บทที่ 6 การเงินและการธนาคาร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
“กลยุทธ์การบริหารความเสี่ยง จากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ”
Advertisements

Your Investment Partner
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
ขอบเขตของการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ
1. 2 งบประมาณ ทั้งสิ้น 33, ลบ. งบประจำ ลบ. (0.37%) งบ บุคลากร ลบ. (0.25%) งบ ดำเนินงา น ลบ. (0.12%) งบลงทุน 33,
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
วิเคราะห์ พ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.2558 วิเคราะห์ พ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.2558.
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 3 ประจำเดือน มีนาคม 2558.
การพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยในไทย
โดย นายพิพัฒน์พงศ์ จิตต์เทพ
1.
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์ จังหวัด จังหวัด นราธิวาส 1.
สหกรณ์ ปี 2560 สหกรณ์ 4,629 สหกรณ์ (65%) ต้อง  สมาชิกไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 มีส่วนร่วม ในการดำเนินธุรกิจสหกรณ์  สหกรณ์มีเสถียรภาพทางการเงินในระดับ มั่นคงมาตรฐานขึ้นไป.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
บัญชี อิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต นายยงยุทธ พันตารักษ์ พัฒนาการอำเภอเมือง พิจิตร จังหวัดพิจิตร.
คำแนะนำ นายทะเบียนสหกรณ์ เรื่อง วิธีปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน พ. ศ เรื่อง วิธีปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน พ.
การจัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบ พัสดุ ประกาศคณะรักษาความรักษา ความสงบแห่งชาติ การซื้อและ การจัดจ้างด้วยระบบ อิเล็กทรอนิกส์ (e – GP) และการบริหาร งบประมาณ ขององค์กรปกครองส่วน.
บัญชีกลุ่มวิสาหกิจ ชุมชน. ประเด็นสำคัญ  การปฏิบัติการเบื้องต้นเกี่ยวกับ การเงินการบัญชี  ขั้นตอนการจัดทำบัญชี  การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับ 1. การรับเงินค่าหุ้น.
สัญญาก่อสร้าง.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
กระบวนการทางการบัญชี บันทึก  สมุดรายวันขั้นต้น
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ระบบการควบคุมภายในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
ภาพรวมและความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับความตกลง FATCA
การเงินธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1104
อยู่ระหว่างดำเนินการ
การจัดหาพัสดุในส่วนของรายจ่ายลงทุนในภาพรวม ประจำเดือนมิถุนายน 2561
เงินและหน้าที่ของเงิน
การบันทึกรายการค้าในสมุดบัญชี
1. การสอบกลางภาค วันที่ 6 ตุลาคม เวลา น. เก็บ 40 % 2
การบริหารงานคลังสาธารณะ
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
บทที่ 5 การวางแผนทางการเงิน ผศ. อรทัย รัตนานนท์ รศ.อรุณรุ่ง วงศ์กังวาน.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ระบบเศรษฐกิจ.
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์
กลุ่มเกษตรกร.
โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยางรายย่อย เพื่อประกอบอาชีพเสริม
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
ประเด็นปัญหาที่ตรวจพบจากการตรวจสอบ
สำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ สาขา 7
วิกฤตเศรษฐกิจของประเทศไทย ปี 2540
Topic 12 เงิน สถาบันการเงิน นโยบายการเงิน VS การคลังสาธารณะ(Public Finance) ผศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
Topic 11 เงินเฟ้อ เงินฝืด การว่างงาน
สรุปมาตรฐานการบัญชี เรื่อง สัญญาก่อสร้าง
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
บทที่ 9 ธนาคารกลาง.
การเงินทางธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1103
บทที่ 6 เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน
ข้อดี ข้อเสีย ของ ค่าเงินบาทแข็ง
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
Supply Chain Management
Business Finance FI 212 Lectured By ญาลดา พรประเสริฐ.
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
บทบาทของตลาดทุนและตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
การขายและการตลาดสำหรับธุรกิจโรงแรมและที่พัก
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 6 การเงินและการธนาคาร

