บทที่ 9 : วิดีโอ (Video) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Chapter 6 : Video.
Advertisements

การผลิตบ่อพัก ทำเอง ใช้เอง หจก. มภัสกาญ คอนสตรัคชั่น
เรื่อง แนวทางการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
HP- HP Pavilion dv6-3022TX ราคา 59,900 บาท. CPU : Intel Core i7-720QM (1.60GHz/L3 6 MB/QPI) Memory : 8GB DDR3 Harddisk : 640 GB 5400RPM Graphics : ATi.
วิทยาลัยเทคโนโลยีกิตติบริหารธุรกิจ Kitti Business Administration Technological College ชื่อเรื่อง “พฤติกรรมการใช้โปรแกรม Microsoft Office ของ นักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ.
เรื่อง เทคโนโลยีบอรดแบนด์ไร้สาย
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
Sc B011 Software ที่สนใจ. sc B012 VCD Cutter โปรแกรม ตัด - ต่อ VCD เฉพาะส่วนที่ ต้องการแบบง่าย ๆ.
การเผยแพร่เอกสาร (Publish)
สิ่งที่ได้จากการ เรียนรู้ วิชาโปรแกรมประยุกต์. เสนอ อาจารย์ สมร ตาระ พันธ์
บทที่ 4 การนำเสนองาน.
Adobe Photoshop ลักษณะ Software ที่ฉันชอบ ลักษณะ Software ที่ฉันชอบ วิธีการใช้งานโปรแกรม Adobe Photoshop วิธีการใช้งานโปรแกรม Adobe Photoshop เหตุผลที่ชอบ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
การสื่อสารข้อมูล.
กลุ่ม 6 ผลการประชุมระดมความ คิดเห็น เพื่อกำหนดทิศทางก้าวใหม่ ในการให้บริการ : ฝึกอบรมนักวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบัติการ.
เทคโนโลยีสื่อประสม Multimedia Technology
โปรแกรมสต๊อกสินค้า และ โปรแกรมขายหน้าร้าน Nanosoft Smart INV.NET วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปและการ ประยุกต์ใช้งาน อ. วิสุตร์ เพชรรัตน์
AcuLearn กับงานบริการด้านการ เรียนการสอน กองเทคโนโลยี สารสนเทศ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
บทที่ 5 ระบบหน่วยความจำ. หน่วยความจำเป็นแหล่งจัดเก็บข้อมูล และ เป็นพื้นที่ที่ใช้สำหรับประมวลผล หน่วยความจำหลัก (RAM) ต้องทำงาน ด้วยการใช้กระแสไฟฟ้าเลี้ยงตลอดเวลา.
บทที่ 9 : วิดีโอ (Video). Outline  ทำความรู้จักกับวิดีโอ  ชนิดของวิดีโอ  สายส่งสัญญาณวิดีโอ  มาตรฐานการแพร่ภาพวิดีโอ  สื่อสำหรับบันทึกวิดีโอที่ใช้งานอยู่
Input Output อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ เสนอ อ. อภิเดช จิตมุ่ง โดย นางสาว ผกาวดี ช่วงชุณส่อง เลขที่ 43 นางสาว ธนาภรณ์ คำเรือง เลขที่ 39 นางสาว ณัฐวรรณ ห่วงกลาง.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่าย. สัญญาณอิเล็คทรอนิกส์ อนาล็อก (ANALOG) สัญญาณมีความต่อเนื่อง ถูกรบกวนได้ง่าย มี Noise มาก.
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
เทคนิคการสร้าง ภาพเคลื่อนไหว คอมพิวเตอร์ Computer Animation ง
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
ระบบสื่อประสม วิวัฒนาการและองค์ประกอบ
สื่อประสมเบื้องต้น.
บทที่ 8 : วิดีโอ (Video) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 6 การผลิตสื่อผสมเพื่อการนำเสนอทางด้านวิชาชีพพยาบาล : รู้จักกับสื่อผสม พย การสื่อสารและสารสนเทศทางการพยาบาล.
วิดีโอ (Video Media).
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 8 : TCP/IP และอินเทอร์เน็ต Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
องค์ประกอบและเทคนิคการทำงาน
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 07 : Windows Movie Maker Part 2 พท 260 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางการท่องเที่ยว อาจารย์อภิพงศ์
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
บทที่ 1 : Introduction to Multimedia สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 7 : TCP/IP และอินเทอร์เน็ต Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 5 : การตรวจจับข้อผิดพลาด การควบคุมการไหลของข้อมูล และการควบคุมข้อผิดพลาด Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
เซอร์กิตสวิตชิงและแพ๊คเก็ตสวิตชิง (Circuit Switching and Packet Switching ) อ.ธนากร อุยพานิชย์
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 12 : การประพันธ์สื่อมัลติมีเดีย (Multimedia Authoring) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 10 : การบีบอัดข้อมูล (Data Compression) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 11 : การบีบอัดข้อมูล (Data Compression) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
Integrated Information Technology
Visual Communication for Advertising Week2-4
วิทยุโทรทัศน์เกิดจากความคิดสร้างสรรค์ของนักวิทยาศาสตร์ ที่ต้องการให้คนที่อยู่ไกลๆ สามารถมองเห็นภาพเหตุการณ์ ที่เกิดขึ้น.
Basic Input Output System
การบริหารจัดการเว็บไซต์หน่วยงานในสังกัดกรมปศุสัตว์
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
การศึกษาการเคลื่อนที่เชิงอนุภาค
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
คณะทำงานขับเคลื่อนงานโภชนาการ (สูงดีสมส่วน)
บทที่ 6 แนวคิดเทคโนโลยีเสมือนจริง
ภัยคุกคาม ที่เกิดขึ้นในระบบสารสนเทศ
SMS News Distribute Service
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
สินค้าและบริการ.
เสียงในภาษา วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ครูกิ่งกาญจน์ สมจิตต์
การสร้างสื่อประสมบทเรียนช่วยสอน Multimedia ผ่าน Internet
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
นางสาววิภัทรา จันทร์แดง เลขที่ 31 ม.4.2
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
การค้นหาข้อมูลวิจัย ครั้งที่ 1
บทที่ 5 ปฏิบัติการที่ 5.2 : การสร้างแผ่นพับด้วย MS Publisher
การถ่ายภาพวิดีทัศน์เพื่องานวิทยุโทรทัศน์ (Videography for Television )
การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 9 : วิดีโอ (Video) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com

