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี ปี 2557
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
การวิเคราะห์ข้อมูลขยะ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัดปทุมธานี
ตัวชี้วัดที่ 1 ร้อยละของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ที่มีคุณภาพ ร้อยละ 50.
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
ข้อตกลงการปฏิบัติงาน (Performance Agreement : PA) ปีงบประมาณ 2561 ไตรมาสที่ 2 (1 ต.ค. 60 – 31 มี.ค. 61) เขตสุขภาพที่ 12.
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
บุคลากรในรพ.รพ.แห่งละ 5 คน
ข้อตกลงการปฏิบัติงาน (Performance Agreement : PA) ปีงบประมาณ 2561 ไตรมาสที่ 1 (1 ต.ค. 60 – 31 ธ.ค. 60) เขตสุขภาพที่ 12.
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
การขับเคลื่อนนโยบายกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 9 จังหวัดบุรีรัมย์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รองผู้อำนวยการสำนักบริหารการสาธารณสุข 26 มกราคม 2560 นโยบาย ยุทธศาสตร์การจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพประเทศไทย และ นโยบายกระทรวงสาธารณสุข นพ. สุพจน์ จิระราชวโร รองผู้อำนวยการสำนักบริหารการสาธารณสุข

สถานการณ์ปัญหา (AMR) การป่วยจากเชื้อดื้อยา 88,000 ครั้ง ปัญหาสุขภาพ การป่วยจากเชื้อดื้อยา 88,000 ครั้ง การเสียชีวิต 38,000 คน นอนโรงพยาบาลนานขึ้น 3.24 ล้านวัน มูลค่ายาต้านจุลชีพที่ใช้รักษาคิดเป็น 2,539 – 6,084 ล้านบาท การสูญเสียทางเศรษฐกิจโดยรวม 4.2 หมื่นล้านบาท ความ ท้าทาย อัตราการดื้อยา สูงขึ้นเป็นเท่าตัว เช่น Acinetobacter baumannii ดื้อต่อยา Imipenem ปี 43 =14% -> ปี 49 = 38% -> ปี 57 = 76% (ร้อยละ 80 – 90 ของผู้ป่วย ICU เสียชีวิตเพราะเชื้อนี้) มูลค่าการผลิตและนำเข้า Antibiotic เพิ่มสูงขึ้น ปี 52 = 1.1 หมื่นล้าน -> ปี 55 = 1.7 หมื่นล้าน พบเชื้อดื้อยา ในประชาชนที่สุขภาพดีทั่วไป - ESBL-producing E. coli in GI tract of adults cultured 66.5% - พบยาปฏิชีวนะในร้านชำทั่วไป - พบ ESBL-producing E. coli ในเนื้อสัตว์สดและน้ำดื่ม 26.4%

แนวคิดสุขภาพหนึ่งเดียว : คน สัตว์ สิ่งแวดล้อม ที่มา : Infographic from the CDC Threat Report 2013, Antibiotic resistance threats in the United States, 2013 (http://www.cdc.gov/drugresistance/threat-report-2013/)

แผนยุทธศาสตร์การจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพประเทศไทย พ.ศ. 2560-2564 เป้าหมาย ปี 64 การป่วยจากเชื้อดื้อยาลดลง ร้อยละ 50 ปริมาณการใช้ยา ATB ในคนลดลง ร้อยละ 20 ปริมาณการใช้ยา ATB ในสัตว์ลดลง ร้อยละ 30 ประชาชนมีความรู้เรื่อง AMR/การใช้ยาเพิ่มขึ้น ร้อยละ 20 ระบบจัดการ AMR ตามเกณฑ์สากล ไม่ต่ำกว่าระดับ 4  ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเฝ้าระวังการดื้อยาต้านจุลชีพภายใต้แนวคิดสุขภาพหนึ่งเดียว ยุทธศาสตร์ที่ 2 การควบคุมการกระจายยาต้านจุลชีพในภาพรวมของประเทศ ยุทธศาสตร์ที่ 3 การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในสถานพยาบาล และควบคุมกำกับดูแลการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างเหมาะสม ยุทธศาสตร์ที่ 4 การป้องกันและควบคุมเชื้อดื้อยาและควบคุมกำกับดูแลการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างเหมาะสมในภาคการเกษตรและสัตว์เลี้ยง ยุทธศาสตร์ที่ 5 การส่งเสริมความรู้ด้านเชื้อดื้อยาและความตระหนักด้านการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างเหมาะสมแก่ประชาชน   ยุทธศาสตร์ที่ 6 การบริหารและพัฒนากลไกระดับนโยบายเพื่อขับเคลื่อน เป้าหมาย ยุทธ์ 3 สถานพยาบาลมีระบบป้องกันและควบคุมการติดเชื้อที่มีประสิทธิภาพและควบคุมกำกับดูแลการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างเหมาะสม เพื่อ - ลดการติดเชื้อดื้อยา - ลดค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการติดเชื้อในสถานพยาบาล

AMR P L E A S E นโยบายกระทรวงสาธารณสุข และผลที่คาดว่าจะได้รับ แผนยุทธ์ Policy Goal มาตรการ Action M&E Health Outcome รพ.ทุกแห่งใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU Hospital) Rational Drug Supply จัดให้ยาที่มีคุณภาพ &ปลอดภัย &ต้นทุนเหมาะสม Service Plan RDU AMR Decrease AMR Rational Prescribe การสั่งใช้ยาอย่างสมเหตุผล - NCD - Infection - สมุนไพร แผนยุทธ์ AMR รพ.สต.ทุกแห่งใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบ(RUA PCU) P L E แผนแม่บท ส่งเสริม สมุนไพร Rational Use ส่งเสริมประชาชนใช้ยาถูกต้องปลอดภัย A Decrease Drug Cost -Antibacterial -non essential ใช้ยาสมุนไพรในระบบบริการ S E

Antimicrobial Resistance ประเด็น การ พัฒนา ใน รพ. Policy and management พัฒนานโยบายและกลไกสนับสนุนการจัดการ AMR Antimicrobial stewardship improving prescribe and use พัฒนาระบบการใช้ยาเพื่อป้องกันและรักษาการติดเชื้อ และระบบการควบคุมกำกับดูแลการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างเหมาะสม Fighting the spread of resistance พัฒนาระบบการเฝ้าระวัง การป้องกัน และควบคุมการแพร่กระจาย AMR ทั้งในโรงพยาบาลและการส่งต่อผู้ป่วยอย่างมีประสิทธิภาพ

Antimicrobial Resistance มาตรการสำคัญ 9 มาตรการ การจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพในสถานพยาบาล A M R วิจัย R2R CQI

ขอบคุณครับ ท่านนายกรัฐมนตรี https://www.youtube.com/watch?v=k9cNqgkrLCw&t=78s