ภาพรวมของวิวัฒนาการของระบบเศรษฐกิจและของเงิน ระบบที่ใช้เครดิต เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน (Credit Economy) ระบบที่มีการใช้ เงินเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน (Money Economy) ระบบการแลกเปลี่ยน สิ่งของต่อสิ่งของ (Barter System)

ระบบเศรษฐกิจที่ใช้สิ่งของแลกเปลี่ยนกัน ( Barter Economy )

ระบบเศรษฐกิจที่ใช้เงินเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน (Money Economy) 1) เงินที่เป็นสิ่งของหรือสินค้า (Commodity Money ) 2) เงินโลหะ ( Metallic Money ) เงินกษาปณ์ที่มีค่าเต็มตัว (Full - bodied Coins) เงินกษาปณ์ที่มีค่าไม่เต็มตัว (Token Money) 3) เงินกระดาษหรือธนบัตร (Paper Money/Banknote)

1) เงินที่เป็นสิ่งของหรือสินค้า (Commodity Money )

2) เงินโลหะ ( Metallic Money ) เงินกษาปณ์ที่มีค่าเต็มตัว (Full - bodied Coins)

เงินกษาปณ์ที่มีค่าไม่เต็มตัว (Token Money)

3) เงินกระดาษหรือธนบัตร (Paper Money/Banknote) Polymer Banknotes

ระบบเศรษฐกิจที่ใช้เครดิตเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน ( Credit Economy ) เงินฝากธนาคาร กรูไม่เอา ไม่มีเครดิต

ความหมายของเงิน เงินคือสิ่งที่ได้รับการยอมรับทั่วไปในสังคมว่าเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน โดยการมีการกำหนดค่าหน่วยเป็นเงินตรา และ พยายามรักษาค่าให้คงที่อยู่เสมอ ยอมรับ ยอมรับ ยอมรับ เงิน

หน้าที่ของเงิน 1. เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน (Medium of Exchange)

2. เป็นมาตรฐานในการวัดค่า (Standard of Value) 100 บาท 50 บาท 25 บาท จะต้องใช้ไข่กี่ฟองถ้าอยากกินเนื้อวัว 12.5 บาท จะต้องใช้เงินกี่บาทถ้าอยากกินเนื้อวัว

ขอมือถือหน่อย อีก 5 ปีจะเอามาคืนให้ 3. เป็นมาตรฐานในการชำระหนี้ในอนาคต (A Standard of Deferred Payment) ได้ ขอมือถือหน่อย อีก 5 ปีจะเอามาคืนให้ ?

เป็นเครื่องรักษาความมั่งคั่ง 4. เป็นเครื่องรักษามูลค่า (A Store of Value) มูลค่าลดลง อย่างรวดเร็ว มูลค่าลดลง อย่างช้า ๆ

ปริมาณเงิน หรืออุปทานของเงิน (Supply of Money) ปริมาณเงินที่ประเทศมีอยู่ในขณะใดขณะหนึ่ง ปริมาณเงินในความหมายอย่างแคบ (M1) ปริมาณเงินในความหมายอย่างกว้าง (M2) ปริมาณเงินในความหมายอย่างกว้างมาก (M3)

ปริมาณเงินตามความหมายอย่างแคบ (M1) ปริมาณของทรัพย์สินทางการเงินที่ใช้เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน M1 = เหรียญกษาปณ์ + ธนบัตร + เงินฝากกระแสรายวัน (ไม่รวมเงินในธนาคาร) (ไม่รวมเงินในธนาคารกลางและกระทรวงการคลัง) ธนาคาร/กระทรวงการคลัง

ปริมาณเงินตามความหมายอย่างกว้าง (M2) M2 = M1 + เงินฝากประจำและเงินฝากออมทรัพย์ของเอกชน (รวมรัฐวิสาหกิจ) ซึ่งฝากไว้ที่ธนาคารพาณิชย์ +ตั๋วแลกเงินที่ ออกโดยธนาคารพาณิชย์+เงินรับฝากของสหกรณ์ออมทรัพย์

