ก้าวย่างไปข้างหน้าอย่างไร... เพื่อมุ่งสู่การยุติปัญหาเอดส์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบการบริหารจัดการ Active Case Management
Advertisements

แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
ผลการดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคเอดส์
การประกวดชมรม TO BE NUMBER ONE ดีเด่นระดับจังหวัด
1. การดำเนินงาน 15 ประเด็น โครงการ ( โครงการเฉลิมพระเกียรติ ) 1.1 โรคคอตีบ - ตัวชี้วัด ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 85 ในทุกจังหวัด - เป้าหมาย.
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยวัณโรค โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
โรงพยาบาลเขาชัยสน ขนาด 30 เตียง จังหวัดพัทลุง
ชื่อโรงพยาบาล ขนาด... เตียง จังหวัด ชื่อผู้ติดต่อ กลุ่มงาน โทรศัพท์ อีเมล์
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก รพ.ป่าติ้ว
ประชุมMCH Board จังหวัดอุตรดิตถ์ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ วันพฤหัสที่ ๑๘มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมภูสอยดาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
Goal: people are healthy & safety from Tuberculosis In Chiang Mai.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
เป้าหมายงานวัณโรค ปี 2559 ระดับความสำเร็จของการควบคุมวัณโรค 1. การค้นหาและรายงานผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ เพิ่มขึ้น 10% ( ของปี 56) 2. รพ. ผ่านมาตรฐานรพ. คุณภาพการดูแลรักษาวัณ.
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
นางประภาภรณ์ กิจวัฒนาชัย พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การเฝ้าระวังการติดเชื้อเอชไอวีและ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (การพัฒนาระบบเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ 5 ระบบ) สำนักโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การพัฒนาระบบบริการผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วีและผู้ป่วยเอดส์
การพัฒนาความเข้มแข็งของระบบบริการ RRTTR
การยุติปัญหาเอดส์ในประเทศไทย
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
ระดับความเสี่ยง (QQR)
การยุติการถ่ายทอดเชื้อตับอักเสบบีจากแม่สู่ลูก สถานการณ์ในไทยและก้าวต่อไป พญ รังสิมา โล่ห์เลขา Chief, HIV Prevention and Care among Children, Adolescents,
วันชนา จีนด้วง ศูนย์อนามัยที่ 2 พิษณุโลก
แผนปฏิบัติการ เร่งรัดการยุติปัญหาเอดส์ ประเทศไทย พ.ศ
ศาสตราจารย์ ชาร์ล กิลค์ส UNAIDS อินเดีย
คลินิกบริการดูแลผู้ติดเชื้อHIV/AIDS โรงพยาบาลเขาสมิง จังหวัดตราด
แนวทางการดำเนินกิจกรรมและการสนับสนุนงบประมาณของ กองทุนโลกด้านวัณโรค “โครงการยุติปัญหา วัณโรคและเอดส์ด้วยชุดบริการ RRTTR: STAR-NFM” ของจังหวัดสระบุรี”
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
แนวทางปฏิบัติ กรณีหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวี ด้อยสิทธิ์/ต่างด้าว
อดีต ปัจจุบัน อนาคต ของเอชไอวี ในประเทศไทย
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ก้าวทันโรค - - ก้าวต่อไปในการดำเนินโครงการ
43 แฟ้มกับงานทันตกรรม 1. Standard Data Set 43 แฟ้ม
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
สรุปผลการนิเทศงานเฉพาะกิจ งานข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
PMTCT service โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ อุบลราชธานี
นายแพทย์สราวุฒิ บุญสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
การจัดการเชิงรุกรายบุคคล
ความสำเร็จของโครงการจัดการเชิงรุกรายบุคคลเพื่อเริ่มยาต้านไวรัส
ข้อมูลการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก (PMTCT)
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
องค์กรต้นสังกัด: โรงพยาบาล ระแงะ จังหวัด นราธิวาส
คลินิกโรคติดเชื้อเด็ก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การดำเนินงานเชิงรุก โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
HIV Testing and Counseling with Same Day Result (SDR)
1. ชื่อผลงาน/โครงการพัฒนาคุณภาพ (โครงการหลัก) : การพัฒนาระบบการให้คำปรึกษาแบบคู่เพื่อตรวจหาเชิ้อเอชไอวี โรงพยาบาลเมืองปาน 2. คำสำคัญ : การให้คำปรึกษาแบบคู่เพื่อตรวจหา.
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
นพ.ทวีทรัพย์ ศิรประภาศิริ กองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติ
Real Time Cohort Monitoring RTCM
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
ปัญหาและสาเหตุโดยย่อ
การศึกษาอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาในสูตร Tenofovir regimen ในคลินิกจิตอารีย์ โรงพยาบาลเขื่องใน ภญ.อรวรรณ ครองยุทธ โรงพยาบาลเขื่องใน จ.อุบลราชธานี
สรุปภาพรวมผลการดำเนินงาน
มั่นใจเชื่อถือได้ เหรียญ+ป้าย ลูกของแม่
การดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เป็นวัณโรคแบบบูรณาการ
การจัดบริการ PrEP พญ. นิตยา ภานุภาค ศูนย์วิจัยโรคเอดส์ สภากาชาดไทย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ก้าวย่างไปข้างหน้าอย่างไร... เพื่อมุ่งสู่การยุติปัญหาเอดส์ ก้าวย่างไปข้างหน้าอย่างไร... เพื่อมุ่งสู่การยุติปัญหาเอดส์ รศ พญ ธันยวีร์ ภูธนกิจ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย HIVNAT, ศูนย์วิจัยโรคเอดส์ สภากาชาดไทย 9 มีนาคม 2560 สัมมนาเอดส์ชาติ

