การพัฒนาคุณภาพอาหารกลางวัน โดยใช้ Thai School Lunch นางสาววรลักษณ์ คงหนู ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
ผลการสำรวจการดำเนินงานโครงการอาหารกลางวันในโรงเรียน เขตสุขภาพที่ 5 ณ 14 มีนาคม 61 โรงเรียนที่ให้ข้อมูล มีทั้งหมด = 31 รร. ขนาดเล็ก = 8 รร. ขนาดกลาง = 20 รร. ขนาดใหญ่พิเศษ = 3 รร. รูปแบบการจัดอาหาร โรงเรียนจ้างแม่ครัวปรุงอาหารเองที่โรงเรียน = 23 รร. จ้างเหมาบุคคลภายนอกมาปรุงอาหารที่โรงเรียน = 5 รร. จ้างเหมาบุคคลภายนอกปรุงอาหารมาส่งที่โรงเรียน = 2 รร. ครูปรุงอาหารเอง = 1 รร. การศึกษาของคุณครูที่รับผิดชอบอาหารกลางวัน จบอาหารและโภชนาการ = 1 รร. (วัดหนองกระทุ่ม จ.ราชบุรี) คหกรรมศาสตร์ = 3 รร. (อนุบาลราชบุรี บ้านทุ่งตาแก้ว จ.ประจวบ บ้านวังด้ง จ.กาญจนบุรี) อื่นๆ เช่น คณิตศาสตร์ ภาษาไทย พละฯลฯ = 27 รร.
ผลการสำรวจการดำเนินงานโครงการอาหารกลางวันในโรงเรียน เขตสุขภาพที่ 5 ณ 14 มีนาคม 61 4. การจัดทำเมนูอาหารกลางวัน ใช้คู่มือตำรับอาหารของกระทรวงศึกษาธิการ = 3 รร. ใช้ประสบการณ์ตนเองและทีมงาน = 8 รร. ใช้ Thai School Lunch = 20 รร. 5. รายจ่ายค่าอาหารกลางวันเฉลี่ยวันละ 18.7 บาท ต่ำสุด = 12.66 บาท สูงสุด = 20 บาท ต่อคน 6. การผลักดันให้มีนักโภชนาการตำบล/โรงเรียน เห็นด้วย = 29 รร. ไม่เห็นด้วย = 2 รร.
โครงการอาหารกลางวันนักเรียน 20 บาท 2556 -ปัจจุบัน 20 บาท 26 2551-2555 13 บาท 2544 10 บาท 2540 6 บาท ปีแรกที่รัฐสนับสนุนงบประมาณ 2535 5 บาท 66 2495 เริ่มต้น งบกองทุนเพื่อโครงการอาหารกลางวัน
ปี 55 วิเคราะห์คุณภาพอาหารกลางวันเทียบเคียงญี่ปุ่น Japan 67 ปี Thailand 60 ปี โครงการอาหารกลางวันนักเรียน IQ > 100 IQ < 100 IQ มาตรฐานอาหารกลางวัน มาตรฐาน เด็ก อ้วน ผอม เตี้ย มาตรฐาน
อิ่มท้องอย่างมีคุณภาพ ปี 55 - 56 โจทย์สำคัญ จะทำอย่าไร?? ให้เด็ก... อิ่มท้องอย่างมีคุณภาพ สมองแจ่มใส IQ >100 มีโภชนาการสมวัย
13 บาท 20 บาท Before After พัฒนา Model จนได้คำตอบ เด็กไทยได้รับการคุ้มครองสิทธิด้านโภชนาการ อย่างเท่าเทียม : รัฐบาลต้องเพิ่มค่าอาหารกลางวัน จาก 13 บาท เป็น 20 บาท 13 บาท 20 บาท ยังไม่รวม ค่าแก๊ส ค่าพาหนะขนส่ง ค่าตอบแทนแม่ครัว รวม ค่าแก๊ส ค่าพาหนะขนส่ง ค่าตอบแทนแม่ครัว Before After