ปริมาณเงินตามความหมายอย่างกว้าง (M2) รักษามูลค่า สื่อกลางในการแลกเปลี่ยน ธนาคารพาณิชย์/สหกรณ์ออมทรัพย์ ปริมาณเงินในความหมายกว้างนี้เงินนอกจากจะทำหน้าที่เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนแล้วเงินยังทำหน้าที่ในการรักษามูลค่า (Store of Value) ด้วย

M2a = M2 + ตั๋วสัญญาใช้เงิน บริษัทเงินทุน ฯ ธนาคารพาณิชย์/สหกรณ์ออมทรัพย์

ตั๋วสัญญาใช้เงิน (Promissory Note) ตั๋วสัญญาใช้เงิน คือ หนังสือตราสารที่บุคคลผู้หนึ่งที่เรียกว่าผู้ออกตั๋ว ให้คำมั่นสัญญาว่าจะใช้เงินจำนวนหนึ่งให้แก่บุคคลอีกบุคคลหนึ่งหรือให้ใช้ตามคำสั่งของบุคคลอีกบุคคลหนึ่งเรียกว่า ผู้รับเงิน  ตั๋วสัญญาใช้เงินต้องมีข้อความต่อไปนี้ 1. คำบอกชื่อว่าเป็นตั๋วสัญญาใช้เงิน 2. คำมั่นสัญญาโดยปราศจากเงื่อนไขว่าจะใช้เงินเป็นจำนวนแน่นอน 3. วันถึงกำหนดใช้เงิน 4. สถานที่ใช้เงิน 5. ชื่อหรือยี่ห้อของผู้รับเงิน 6. วันและสถานที่ที่ออกตั๋วสัญญาใช้เงิน 7. ลายมือชื่อผู้ออกตั๋ว

ตัวอย่างการใช้ตั๋วสัญญาใช้เงิน ธุรกิจรับเหมาก่อสร้างของวิชัยเป็นธุรกิจขนาดเล็ก แต่ผลงานที่ผ่านมาก็เป็นสิ่งที่เชื่อถือได้ถึงการตรงต่อเวลาและคุณภาพของงาน เมื่อเร็วๆนี้คุณวิชัยได้งานก่อสร้างตลาดสดให้กับชุมชนแห่งหนึ่ง ซึ่งเป็นงานขนาดค่อนข้างใหญ่กว่างานทั้งหมดที่เคยทำมา ในการก่อสร้างตลาดสดนี้ จำเป็นจะต้องใช้เงินหมุนเวียนในธุรกิจเพิ่มขึ้น เพื่อซื้อวัสดุอุปกรณ์ในการก่อสร้าง อาทิ อิฐ หิน ปูน ทราย กระเบื้อง และเหล็กเส้น เป็นต้น แต่คุณวิชัยมีเงินทุนค่อนข้างจำกัดจึงต้องการจะกู้เงินจากคนรู้จักและเพื่อนฝูง แต่ในภาวะเศรษฐกิจปัจจุบันทุกคนก็มีอาการย่ำแย่เหมือนกันหมด การที่จะไปขอกู้เงินจากธนาคารและสถาบันการเงินก็ทำไม่ได้ เพราะไม่มีหลักทรัพย์เพียงพอ คุณวิชัยจึงไปปรึกษาคุณยงยุทธเจ้าของกิจการขายวัสดุก่อสร้างที่คุณวิชัยเคยซื้อประจำ คุณยงยุทธเห็นว่า คุณวิชัยเป็นคนซื่อสัตย์ ขยันขันแข็งตั้งหน้าทำมาหากิน ช่วงที่ผ่านมาก็มาอุดหนุนซื้อสินค้าเป็น เงินสด มีค้างชำระบ้าง 2-3 วันก็ชำระคืนเรียบร้อย ดังนั้นคุณยงยุทธจึงแนะนำให้คุณวิชัยซื้อสินค้าจากร้านตนไปโดยให้เครดิต 3 เดือน และให้คุณวิชัยออกตั๋วสัญญาใช้เงินสั่งจ่ายให้คุณยงยุทธตาม มูลค่าของสินค้าที่ซื้อไปรวมกับอัตราดอกเบี้ยตามที่ตกลงกัน เมื่อทำการก่อสร้างตลาดเสร็จแต่ละงวดงานได้รับเงินมาก็นำไปชำระคืนตามตั๋วสัญญาใช้เงินแต่ละฉบับ และทำตั๋วสัญญาฉบับใหม่ขึ้นมาสำหรับการซื้อวัสดุก่อสร้างในงวดต่อๆไป จนกระทั่งเสร็จสิ้นโครงการ คุณวิชัยสามารถจะ แก้ไขปัญหาการเงินในธุรกิจของตนเองได้ ก็เพราะได้รับความช่วยเหลือจากคุณยงยุทธ และความซื่อสัตย์น่าเชื่อถือของคุณวิชัยเอง