1

มุ่งสู่การยุติปัญหาเอดส์ ลดการติดเชื้อรายใหม่ ลดการป่วย ลดการตีตรา

HIV/AIDS in Thailand 2015

Ending AIDS in Thailand Less than 1,000 new HIV cases per year Eliminate MTCT HIV testing 90% ในกลุ่มประชากรหลัก 10% ในประชากรกลุ่มอื่น Early ART For all HIV cases UN Joint Team Thailand

การป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีแบบผสมผสาน ถุงยางอนามัย ไมโครบิไซด์ ยาต้านไวรัสเอดส์ (HAART) วัคซีนเอชไอวี การป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี การป้องกันจาก แม่สู่ลูก (PMTCT) เข็มสะอาด PrEP และ PEP การขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย รักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ดัดแปลงจากสไลด์ พญ นิตยา ภานุภาค

การใช้ยาต้านไวรัสเพื่อป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี PrEP เพร็พ (Pre-Exposure Prophylaxis) PEP เพ็พ (Post-Exposure Prophylaxis) TasP (Treatment as prevention) ก่อนสัมผัสเชื้อ เวลาของการถ่ายทอดเชื้อ หลังติดเชื้อ ข้อดี มีการศึกษารองรับประสิทธิผล ความท้าทาย การกินยาถูกต้องสม่ำเสมอ ให้บริการที่ไหน อย่างไร โดยใคร ความคุ้มทุน ข้อดี ใช้ยาระยะสั้นกว่า PrEP ความท้าทาย การกินยาถูกต้องสม่ำเสมอ ต้องเริ่มยาภายใน 72 ชั่วโมง ข้อดี ผลดีต่อสุขภาพผู้กินยาเอง และต่อการลดโอกาสถ่ายทอดเชื้อลง ความท้าทาย การกินยาถูกต้องสม่ำเสมอระยะยาว ผลข้างเคียงระยะยาว ชี้ให้เห็นว่า HCT เป็นส่วนสำคัญที่สุดทั้งสำหรับ PrEP และ PEP โดยอธิบายสั้นๆ ว่า PrEP และ PEP คืออะไร Modified from clinicaloptions.com/hiv

การยุติการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก Elimination of HIV mother to child transmission 7 มิถุนายน 2559 HIV transmission rate in Thailand is 1.9%

แสดงพัฒนาการนโยบายป้องกันการติดเชื้อในไทย พัฒนาการของนโยบายและแนวทางการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูกในประเทศไทย DNA PCR ในทารก - การตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีในเด็กที่เกิดจากแม่ติดเชื้อโดยวิธีแอนติบอดี้ที่ 12-18 เดือน DNA PCRตามความเสี่ยงทารก การวินิจฉัยในทารก - นมผง (12 เดือน) - นมผง (18 เดือน) นม ยาต้าน PMTCT ลูก ยาลูก AZT x 4 สัปดาห์ AZT x 4 สัปดาห์ หรือ AZT/3TC 6 สัปดาห์ +NVP 2-4 สัปดาห์ AZT/3TC/NVP 6 สัปดาห์ ยาต้าน PMTCT แม่ การให้ยาสูตรสั้น (AZT 34 สัปดาห์) AZT 28 สัปดาห์+ NVP 1 ครั้ง HAARTในหญิง ตั้งครรภ์ติดเชื้อทุกราย (14 wks) และให้ยาต่อตามข้อบ่งชี้ HAART ทุกราย เริ่มยาทันที และให้ยาต่อเนื่องหลังคลอดทุกรายที่สมัครใจ AZT 28 สัปดาห์+ NVP 1 ครั้ง และ HAART ตามข้อบ่งชี้ แสดงพัฒนาการนโยบายป้องกันการติดเชื้อในไทย การให้การปรึกษาเพื่อตรวจหาการติดเชื้อโดยสมัครใจและเป็นความลับ(VCT) -การให้การปรึกษาแบบคู่ VCT 2543 2546 2547 2550 2553 2557 2536-2543 VCT และนมผสมสำหรับเด็กที่เกิดจากแม่ติดเชื้อ 12 เดือน

อัตราการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูกประเทศไทย พ.ศ. 2544- 2558 อัตราการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูกประเทศไทย พ.ศ. 2544- 2558 MTCT rate >20% in mid 1990 PHOMS sentinel provincial data, 2001-2007 (2001 = 4 provinces; 2004 = 14 provinces) National AIDS Program data 2008-2015, all provinces WHO option A (AZT+single dose NVP) WHO option B (HAART) WHO option B+ (lifelong HAART) Short-course AZT implemented *2001-2007: estimates of MTCT transmission for women not reported in PHOMS; 2008-2012: global AIDS response report 2008-2012; 2013-2015: SPECTRUM version 5.4 Lolekha r et al, MMWR 2016

ลดอัตราการติดเชื้อ ต่ำกว่าร้อยละ 2 2558 ลดอัตราการติดเชื้อ ต่ำกว่าร้อยละ 2 2563 ลดอัตราการติดเชื้อ ต่ำกว่าร้อยละ 1 2573 ไม่มีทารกติดเชื้อรายใหม่

ทารกไม่ติดเชื้อ เอชไอวี ลดอัตราการติดเชื้อเอชไอวีในหญิงไทย ให้ยาต้านไวรัส (สูตรสามตัว) ในหญิงตั้งครรภ์ ทารกไม่ติดเชื้อ เอชไอวี ตรวจเอชไอวี ในหญิงตั้งครรภ์และสามี ให้ยาต้านไวรัสสูตรเข้มข้น แก่หญิงตั้งครรภ์ & ทารกที่เสี่ยงสูง

รู้เร็ว...เข้าถึงยาต้าน...ชีวิตยืนยาว

Thailand treatment cascade 2015 90% of PLHIV diagnosed 90% of diagnosed PLHIV are on treatment 90% PLHIV on treatment have suppressed viral load Source: Prepared by www.aidsdatahub.org based on UNAIDS 2016 HIV Estimates; and Global AIDS Response Progress Reporting (GARPR)