งบอาหารกลางวัน 20 บาท : เพิ่ม 7 บาท เพิ่มคุณภาพอาหาร จัดปริมาณ&ความถี่อาหารได้ตาม ธงโภชนาการ จัดเมนูอาหาร ได้หลากหลาย ปริมาณพลังงานและสารอาหารครบถ้วน หรืออย่างน้อย 70%ต่อมื้อ อาหารกลางวัน 20 บาท จัดผักผลไม้ ได้ทุกวัน หรือ 3 วันต่อสัปดาห์ ปริมาณพลังงานและสารอาหารมื้อกลางวันควรได้รับ40% ต่อวัน พลังงาน (kgcal) 600 แคลเซียม (mg) 360 วิตามินบี 1 (mg) 0.3 เหล็ก (mg) 5.5 วิตามินเอ (µgRE) 215 วิตามินซี (mg) 18 เพิ่ม ไข่ ตับ ปลา และเต้าหู้ได้บ่อยขึ้น หรือสัปดาห์ละ 1-2 ครั้ง ค่าบริหารจัดการ เช่น ค่าจ้างแม่ครัว ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าขยะ การพัฒนาทักษะบุคลากร ค่าอาหาร 15 บาท ค่าบริหารจัดการ 5 บาท
โรงเรียนใช้ Thai School Lunch & พัฒนาคุณภาพอาหาร ตามแนวทางการบริหารจัดการที่ดี 8 ขั้นตอน www.thaischoollunch.in.th
แผนภูมิการบริหารจัดการอาหารในโรงเรียน : เขตสุขภาพที่ 5 1. สำรวจสถานการณ์อาหาร ภาวะสุขภาพนักเรียน และ สร้างความเข้าใจเรื่อง อาหารและโภชนาการ ระหว่างครู แม่ครัว แกนนำ นักเรียน และผู้ปกครอง 2. จัดทำรายการอาหารหมุนเวียนอย่าง น้อย 1 เดือน ที่สอดคล้องกับภาวะ สุขภาพนักเรียน กำหนดปริมาณ วัตถุดิบอาหาร ราคาอาหาร ปริมาณ พลังงานและสารอาหารเหมาะสมตาม วัย โดยใช้ Thai School Lunch Program 3. จัดทำทะเบียนวัตถุดิบอาหารที่ ต้องการใช้ใน 1 เดือน สอดคล้องกับผลผลิตเกษตร ปลอดภัยในโรงเรียน ชุมชน และ ครัวเรือนตามฤดูกาล สร้าง เศรษฐกิจชุมชนและความมั่นคง ทางอาหารอย่างยั่งยืน 4. จัดซื้อวัตถุดิบอาหารตาม รายการ และปริมาณที่กำหนด โดยมีแกนนำชุมชน/ ผู้ปกครอง/ประชารัฐร่วมเป็น คณะกรรมการจัดซื้อ/ตรวจรับ และตรวจสอบคุณภาพอาหาร ทุกครั้ง ปรุง ประกอบอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ สุขาภิบาลอาหาร และอาหาร ปลอดภัย แม่ครัว : ได้รับการอบรมด้านการจัดการอาหารและโภชนาการปีละ 1 ครั้ง : ได้รับการตรวจสุขภาพประจำปีด้านการสัมผัสอาหารทุกปี 6. ตักอาหารให้เด็กมี สัดส่วนและปริมาณที่ เพียงพอตามคำแนะนำใน ธงโภชนาการ และใช้ อุปกรณ์การบรรจุอาหารที่ ถูกหลักสุขาภิบาลอาหาร และอาหารปลอดภัย 7. บูรณาการและสอดแทรก ความรู้ด้านอาหารและ โภชนาการสู่หลักสูตรการ เรียนการสอนทั้งในและนอก ห้องเรียน เพื่อส่งเสริมความรู้ ทักษะ และปรับพฤติกรรมการ กินของเด็ก 8. ประเมินผลคุณภาพอาหารที่ เชื่อมโยงกับข้อมูลพฤติกรรมการกิน ภาวะโภชนาการ และสุขภาพของเด็ก อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง โดยชุมชนมี ส่วนร่วม และนำผลการประเมินสื่อสาร สู่สังคม และพัฒนางาน