ปริมาณเงินตามความหมายอย่างกว้างมาก (M3) M3 = M2 + เงินฝากทุกประเภทกับสถาบันการเงิน+ ตั๋วสัญญาใช้เงิน เงินฝากในสถาบันเฉพาะกิจ ตั๋วสัญญาใช้เงิน ธนาคารพาณิชย์/สหกรณ์

ตลาดเงิน (Money Market) ตลาดเงินเป็นแหล่งระดมเงินออมระยะสั้นเพื่อจัดสรรให้กู้ยืมแก่ผู้ที่ต้องการเงินทุน โดยมีระยะเวลาชำระคืนไม่เกิน 1 ปี สถาบันการเงินที่มีบทบาทสำคัญในตลาดเงิน ได้แก่ ธนาคารพาณิชย์ และบริษัทเงินทุน ซึ่งธนาคารแห่งประเทศไทยจะเป็นผู้ดูแลสถาบันการเงินเหล่านั้น

ตลาดทุน (Capital Market) ตลาดทุน คือตลาดที่ทำการซื้อขายเครื่องมือทางการเงินหรือแหล่งกู้ยืมเงินระยะยาวตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป โดยมีคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์เป็นผู้ควบคุมดูแลสถาบันการเงินในตลาดทุน ตลาดทุนที่สำคัญของไทยคือ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

ธนาคารพาณิชย์แห่งแรกของประเทศไทย ธนาคารฮ่องกงและเซี่ยงไฮ้ ธนาคารชาร์เตอร์ ธนาคารแห่งอินโดจีน บุคคัลภย์ (แบงค์สยามกัมมาจล)

แหล่งที่มาของเงินทุน 1. เงินฝาก เงินฝากออมทรัพย์ (Saving Deposits ) เงินฝากประจำ (Time Deposits ) เงินฝากเผื่อเรียกหรือเงินฝากกระแสรายวัน ( Demand Deposits ) ดอกเบี้ยสูง แต่ต้องเสียภาษี

สมุดเช็ค ธนาคาร เปิด OD หลักทรัพย์ บัญชีเงินฝากอื่น ๆ เปิดบัญชีกระแสรายวัน เงินฝากจำนวนหนึ่ง

2.เงินกู้ยืมจากแหล่งต่าง ๆ 3.บัญชีทุน คือ รายรับและรายจ่าย ที่เกิดจากรายการต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ ธุรกรรมการเคลื่อนย้ายเงินทุน การซื้อขายสินทรัพย์ที่ไม่ก่อให้เกิดการผลิต เช่น การขายทอดตลาด 4.หนี้สินอื่น ๆ

ทางใช้เงินทุน 1. เงินสดสำรอง ประกอบด้วยเงินสดที่เก็บไว้ในธนาคารพานิชย์ และเงินฝากที่ธนาคารแห่งประเทศไทย เก็บไว้ที่ธนาคารของตนเองหรือ ที่ธนาคารพานิชย์ อื่น ๆ เงินสดสำรองเพื่อทำการ เก็บไว้ที่ธนาคารกลาง โดยธนาคารกลาง จะเป็นผู้กำหนดตามร้อยละของเงินฝาก เงินสดสำรองตามกฎหมาย