รู้เร็ว... การวินิจฉัยเอชไอวีในผู้ใหญ่ Thomas S. Alexander Clin. Vaccine Immunol. 2016;23:249-253

รู้เร็ว... การวินิจฉัยเอชไอวี…ตรวจที่ไหน

รู้เร็ว... การวินิจฉัยเอชไอวี...ในสถานพยาบาล Facility-based HIV testing

รู้เร็ว... การคัดกรองด้วยตนเอง การคัดกรองการติดเชื้อเอชไอวีด้วยตัวเอง (HIV self-test) ตรวจตั้งครรภ์ ตรวจระดับน้ำตาล ตรวจเอชไอวี ออสเตรเลีย,ชายรักชาย Self HIV testing เพิ่มความถี่ในการตรวจเลือดจาก 2 เป็น 4 ครั้ง/ปี Jamil MS. Lancet HIV 2017 Feb

การวินิจฉัยทารกติดเชื้อเอชไอวี HIV Early infant diagnosis Naiwatanakul T. Int AIDS Soc 2016;19:20511. Sirirungsri W. Lancet HIV 2016, 3;e259-e265.

Pediatric Treatment Coordinator โครงการบูรณาการวินิจฉัยและรักษาทารกติดเชื้อเอชไอวี (ACC) เริ่มสิงหาคม 2557 Blood samples from HIV-exposed infants for HIV DNA PCR PCR in infants PCR@Birth 16 Laboratories 2 Laboratories EID Coordinator PCR positive PCR positive Pediatric Treatment Coordinator Via Email + Line 80% ของทารกได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสก่อนอายุ 6 เดือน Active case management to promote early ART initiation North: Chiang Rai 18 province Northeast: Sri Nakarindh 20 provinces South: Hat Yai: 14 provinces Central: Prachomkloa 14 provinces Central: HIVNAT 14 provinces North Chiang Rai Northastern Srinagarindh South Hat Yai Central Prachomklao Central HIVNAT

การเข้าถึงการรักษายาต้านไวรัส CD4 ≤ 200 CD4 ≤ 350 CD4 ≤ 350 + TasP CD4 ≤ 500 All HIV+ 1 2 3 4 5 Recommended since 2003 Recommended since 2010 Incremental approach 2012 + indications for ART at any CD4 Treat ALL 2013 guidelines 2015 guidelines

ยาต้านไวรัส...หนึ่งเม็ด...วันละครั้ง AZT/3TC/NVP TDF/3TC/EFV ABC/3TC/DTG TDF/3TC/ETG/COBI

ยาต้านไวรัส...ชีวิตยืนยาว Source: Adapted from Lohse et al, 2007; Hoog et al, 2008, May et al, 2011 & Hogg et al, 2013. Era before highly active antiretroviral therapy (mono- and dual therapy) Era of highly active (triple therapy)

Carbotegravir injection + Rilpivirine                   Long-Acting/Extended Release Antiretroviral Resource Program ยาต้านไวรัส...ชนิดฉีด Carbotegravir injection + Rilpivirine Margolis DA (LATTE-2). Lancet Infect Dis. 2015;15:1145-55.

ลดการตีตรา ผู้ติดเชื้อเอชไอวี ผู้ป่วยเอดส์

ลดการตีตรา ผู้ติดเชื้อเอชไอวี ผู้ป่วยเอดส์

ก้าวย่างไปข้างหน้าอย่างไร... เพื่อมุ่งสู่การยุติปัญหาเอดส์ ก้าวย่างไปข้างหน้าอย่างไร... เพื่อมุ่งสู่การยุติปัญหาเอดส์ ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการยุติปัญหาเอดส์ ความร่วมมือของภาคีทุกภาคส่วน สิทธิมนุษยชน และ ความเสมอภาค การให้ความรู้ และความเข้าใจภาคประชาสังคม การป้องกัน และ รักษาผู้ติดเชื้อ โดยใช้นวัตกรรมที่เหมาะสม มุ่งสู่เป้าหมาย: ไม่ติด-ไม่ตาย-ไม่ตีตรา