Introduction to RISK MANAGEMENT แนวคิดเบื้องต้นของการจัดการความ เสี่ยง
อะไรคือความเสี่ยง
อะไรคือความเสี่ยง เสี่ยงมาก = เสียวมาก ถ้าทำไปเสียวไป : นั่นไม่ใช่การจัดการ ถ้าทำไปเสียวไป : คือการถูกจัดการ
ความเสี่ยง (risk) ตามมาตรฐานสากล ISO31000 ผลของความไม่แน่นอน (effect of uncertainty) หมายเหตุ 1 ผลคือการเบี่ยงเบนไปจากสิ่งที่คาดหวังไว้ทั้งที่ดี หรือไม่ดี หมายเหตุ 2 ความไม่แน่นอน เป็นการระบุ แม้ว่าบางส่วนของ ข้อบกพร่อง สารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับความเข้าใจหรือความรู้ ของสถานการณ์ ผลกระทบที่ตามมา หรือโอกาสการเกิด หมายเหตุ 3 ความเสี่ยงมักจะแบ่งแยกโดยอ้างอิงถึงเหตุการณ์ ที่อาจจะเกิดขึ้น (Guide 73:2009 ข้อ 3.5.1.3) และผลกระทบ ที่เกิดขึ้นตามมา (Guide 73 ข้อ 3.6.1.3) หรือสองอย่างนี้ รวมกัน หมายเหตุ 4 ความเสี่ยงมักจะแสดงออกในรูปของผลรวมของ ผลสืบเนื่องจากเหตุการณ์ (รวมถึงการเปลี่ยนแปลงของ สถานการณ์กับโอกาสที่จะเกิดขึ้น (Guide 73:2009 ข้อ 3.6.1.1) หมายเหตุ 5 ความเสี่ยง มักบางครั้งใช้เมื่อมีความเป็นไปได้ ในผลกระทบด้านลบที่ตามมา Getting the result in a uncertain world.
ความเสี่ยง (risk) ผลกระทบ ความน่าจะเป็น เหตุการณ์
Risk Base Thinking คือการขจัดสาเหตุของสิ่งที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนดที่มีนัยยะ (Preventive Action) ก่อนจะเกิด ความเสี่ยง Effect Uncertainly ที่ส่งผลให้เกิดการเบี่ยงเบนไปจากสิ่งที่คาดหวัง ความไม่แน่นอน การเขียนเพื่อระบุ Event ที่ส่งผลให้ สถานการณ์...ความไม่แน่นอนใด ที่อาจเกิด ส่งผลต่ออะไร/อย่างไร
อะไรคือความเสี่ยง Risk (ความเสี่ยง) = effect of uncertainty (ผลของความไม่แน่นอน (ไม่ชัวร์)) ความเสี่ยง คือ ผลความไม่ชัวร์ อะไรบ้างที่ไม่ชัวร์ที่บริษัทคุณ ที่กระบวนการ คุณ ที่ผลิตภัณฑ์คุณ... ไม่ชัวร์แล้วส่งผลอย่างไร สิ่งที่คาดหวังไว้.....
การหาความเสี่ยง คือการคาดเดาสาเหตุที่เป็นไปได้ และหามาตรการควบคุม/ลด ก่อนที่จะเกิด การดำเนินการแก้ไข น้ำหนักที่บรรจุแตกต่างจากน้ำหนักจริง กำหนดการชั่งน้ำหนักวัตถุดิบตามสูตรทุกครั้ง พนักงานขาดความรอบคอบในการเตรียมวัตถุดิบ ปรับปรุงแบบฟอร์มการผสม กำหนดวิธีการทำงานให้ชัดเจนขึ้น Pigment ค้างขอบถังผสม กำหนดให้ใส่ pigment ตรงกลางถังทุกครั้ง น้ำมันรั่วที่เครื่องผสม กำหนดจุดตรวจสอบเครื่องจักรประจำวัน ไม่ตรวจเช็คการเข้ากันของสีหลังผสม กำหนดวิธีการตรวจเช็ค ชี้แจงและอบรมพนักงาน
การหาความเสี่ยง S x O x D = RPN ตัวอย่างการหาค่า RPN (Risk Priority Number) S x O x D = RPN S: Severity O: Occurrence D: Detectability
อันดับความสำคัญของความเสี่ยง การหาความเสี่ยง อันดับความสำคัญของความเสี่ยง ความเสี่ยง คะแนนความเสี่ยง ลำดับความเสี่ยง 1 ปริมาณวัตถุดิบไม่เพียงพอต่อความต้องการ 11.75 สูง/มาก 2 ราคาวัตถุดิบสูง 11.32 3 คุณภาพของวัตถุดิบไม่ได้มาตรฐานตามที่กำหนด 10.86 4 ความต้องการของลูกค้า เช่น ลูกค้ากลุ่มเดิมลดลง ไม่มีลูกค้ากลุ่มใหม่ทดแทน 10.44 5 การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้บริโภค กลุ่มเป้าหมาย เช่น ผู้บริโภคเน้นอาหารเพื่อสุขภาพมากยิ่งขึ้น 10.14 6 คู่แข่งจากอุตสาหกรรมสินค้าทดแทน 9.70 ปานกลาง 7 ด้านเศรษฐกิจ เช่น อัตราแลกเปลี่ยนสกุลเงิน ราคาเชื้อน้ำมันเชื้อเพลิง ดัชนีค่าครองชีพ 8.42 8 คู่แข่งภายในอุตสาหกรรมเดียวกัน 6.62 9 องค์กรมีผลิตภัณฑ์ใหม่ออกสู่ตลาดน้อย 6.48 10 องค์กรไม่มีการเปิดกลุ่มตลาดใหม่ และกลุ่มตลาดเดิมมียอดขายลดลง 6.35
ขั้นตอนการจัดการความเสี่ยง 1.วางแผน 2.ระบุสถานการณ์ 3.วิเคราะห์และประเมินความเสี่ยง 4.กำหนดมาตรการควบคุม 5.ติดตามและปิด 28
สัญญาณอะไรที่แสดงว่าองค์กรคุณมี วัฒนธรรมการทำงานโดยคิดถึงความเสี่ยง? 29