2. การลงทุนในหลักทรัพย์รัฐบาลและหลักทรัพย์อื่น ๆ 3. การให้สินเชื่อ การให้กู้ยืมแบบมีระยะเวลา ( Loans ) การให้กู้โดยวิธีเบิกเกินบัญชี ( Overdraft หรือ O/D ) ให้กู้โดยรับซื้อลดเช็คและตั๋วเงิน CHQ ธนาคารพานิชย์ ธนาคารกลาง Discount Rate Rediscount Rate

4. การลงทุนเพื่อสินทรัพย์ประจำและสินทรัพย์อื่น ๆ

สถาบันที่ตั้งขึ้นเพื่อประกอบธุรกิจโดยหวังกำไร ธนาคารพาณิชย์ สถาบันที่ตั้งขึ้นเพื่อประกอบธุรกิจโดยหวังกำไร กำไร  ดอกเบี้ยเงินกู้ - ดอกเบี้ยเงินฝาก

บริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ บริษัทที่ดำเนินธุรกิจ 2 ประเภท คือ บริษัทเงินทุน คือ การระดมเงินฝากจากประชาชน โดยให้ผลตอบแทนในรูปของดอกเบี้ย และนำเงินที่ได้มากลับไปให้ประชาชนหรือผู้ประกอบธุรกิจกู้ยืมเงินในประเภทต่างๆ อาทิเช่น การพาณิชย์ การจำหน่ายและการบริโภค การเคหะ เป็นต้น ธุรกิจหลักทรัพย์ คือ ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับหลักทรัพย์ เช่น การค้าหลักทรัพย์ เป็นนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ และเป็นที่ปรึกษาการลงทุน เป็นต้น

Bank บริษัทเงินทุน เงินฝาก สมุดเงินฝาก เงินกู้ สัญญา เงินฝาก ตัวสัญญาใช้เงิน เงินกู้ สัญญา บริษัทเงินทุน

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ( The Stock Exchange of Thailand : SET) องค์ประกอบ (ผู้ที่เกี่ยวข้อง) 1. ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2.บริษัทสมาชิกตลาดหลักทรัพย์ฯ Broker 3. หลักทรัพย์ที่ทำการซื้อขาย 4.ผู้ลงทุน

ตลาดแรก ตลาดรอง ผู้ลงทุน (ทางตรง) เงินทุน หุ้นสามัญ บริษัทที่ต้องการเงินทุน ผู้ลงทุน (ทางตรง) หุ้นสามัญ เงินทุน ผู้ลงทุน (ทางอ้อม) ตลาดหลักทรัพย์ เงิน ตลาดแรก ตลาดรอง

ตลาดหลักทรัพย์ ติดต่อด้วยตนเอง ติดต่อทางโทรศัพท์ ติดต่อทางInternet ผู้ลงทุน Broker ค่านายหน้า

วิธีการซื้อหลักทรัพย์ ซื้อด้วยเงินสด หมายถึงถึงบัญชีที่ผู้ลงทุนจะต้องชำระด้วยเงินสด เมื่อมีการแจ้งผลการซื้อจริงเกิดขึ้น บัญชีเงินสดนี้โบรกเกอร์จะพิจารณาอนุมัติวงเงินที่เหมาะสมกับฐานะการเงิน  และความสามารถในการชำระหนี้ ทั้งนี้การซื้อขายหลักทรัพย์จะต้องชำระค่าซื้อภายใน 3 วัน นับจากวันที่ซื้อหลักทรัพย์ ซื้อด้วยเงินกู้ (Margin) เป็น บัญชีที่ผู้ลงทุนจ่ายชำระค่าซื้อหลักทรัพย์ส่วนหนึ่ง และกู้ยืมเงินจากโบรกเกอร์อีกส่วนหนึ่ง โดยมีหลักทรัพย์ที่ซื้อวางเป็นหลักประกัน และมีข้อตกลงว่านักลงทุนจะต้องจ่ายดอกเบี้ยสำหรับเงินในส่วนที่กู้ยืม

