4C (Class Camp Club CoP) กับการพัฒนาที่ยั่งยืน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

ข้อสรุปหลักสูตรการอบรมการผลิต รายการเด็ก TV4Kids.
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
๒ ปี...ก้าวย่างของการพัฒนา
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
สำหรับศูนย์อนามัยที่ 1, 3, 6, 10, 11, 12
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และการประกาศค่าเป้าหมาย
ความรอบรู้ ด้านสุขภาพ
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย เขตสุขภาพที่ 6
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข โรงแรมเดอะรอยัลเจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพ จังหวัดน่าน
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
“ความร่วมมือในการขับเคลื่อนงาน คสจ. และ พชอ.”
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ)
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
P S G 5P MODEL Policy PASSION PLANNING PEOPLE PROCESS PERFORMANCE
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
ประเด็น ที่ 4 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

4C (Class Camp Club CoP) กับการพัฒนาที่ยั่งยืน นายแพทย์อภิชาติ รอดสม สาธารณสุขนิเทศก์ เขตสุขภาพที่ ๖

ของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระบรมราโชวาท ของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว “ ....การจะพัฒนาทุกสิ่งทุกอย่างให้เจริญขึ้นนั้น จะต้องสร้างจากพื้นฐานเดิมที่มีอยู่ก่อนทั้งสิ้น ถ้าพื้นฐานไม่ดีหรือคลอนแคลนบกพร่องแล้ว...... ที่จะเพิ่มเติมเสริมต่อให้เจริญขึ้นไปอีกนั้น ยากนักที่จะทำได้........”

Class : Knowledge ความรู้ในชุมชน การจัดการเรียนการสอนในศูนย์เด็กเล็ก รพ.สต. การให้ความรู้ในชุนชน ความพร้อมในการตั้งครรภ์ การฝากครรภ์เร็วและฝากครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์คุณภาพ ภาวะโภชนาการในเด็ก ทั้งปกติ อ้วน ผอม เตี้ย พัฒนาการเด็กในด้านต่างๆ ของแต่ละช่วงอายุ การเล่นและการเล่าคุณภาพ การเข้าถึง การนำไปใช้ และการกระจายความรู้ต่างๆในชุมชน

ความรอบรู้ด้านสุขภาพ หมายถึง ประชาชน เข้าถึง เข้าใจ ข้อมูล ความรู้ และการจัดบริการสุขภาพ สามารถ ตัดสินใจ เลือกรับผลิตภัณฑ์สุขภาพและใช้บริการสุขภาพ ตลอดจนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้

Conceptual model of health literacy

ข้อเสนอ ระบบพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพไทยแบบบูรณาการ 3 มิติ (Health Literacy System – Thai HL Matrix-3 Dimensions) การพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ ตามกลุ่มวัยใน Setting ต่างๆ อย่างต่อเนื่อง นพ.วชิระ เพ็งจันทร์ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 10 ม.ค.60 ก่อนตั้งครรภ์ ตั้งครรภ์ และการเจริญเติบโตของเด็ก หน่วยบริการสุขภาพ ศูนย์บริการเด็กชุมชน เส้นทางชีวิต(Life Course Approach) พัฒนา เด็กวัยเรียน วัยรุ่น และเยาวชน สถานศึกษา/ศูนย์พัฒนาชุมชน พัฒนาสุขภาพวัยทำงาน ที่ทำงาน, สถานประกอบการ, สวน - ไร่ - นา การไปใช้บริการทางการแพทย์ พัฒนาผู้สูงวัยเป็นหลักชัยของสังคม อาคารชุด/ชุมชน/LTC/ศูนย์ดูแลผู้สูงอายุกลางวัน มีและเข้าถึง ข้อมูลบริการ เข้าใจโรค ปัญหา การจัดบริการ ตรวจสอบ ซักถามได้ ตัดสินใจใช้ตาม บริบทและเงื่อนไข ของตนเอง แสวงหาและเข้าถึง ข้อมูลผลิตภัณฑ์ ที่สนใจ เข้าใจ ข้อดีข้อเสีย ความเสี่ยง ความคุ้มค่า ประเมิน ตรวจสอบ และเลือกรับ ตัดสินใจเลือกใช้ มีและเข้าถึงข้อมูลเกี่ยวกับโรคที่อาการเสี่ยง เข้าใจโรค ความเสี่ยง และปัจจัยเสี่ยง ซักซ้อม ตรวจสอบ ตัดสินใจลดหรือ กำจัดปัจจัยเสี่ยง มีและเข้าถึงปัจจัย กำหนดสุขภาพ เข้าใจปัจจัย ปกป้อง เพื่อพิจารณาสุขภาพ สอบถาม คัดกรอง และเลือก ตัดสินใจปรับพฤติกรรมตนเอง และการปรับสภาพแวดล้อมได้ การคัดกรองและเลือกรับผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ การควบคุมป้องกันโรคด้วยตนเอง การส่งเสริมสุขภาพของตนเอง ระบบที่มีผลต่อสุขภาพของประชาชนตามกลุ่มวัย 3 มิติ 4 ประเด็น (4x4x4) กระบวนการพัฒนา Health Literacy เข้าถึง/ เข้าใจ /ตรวจสอบ/ตัดสินใจใช้และบอกต่อ