Outline ทำความรู้จักกับวิดีโอ ชนิดของวิดีโอ สายส่งสัญญาณวิดีโอ มาตรฐานการแพร่ภาพวิดีโอ สื่อสำหรับบันทึกวิดีโอที่ใช้งานอยู่ ในปัจจุบัน รูปแบบไฟล์วิดีโอ ซอฟต์แวร์สำหรับเล่นและตัดต่อ ไฟล์วิดีโอ

ทำความรู้จักกับวิดีโอ วิดีโอเป็นองค์ประกอบสำคัญของ มัลติมีเดีย และมีประสิทธิภาพสูง เนื่องจากสามารถนำเสนอข้อมูลให้ น่าสนใจหรือเรียนรู้ได้เป็นอย่างดี ข้อดีที่สุดของวีดีโอคือสามารถแสดง ผลได้ทั้งภาพและเสียงไปพร้อมๆกัน ซึ่งใกล้เคียงกับธรรมชาติของการรับรู้ มากที่สุด วีดีโอประกอบไปด้วยเซ็ตของภาพนิ่ง เรียงร้อยต่อกันเป็นเฟรมแล้วแสดงผล ต่อเนื่องด้วยความเร็วที่กำหนด

ทำความรู้จักกับวิดีโอ [2] วีดีโอต่างกับแอนิเมชั่นตรงที่วิดีโอจะ ใช้กล้องบันทึกภาพจริงที่มีการ เคลื่อนไหว แต่แอนิเมชั่นเป็นภาพที่ เกิดจากการวาดหรือซอฟต์แวร์ ซึ่ง สื่อทั้งสองอย่างมีแนวคิดเดียวกัน

ทำความรู้จักกับวิดีโอ [3] ขั้นตอนการผลิตวิดีโอ วางแผน ถ่ายทำ จัดเก็บ ตัดต่อ ทำสื่อประสม

ทำความรู้จักกับวิดีโอ [4] การวัดคุณภาพของวิดีโอ สามารถวัด ได้จาก เฟรมเรต (Frame Rate) คืออัตรา ความถี่ในการแสดงภาพ มีหน่วย เป็นเฟรมต่อวินาที (fps) ความละเอียด (Resolution) คือ ความคมชัดของภาพที่แสดงผล

ชนิดของวิดีโอ วีดีโอที่ใช้งานในอดีตและปัจจุบันมีอยู่ 2 ชนิด คือ วีดีโอที่ใช้งานในอดีตและปัจจุบันมีอยู่ 2 ชนิด คือ Analog Video บันทึกวีดีโอด้วย วีดีโอเทป ซึ่งใช้โหมดสี RGB ใน การบันทึก แต่เมื่อคัดลอกข้อมูลแล้ว จะทำให้คุณภาพวิดีโอลดลง ปัจจุบัน ไม่เป็นที่นิยมแล้ว Digital Video ได้จากการบันทึกด้วย กล้องดิจิตอล ข้อมูลที่ได้จากกล้อง ดิจิตอลจะคมชัดเหมือนต้นฉบับ มี ประสิทธิภาพของวิดีโอมากกว่าแบบ อนาล็อก เป็นที่นิยมใช้งานใน ปัจจุบัน