ธนาคารกลาง ธนาคารกลาง คือ สถาบันการเงินที่จัตั้งขึ้นเป็น “หน่วยงานกลาง” ซึ่งมีลักษณะพิเศษที่แตกต่างจากธนาคารพาณิชย์และสถาบันการเงินอื่น ดังนี้ 1) การดำเนินงานของธนาคารกลางต้องเป็นไปในลักษณะที่มิใช่เพื่อหวังกำไร แต่จะคำนึงถึงเสถียรภาพและความเจริญทางเศรษฐกิจของประเทศโดยส่วนรวมเป็นหลัก 2) การดำเนินงานของธนาคารกลางจะต้องมีอิสระภายในกรอบนโยบายของรัฐบาล 3) การประกอบธุรกิจของธนาคารกลางส่วนใหญ่จะกระทำกับธนาคารพาณิชย์รัฐบาลหรือสถาบันการเงิน

ธนาคารแห่งประเทศไทย (Bank of Thailand) หน้าที่ของธนาคารแห่งประเทศไทย 1. ออกและพิมพ์ธนบัตร 2. เก็บรักษาทุนสำรองระหว่างประเทศ 3. เป็นนายธนาคารของธนาคารพาณิชย์และคอยกำกับดูแล การเก็บรักษาเงินสดสำรองตามกฎหมาย การเป็นผู้ให้กู้ยืมแหล่งสุดท้าย การควบคุมและการตรวจสอบกิจการธนาคารพาณิชย์

4. การเป็นนายธนาคารของรัฐบาล รับฝากเงินของรัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ให้กู้ยืมแก่รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ เป็นตัวแทนทางการเงินและที่ปรึกษาทางการเงินของรัฐบาล 5.ควบคุมและตรวจสอบสถาบันการเงินอื่น ๆ ของประเทศให้ปฏิบัติตามที่กฎหมายกำหนด 6. รักษาเสถียรภาพทางการเงิน 7. ควบคุมปริมาณเงินของประเทศให้มีปริมาณที่เหมาะสม

นโยบายการเงิน( Monetary Policy ) นโยบายของรัฐบาลซึ่งดำเนินการผ่านธนาคารกลางในการควบคุมปริมาณเงินและเครดิตของของประเทศให้มีขนาดพอเพียงกับความต้องการทางเศรษฐกิจ ไม่ให้เกิดปัญหาทางการเงิน อันจะเป็นอุปสรรคต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศ

เสถียรภาพ ทางเศรษฐกิจ นโยบายการเงิน เสถียรภาพ ทางเศรษฐกิจ เศรษฐกิจที่มีความสมดุลทั้ง “ด้านในประเทศ” และ “ด้านต่างประเทศ” ซึ่งสะท้อนได้จากตัวแปรทางเศรษฐกิจ เช่น อัตราเงินเฟ้อ อัตราการว่างงาน ระดับหนี้ต่างประเทศ อัตราแลกเปลี่ยน

เครื่องมือของนโยบายการเงิน 1. การควบคุมทางปริมาณหรือโดยทั่วไป (Quantitative or general control) 2. การควบคุมทางคุณภาพหรือการควบคุมเฉพาะอย่าง (Qualitative or selective control)

1. การควบคุมทางปริมาณหรือโดยทั่วไป (Quantitative or general control) 1.1 การซื้อขายหลักทรัพย์หลักทรัพย์ในตลาด 1.2 การเพิ่มหรือลดอัตราเงินสำรองตามกฏหมาย 1.3 การเพิ่มหรือลดอัตรารับช่วงซื้อลดตั๋วเงิน หลักทรัพย์ คือ ตราสารหรือหลักฐาน แสดงสิทธิในทรัพย์สิน เช่น ตั๋วเงินคลัง พันธบัตร ตั๋วเงิน หุ้น หุ้นกู้ หน่วยลงทุน ใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้น-หุ้นกู้-หน่วยลงทุน