คณะรัฐมนตรีมีมติ เห็นชอบ การขับเคลื่อนนโยบายเพิ่มค่าอาหารกลางวันนักเรียน ปี 55 - 56 คณะรัฐมนตรีมีมติ เห็นชอบ เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2556 : เรื่อง การตั้งงบประมาณโครงการอาหารกลางวันนักเรียน ตามภาวะเศรษฐกิจ จากอัตรา 13 บาทต่อคนต่อวัน เป็น 20 บาทต่อคนต่อวัน โดยใช้งบประมาณทั้งสิ้น 24,775,999,200 บาท ส่งผลให้ นักเรียนได้รับประโยชน์ จำนวน 5,800,469 คน โดยมอบหมายให้กระทรวงสาธารณสุข ร่วมกับกระทรวงศึกษาธิการ ควบคุม กำกับ และประเมินคุณภาพ อาหารและโภชนาการ
จัดเมนูอาหาร ได้หลากหลาย ปี 57 - 61 ผลการประเมินคุณภาพอาหารกลางวันมีแนวโน้มดีขึ้น แต่ยังต่ำกว่ามาตรฐานที่ Commitment กับ ครม. จัดปริมาณ&ความถี่อาหารได้ตาม ธงโภชนาการ จัดเมนูอาหาร ได้หลากหลาย ปริมาณพลังงานและสารอาหารครบถ้วน หรืออย่างน้อย 70%ต่อมื้อ อาหารกลางวัน 20 บาท จัดผักผลไม้ ได้ทุกวัน หรือ 3 วันต่อสัปดาห์ ปริมาณพลังงานและสารอาหารมื้อกลางวันควรได้รับ40% ต่อวัน พลังงาน (kgcal) 600 แคลเซียม (mg) 360 วิตามินบี 1 (mg) 0.3 เหล็ก (mg) 5.5 วิตามินเอ (µgRE) 215 วิตามินซี (mg) 18 เพิ่ม ไข่ ตับ ปลา และเต้าหู้ได้บ่อยขึ้น หรือสัปดาห์ละ 1-2 ครั้ง ค่าบริหารจัดการ เช่น ค่าจ้างแม่ครัว ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าขยะ การพัฒนาทักษะบุคลากร ค่าอาหาร 15 บาท ค่าบริหารจัดการ 5 บาท
เทียบเคียงผลลัพธ์กับประเทศญี่ปุ่น ยังต่ำกว่ามาตรฐาน Japan 73 ปี Thailand 66 ปี โครงการอาหารกลางวันนักเรียน IQ > 100 IQ < 100 IQ มาตรฐานอาหารกลางวัน มาตรฐาน เด็ก อ้วน ผอม เตี้ย มาตรฐาน ปี 60 - 61 เริ่มมีการเคลื่อนไหว ควรผลักดันให้มีนักโภชนาการประจำตำบล /โรงเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ >15% /ค่าอาหาร
ข้อควรรู้ในการใช้ Thai School Lunch : TSL ถ้าจะนำไปเป็นรายการขออนุมัติเบิก-จ่าย ต้องใช้ราคาอาหาร ณ วันที่ จัดซื้อ/จัดจ้าง เนื่องจากราคาอาหาร/ชนิดอาหารมีการปรับ ในกรณีจ้างเหมาบริการ โรงเรียนควรจัดทำเมนูอาหารหมุนเวียน 1 เดือนโดยใช้ TSL เป็น TOR ในการจ้างเหมาบริการ โดย รร.ควบคุมคุณภาพอาหาร ควรจัดทำเมนูอาหารให้สอดคล้องกับผลผลิตทางการเกษตรของโรงเรียน / ชุมชน เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ และเศรษฐกิจชุมชน 4. ควรประเมินคุณภาพอาหารกลางวัน เอย่างน้อย เทอมละ 1 ครั้ง