แหล่งความเสี่ยง องค์กร โครงการ สภาพแวดล้อม การเงิน กฎหมาย ต้นทุน คุณภาพ การจัดการ ความปลอดภัย สิ่งแวดล้อม บุคคล พนักงาน ผู้บริหาร กระบวนการ โครงการ เครื่องจักร สภาพแวดล้อม วัตถุดิบ ผู้ส่งมอบภายนอก 30
สรุปเกณฑ์ที่ใช้ ในการประเมินความเสี่ยง ความถี่? ความรุนแรง? แค่ไหนต้องจัดการ อย่างไรถี่ อย่างไรห่าง อย่างไรกระทบแรง อย่างไรเบาๆ 33
การจัดทำกระบวนการบริหารความเสี่ยง Risk มาแทน Prevention Action !! การปฏิบัติการป้องกัน (Preventive action) องค์กรต้องกำหนดการปฏิบัติการป้องกัน เพื่อขจัดสาเหตุของสิ่ง ที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนดที่ซ่อนแฝงอยู่ เพื่อป้องกันการเกิดขึ้น ของสิ่งที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนดการปฏิบัติการป้องกันต้องให้ เหมาะสมกับผลกระทบของปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้น องค์กรต้องจัดทำเอกสารระเบียบปฏิบัติเพื่อระบุข้อกำหนดสำหรับ a) การหาสิ่งที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนดที่อาจจะเกิดขึ้นและ สาเหตุ b) การประเมินความจำเป็นในการป้องกันการเกิดของสิ่งที่ ไม่เป็นไปตามข้อกำหนด c) การกำหนดมาตรการและดำเนินการป้องกันที่จำเป็น d) บันทึกผลของกิจกรรมการดำเนินการป้องกัน e) การทบทวนประสิทธิผลการปฏิบัติการป้องกันที่ได้ ดำเนินการไป 34
ขั้นตอนการจัดการความเสี่ยง 1.วางแผน 2.ระบุสถานการณ์ 3.วิเคราะห์และประเมินความเสี่ยง 4.กำหนดมาตรการควบคุม 5.ติดตามและปิด 35
2. การชี้บ่งแหล่งและสถานการณ์ความเสี่ยง เครื่องมือในการสร้างหรือปรับปรุงทะเบียนความ เสี่ยง ต้อง(คิด)กำหนดสถานการณ์? (จำลอง) เครื่องมือสร้างจินตนาการ (ให้คิดเห็นภาพ) SWOT Brainstorming Cause and Effect/Fishbone Diagram 36
3. การวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยง เครื่องมือที่ช่วยในการประเมินความเสี่ยง : ตารางประเมินความเสี่ยง (Risk Impact Grid) โอกาสที่จะเกิด ผลกระทบ 43
เครื่องมือวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยง Basic Risk Management Facilitation Methods Flowcharts, Check Sheets, Process Mapping, Cause and Effect Diagrams Failure Mode Effects Analysis (FMEA) Breakdown of the analysis of complex processes into manageable steps Fault Tree Analysis (FTA) Fault modes are described with logical operators (AND, OR, etc.) Hazard Analysis and Critical Control Points (HACCP) Hazard analysis with critical control points, limits, and monitoring Hazard Operability Analysis (HAZOP) Systematic brainstorming identifying hazards using guide words Preliminary Hazard Analysis (PHA) Possibilities the risk event occurs Risk Ranking and Filtering Risk comparison and prioritization Supporting Statistical Tools Control charts, design of experiments, histograms, Pareto charts, process capability analysis 48
กำหนดการ vs เทคนิควิธีการ vs ค่าใช้จ่าย 4. การกำหนดมาตรการควบคุม Risk is all around Critical Significant Insignificant กำหนดการ vs เทคนิควิธีการ vs ค่าใช้จ่าย 53
5. การติดตามและปิด เริ่มอย่างง่ายๆ 56 การประเมินความเสี่ยง 1. ทำผังกระบวนการ 2. ทำการระบุและประเมินความเสี่ยง 3. กำหนดลำดับความสำคัญ การควบคุม และ เฝ้าติดตาม สำหรับ ความเสี่ยงที่แน่นอน • Checklist • อบรม • ระบบสำรอง • ระบบ ระเบียบปฏิบัติ สำหรับ ความเสี่ยงที่ไม่แน่นอน • ระบบเตือน /เฝ้าระวังติดตาม KPI / Sensor / Detector การ ประชุม • ตรวจสอบ ตรวจประเมิน การสื่อสารความเสี่ยง แผนการควบคุมความเสี่ยง การนำระบบ ระเบียบไปปฏิบัติ Action plan 56