ธนาคารกลางต้องการเพิ่มปริมาณเงิน 1.1 การซื้อขายหลักทรัพย์หลักทรัพย์ในตลาด ธนาคารกลางต้องการเพิ่มปริมาณเงิน ธนาคารกลางรับซื้อหลักทรัพย์ ชำระค่าซื้อหลักทรัพย์ด้วยเช็ค ผู้ขายนำเงินไปฝากธนาคารพาณิชย์ การสร้างเงินฝาก ปริมาณเงินในระบบเพิ่มขึ้น

ธนาคารกลางต้องการลดปริมาณเงิน ธนคารกลางขายหลักทรัพย์ออกไป ประชาชนและสถาบันการเงินถือเงินลดลง ปริมาณเงินในระบบน้อยลง

เดิม R = 20% ใหม่ 1.2 การเพิ่มหรือลดอัตราเงินสำรองตามกฏหมาย R = 10% สำรองส่วนเกิน เพิ่มขึ้น สำรองส่วนเกิน ลดลง ธนาคารพาณิชย์ ให้กู้ยืมเพิ่มขึ้น ธนาคารพาณิชย์ ให้กู้ยืมลดลง ปริมาณเงิน ในระบบเพิ่มขึ้น ปริมาณเงิน ในระบบลดลง

สมมติ มีผู้ฝากเงิน 100 บาท และอัตราสำรอง 10% ฝาก 100 ข ฝาก 90 ปล่อยกู้ 90 กันสำรอง 10 เงินฝาก 100 กันสำรอง 10 + 9 เงินฝาก 100 + 90 ปล่อยกู้ 81 ค ฝาก 81 กันสำรอง 10 + 9 + 8.1 เงินฝาก 100 + 90 + 81 ง ปล่อยกู้ 72.9 ฝาก 72.9 กันสำรอง 10 + 9 + 8.1 + 7.29 เงินฝาก 100 + 90 + 81 + 72.9 แล้วหากเป็นอย่างนี้ต่อไปเรื่อยๆ ปริมาณเงินฝากจะเป็นเท่าไร

จากเงื่อนไขข้างต้น สามารถคำนวณปริมาณเงินฝากสูงสุด ที่ธนาคารสามารถสร้างได้ ตามสูตร M คือ เงินฝากรวม D คือ ปริมาณเงินที่สามารถใช้ได้ P คือ เงินฝากขั้นแรก R คือ อัตราสำรองตามกฎหมาย A คือ เงินสดสำรองส่วนเกิน (เงินให้กู้)

จากตัวอย่าง เงินฝากขั้นต้น ( P ) มีค่าเท่ากับ 100 บาท อัตราสำรองตามกฎหมาย ( R ) มีค่าเท่ากับ 10% ( 0.10 ) เงินสดสำรองส่วนเกิน (เงินให้กู้) เริ่มต้น ( A ) มีค่าเท่ากับ 90 บาท

เดิม R = 20% และ P = 100 บาท D = 1 R x P = 1 0.2 x 100 = 500 ใหม่ R = 10% R = 25% D = 1 0.1 x 100 D = 1 0.25 x 100 = 1,000 (D เพิ่มขึ้น) = 400 (D ลดลง)

1.3 การเพิ่มหรือลดอัตรารับช่วงซื้อลดตั๋วเงิน นาย ก. มีตั๋วเงินมูลค่า 100 บาท ธ.พาณิชย์คิด อัตราส่วนลด (Discount Rate) 10% นาย ก. ขายตั๋วเงินให้ ธ.พาณิชย์ นาย ก. ได้เงิน 90 บาท ธ.กลางคิด อัตรารับช่วงซื้อลด (Rediscount Rate) 5% ธ.พาณิชย์ขายตั๋วเงินให้ ธ.กลาง ธ.พาณิชย์ได้เงิน 95 บาท ธ.พาณิชย์นำเงินไปปล่อยกู้ได้

ส่วนต่าง คือ กำไรของธนาคารพาณิชย์ Discount Rate > Rediscount Rate ส่วนต่าง คือ กำไรของธนาคารพาณิชย์