ผลการเปรียบวิดีโอแบบอนาล็อกและดิจิตอล

สายส่งสัญญาณวิดีโอ สาย Component Video สาย Composite Audio/Video สาย S-Video สาย HDMI

1. Component 2. Composite 3. S-Video 4. HDMI

มาตรฐานการแพร่ภาพวิดีโอ NTSC (National Television System Committee) เป็นหน่วยงานกำหนด มาตรฐานที่เกี่ยวกับการกระจาย สัญญาณโทรทัศน์ จัดตั้งในปี 1940 แสดงผลที่ 30 fps PAL (Phase Alternate Line) เป็น มาตรฐานการกระจายสัญญาณ โทรทัศน์ในประเทศไทย แสดงผลที่ 25 fps SECAM (Sequential Color and Memory) ใช้ในแถบยุโรป แสดงผลที่ 25 fps HDTV (High Definition Television) เป็นเทคโนโลยีการแพร่ภาพด้วย สัญญาณดิจิตอลที่มีความละเอียดสูง

มาตรฐานการกระจายสัญญาณโทรทัศน์แบบอนาล็อกทั่วโลก ในช่วงปี 2000

ความละเอียดของมาตรฐานวีดีโอแบบต่างๆ

สื่อสำหรับบันทึกวิดีโอที่ใช้งานอยู่ในปัจจุบัน VCD (Video Compact Disk) พัฒนาใน ปี 1993 เก็บข้อมูลวิดีโอในรูป MPEG- 1 และเข้ารหัสเสียงแบบ MPEG-2 สามารถบันทึกวิดีโอได้ 74 นาที DVD Video เป็นมาตรฐานที่ใช้บันทึกทั้ง ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียงที่มี คุณภาพสูงกว่า VCD ความจุสูงสุด 17 GB HD-DVD เป็นดิสก์สำหรับบันทึกวิดีโอ ความคมชัดสูง มีความจุ 15 GB, 30 GB และ 45 GB Blu-ray Disc เป็นดิสก์สำหรับบันทึก ข้อมูลและวิดีโอที่มีคุณภาพสูง โดยใช้ เลเซอร์สีฟ้า สามารถบันทึกข้อมูลได้ 25 GB และ 50 GB

รูปแบบไฟล์วิดีโอ AVI (Audio/Video Interleave) พัฒนาโดย Microsoft สามารถจัดเก็บ ได้ทั้งไฟล์วิดีโอและเสียง ซึ่งแสดงผล ได้อย่างสอดคล้องกัน แต่ไฟล์จะมี ขนาดใหญ่เพราะไม่มีการบีบอัดข้อมูล MOV (QuickTime Movie) พัฒนา โดย Apple มีการใช้งานกว้างขวาง เพราะสามารถดาวน์โหลดจาก อินเทอร์เน็ตได้ เป็นพื้นฐานของไฟล์ MPEG-4

รูปแบบไฟล์วิดีโอ [2] MPEG (Motion Picture Expert Group) เป็นรูปแบบที่มีการบีบอัดไฟล์ ให้มีขนาดเล็กลง เป็นไฟล์ที่มี หลากหลายรูปแบบ รูปแบบที่นิยมคือ MPEG-4 RM (Real Media) นำไปใช้บน เว็บไซต์ รองรับการส่งข้อมูลแบบ สตรีมมิ่งโดยใช้โปรแกรม Real Player WMV (Windows Media Video) พัฒนาโดย Microsoft เป็นรูปแบบ มาตรฐานในโปรแกรมต่างๆของ Microsoft

ไอคอนของรูปแบบไฟล์วิดีโอต่างๆ

ซอฟต์แวร์สำหรับเล่นและตัดต่อไฟล์วิดีโอ ซอฟต์แวร์สำหรับเล่นวิดีโอ Windows Media Player ของ Microsoft RealPlayer ของ Real Player QuickTime ของ Apple GOM Player (Gretech Online Movie Player) ซอฟต์แวร์สำหรับตัดต่อวิดีโอ Corel VideoStudio (สมัยก่อนใช้ชื่อ Ulead ปัจจุบันเป็น Version X8) Sony Vegas (ปัจจุบันเป็น Version 13) Adobe Premiere (ปัจจุบัน Version CC 2015) Windows Movie Maker (เป็นโปรแกรมฟรี หยุดพัฒนาในปี 2012)

โลโก้ซอฟต์แวร์ที่ใช้เล่นและตัดต่อวิดีโอ