การพัฒนา. การสาธารณสุขไทย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ของเทศบาลตำบลหนองไผ่ อ.เมือง จ.อุดรธานี
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
คณะกรรมการปรับปรุงยุทธศาสตร์ฯ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
SP สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
เทศบาลเมืองวังน้ำเย็น อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
Design by Agri - Map สำนักงานชลประทานที่ ๘.
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
อดีต ปัจจุบัน อนาคต ของเอชไอวี ในประเทศไทย
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข โซน3 จังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 ด้วยความยินดียิ่ง.
กิจกรรมหลัก ภาคกลาง 12กันยายน 2560
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพ จังหวัดน่าน
การดำเนินงานเชิงรุก โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
ตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
องค์กรต้นแบบอนามัยไร้พุง ปี 2552
ระบบบริการปฐมภูมิและสุขภาพอำเภอ
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
PRIMARY CARE PRIMARY CARE Primary care.
ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพ และ วิถีชีวิตเพื่อสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนา. การสาธารณสุขไทย การพัฒนา..การสาธารณสุขไทย.. บริการสุขภาพปฐมภูมิ กับ การพัฒนาแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว Primary Care in Thailand : Now and Future น.พ.สุเทพ วัชรปิยานันทน์ สาธารณสุขนิเทศก์

ยุคสมัย.. แห่งการสาธารณสุขไทย

“รักษาฟรี ผู้มีรายได้น้อย”                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                         โรคเท้าช้างเป็นโรคที่เกิดจากหนอนพยาธิตัวกลมฟิลาเรีย มีลักษณะคล้ายเส้นด้ายอาศัยอยู่ในระบบน้ำเหลืองของคน โดยมียุงเป็นพาหะนำโรค มีอาการที่เห็นได้ชัด คือ ขา แขน หรืออวัยวะเพศบวมโตผิดปกติ เนื่อง ยุคที่ 1 ยุคโรคติดต่อระบาด ปี 2511 สำนักงานผดุงครรภ์ ปี 2517 สุขศาลา ปี 2518 ประกาศ นโยบาย “รักษาฟรี ผู้มีรายได้น้อย”

ทศวรรษ...พัฒนาสถานีอนามัย ปี 2527 สถานีอนามัย ทศวรรษ...พัฒนาสถานีอนามัย ปี 2535

หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปี 2545-2546 หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 30 บาทรักษาทุกโรค

ปี 2553 รพ.สต.

2521 ยุคสาธารณสุขมูลฐาน ยุคที่ 2 สสม. รณรงค์สร้างส้วม ภาวะโภชนาการในเด็ก

N = Nutrition E = Education W = Water Supply S = Sanitation Primary Health Care 8 Elements N = Nutrition E = Education W = Water Supply S = Sanitation

T = Treatment of Common Diseases E = Essential Drugs 2521 สสม. Primary Health care 8 Elements I = Immunization T = Treatment of Common Diseases E = Essential Drugs M = Maternal and Child Health

ปีแห่งการณรงค์คุณภาพชีวิต 2528-2530 เกิด ปีแห่งการณรงค์คุณภาพชีวิต จปฐ. กม. กสต. คปต.

ประชุม ณ ประเทศ แคนาดา เกิด “Ottawa Charter” 2539 ประชุม ณ ประเทศ แคนาดา เกิด “Ottawa Charter” 2543 Health For All สุขภาพดีถ้วนหน้า

ยุค “สร้างเสริมสุขภาพ” ยุคที่ 3 ยุค “สร้างเสริมสุขภาพ” NCD

“ส่งเสริมสุขภาพโลก ครั้งที่ 6” 2548 เจ้าภาพจัดประชุม “ส่งเสริมสุขภาพโลก ครั้งที่ 6” สิงหาคม 2548 The Bangkok Charter for Health Promotion in a Globalized World

วิวัฒนาการสุขภาพ Phase 1 Mortality Program ใช้การแพทย์แก้ปัญหา Phase 2 Morbidity Program ใช้การสาธารณสุขแก้ปัญหา Phase 3 Beyond Morbidity Program ใช้พฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์แก้ปัญหา

ความเชื่อมโยงและพลวัตเกี่ยวกับสุขภาพ กายภาพ/ชีวภาพ นโยบายสาธารณะ กรรมพันธุ์ เศรษฐกิจ/การเมือง พฤติกรรม วัฒนธรรม/ศาสนา ประชากร/การศึกษา ความเชื่อ ปัจเจกบุคคล สภาพแวดล้อม ความมั่นคง จิตวิญญาณ การสื่อสาร/คมนาคม วิถีชีวิต สุขภาพ เทคโนโลยี/องค์ความรู้ การแพทย์&สาธารณสุข กระแสหลัก ระบบบริการ สาธารณสุข บริการส่งเสริม&ป้องกัน&รักษา&ฟื้นฟู การแพทย์แผนไทย&พื้นบ้าน การแพทย์ทางเลือกอื่น ๆ พลวัต