เดิม Rediscount Rate = 5% , Discount Rate = 10% ธ.พาณิชย์ลดการขาย ตั๋วเงินให้ ธ.กลาง ปริมาณเงินให้กู้ลดลง ลูกค้านำตั๋วเงินมาขายลดลง D ลดลง D ลดลง

2. การควบคุมทางคุณภาพหรือการควบคุมเฉพาะอย่าง (Qualitative or selective control) 2.1 การควบคุมเครดิตเพื่อการบริโภค 2.2 การควบคุมเครดิตเพื่อการเก็งกำไรในการซื้อขายหลักทรัพย์

ส่งเสริมการใช้จ่าย เพื่อการบริโภค 2.1 การควบคุมเครดิตเพื่อการบริโภค การชำระค่าสินค้า เงินดาวน์ เงินผ่อนรายงวด ส่งเสริมการใช้จ่าย เพื่อการบริโภค

การดำเนินการควบคุมเครดิตเพื่อการบริโภค ลดปริมาณเงิน เพิ่มเงินดาวน์ ลดจำนวนงวดในการผ่อน (ใช้เงินมากขึ้นในการแต่ละงวด) + ซื้อสินค้าลดลง การกู้ยืมลดลง D ลดลง

2.2 การควบคุมเครดิตเพื่อการเก็งกำไรในการซื้อขายหลักทรัพย์ Margin Margin = 40% ชำระเงินสด 40% ของราคาหลักทรัพย์ ที่เหลือ 60% กู้จากบริษัทนายหน้า โดยเอาหลักทรัพย์นั้นค้ำประกัน

วิธีการควบคุมเครดิตเพื่อการเก็งกำไรในการซื้อขายหลักทรัพย์ ลดปริมาณเงิน ธ.กลางกำหนดให้ตลาดหลักทรัพย์เพิ่ม Margin ซื้อหุ้นลดลง กู้เงินลดลง D ลดลง

ลักษณะของนโยบายการเงิน การดำเนินนโยบายการเงิน ลักษณะของนโยบายการเงิน การดำเนินนโยบายการเงิน 1. นโยบายการเงินแบบเข้มงวด (Restrictive monetary policy) ทำให้ ปริมาณเงินลดลง 2. นโยบายการเงินแบบผ่อนคลาย (Easy or expansionary monetary policy) ทำให้ ปริมาณเงินเพิ่มขึ้น

นโยบายการเงิน แบบเข้มงวด นโยบายการเงิน แบบผ่อนคลาย ปริมาณเงินมาก ใช้จ่ายมาก GDP มาก ลูกโป่งตึงมาก ลดปริมาณเงิน นโยบายการเงิน แบบเข้มงวด ปริมาณเงินน้อย ใช้จ่ายน้อย GDP น้อย ลูกโป่งแฟบ เพิ่มปริมาณเงิน นโยบายการเงิน แบบผ่อนคลาย

สรุปนโยบายการเงิน เศรษฐกิจขยายตัวมาก เศรษฐกิจตกต่ำมาก นโยบายการเงิน : ลดปริมาณเงิน : แบบเข้มงวด นโยบายการเงิน : เพิ่มปริมาณเงิน : แบบผ่อนคลาย เชิงปริมาณ 1. ธ.กลางขายหลักทรัพย์ 1. ธ.กลางรับซื้อหลักทรัพย์ 2. ธ.กลางเพิ่มอัตราเงินสดสำรอง ตามกฏหมาย 2. ธ.กลางลดอัตราเงินสดสำรอง ตามกฏหมาย 3. ธ.กลางเพิ่มอัตรารับช่วงซื้อลด 3. ธ.กลางลดอัตรารับช่วงซื้อลด เชิงคุณภาพ 1. สถาบันการเงินเพิ่มเงินดาวน์ + ลดปีผ่อน 1. สถาบันการเงินลดเงินดาวน์ + เพิ่มปีผ่อน 2. ตลาดหลักทรัพย์เพิ่ม Margin 2. ตลาดหลักทรัพย์ลด Margin