ระบบสุขภาพ ระบบสาธารณสุข ระบบ บริการทาง การแพทย์

“อยู่เย็น-เป็นสุข” สุขภาพ VS. ทุกขภาพ สุขภาพ & สุขภาวะ ทุกขภาพ & ทุกขภาวะ คน ครอบครัว ชุมชน สังคม สุขภาพดี & มีคุณภาพชีวิต ป่วย & ตาย ด้วยเหตุไม่สมควร เครียด บีบคั้น เห็นแก่ตัว อ่อนแอ แตกแยก ล่มสลาย ตัวใครตัวมัน สิ่งแวดล้อม&สภาพแวดล้อมแย่ “อยู่ร้อน - นอนทุกข์” “อยู่เย็น-เป็นสุข”

สุขภาพ : สุขภาวะ สังคม จิต กาย บุคคล ครอบครัว ชุมชน สังคม สร้างเสริม ป้องกัน จิตวิญญาณ (ปัญญา) รักษา สังคม ฟื้นฟู จิต กาย สุขภาพ : สุขภาวะ

การนำนโยบายมาปฏิบัติเพื่อแก้ไขปัญหาสาธารณสุข สุขภาพดี/สุขภาวะดี ระบบบริการสาธารณสุขที่ดี(ครอบคลุม และมีคุณภาพ) ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพดี (ปชช.มีศักยภาพ/ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ) Primary Health Care (PHC) Basic Health Service (BHS) Service Oriented Service Plan เขต เน้น - 1° care - รพ.สต. - 1° care เขตเมือง:ศสม. ใช้ “ Family Medicine” พัฒนาคุณภาพบริการ/ ส่งต่อ -Development Oriented -แผนชุมชน/องค์กร ใช้ SRM/ค่ากลาง -กองทุนสุขภาพตำบล -โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพ (รน.สช.) -พัฒนา อสม. ต้นแบบ -ถอดบทเรียนการทำงานชุมชน

การพัฒนาแพทย์ด้านเวชศาสตร์ครอบครัว

การฝึกอบรมเพื่อพัฒนาแพทย์ด้านเวชศาสตร์ครอบครัว โครงการ คุณสมบัติ สถาบันฝึกอบรม ระยะเวลา/เงื่อนไข ปีที่ดำเนินการ หมายเหตุ Formal training program (แพทย์ประจำบ้าน) ปฏิบัติราชการชดใช้ทุนแล้วไม่น้อยกว่า 1 ปี สถาบันฝึกอบรมที่ผ่านการรับรอง 3 ปี/ วุฒิบัตร 2543 ลาศึกษา/ฝึกอบรม/อิสระ In-service Family Medicine Training(IFMT) และยังอยู่ระหว่างการปฏิบัติราชการชดใช้ทุน ปีที่ 2 หรือ 3 (หลัก/สมทบ) 2552-2556 -ฝึกอบรมขณะปฏิบัติงาน -ไม่ต้องลาฝึกอบรม -ได้รับทุนสนับสนุนรายเดือนจาก สปสช -ทำสัญญารับทุน -ปฏิบัติงานชดใช้ทุน 3 ปี Family Practice Learning (FPL) แพทย์ที่สนใจ รพ.ที่มีความพร้อม 1 ปี/หนังสืออนุมัติ(เมื่อมีคุณสมบัติครบ) 2555- -ฝึกอบรมเพิ่มประสบการณ์เวชปฏิบัติครอบครัวขณะปฏิบัติงาน โครงการพัฒนาแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวภายใต้โครงการปฏิบัติงานเพื่อการสอบวุฒิบัตรฯNFMT=New Graduate Family Medicine Training แพทย์จบใหม่ 2555-2559 -พัฒนาต่อยอดจาก FPL

แนวทางการพัฒนาในอนาคต ๑.ริเริ่ม “โครงการทศวรรษพัฒนาแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว ทั่วแผ่นดิน” ระยะเวลา 10 ปี (พ.ศ. 2557-2566) ๒.ผลักดันนโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว ระดับชาติควบคู่กับการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิทั้งระบบ ๓.กำหนดเป้าหมายและพันธกิจในการส่งเสริมระบบการดูแลสุขภาพโดยแพทย์ ประจำครอบครัวเป็นแผนระยะยาวให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ รวมทั้ง การของบประมาณสนับสนุนจากรัฐบาลให้เพียงพอต่อแผนงานพัฒนาแพทย์ เวชศาสตร์ ครอบครัว ๔.จัดตั้ง “คณะกรรมการระบบเวชศาสตร์ครอบครัวแห่งชาติ”