Camp : แค้มป์หรือค่ายสุขภาพ การลงมือทำในพื้นที่ เช่น ทำค่ายเด็ก ฝึกทักษะ ฝึกวินัย เรียนรู้การอยู่ด้วยกัน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ 2. เพื่อเป็นแกนนำในการพัฒนาศักยภาพในชุมชนด้านสุขภาพ 3. สร้างการเรียนรู้และตระหนักถึงสุขภาพชุมชนร่วมกัน

Camp : แค้มป์หรือค่ายสุขภาพ องค์ประกอบของการทำแค้มป์ มีเป้าหมายหรือธีมของกิจกรรมที่ชัดเจน มีเกณฑ์ในการคัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย มีรายละเอียดของการจัดกิจกรรมต่างๆ มีระยะเวลาในการดำเนินงาน มีการติดตามและประเมินผล

Club : กลุ่ม/ชมรมสร้างสุขภาพ การสร้างการมีส่วนร่วมและพัฒนาขีดความสารถของภาคีเครือข่ายให้มีศักยภาพในการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพได้อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน โดยใช้ชมรมสร้างสุขภาพในการขับเคลื่อน การรวมกลุ่ม/ชมรมตามความชอบ ความชำนาญ อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน เช่น ชมรมเล่นสร้างชาติ

Club : กลุ่ม/ชมรมสร้างสุขภาพ (ต่อ) องค์ประกอบของการก่อตั้งกลุ่ม/ชมรมสร้างสุขภาพ การก่อตั้ง ใหม่,มีอยู่แล้ว ความต้องการของชุมชนหรือรัฐบาลกำหนดให้ตั้งขึ้น สมาชิกของชมรม คณะกรรมการ และผู้นำกลุ่ม/ชมรม กิจกรรมหลักและกิจกรรมเสริม การสื่อสารในชุมชน การติดตามและประเมินการดำเนินงาน

องค์ประกอบในการทำให้ชมรมให้เข้มแข็งและยั่งยืน 1 บริบททางสังคม  ประเพณีวัฒนธรรม    และความสัมพันธ์ของสมาชิกภายในชมรม  2. ปัจจัยภายในชมรม  เช่น  ลักษณะของผู้นำชมรม  กิจกรรมของชมรม  การเงินและรายได้ของชมรม  และการสื่อสารของชมรมฯ   3 ปัจจัยภายนอกชมรม ได้แก่ การสนับสนุนจากภาครัฐและการสนับสนุนจากภายในชุมชนที่ชมรมตั้งอยู่

CoP : ชุมชนนักปฏิบัติ (Community of Practice) กลุ่มคนมารวมกันเป็นชุมชนมีแรงปรารถนา (Passion) มีความสนใจ/รู้สึกเป็นเจ้าของความรู้ มองเห็นคุณค่าในการปฎิสัมพันธ์ระหว่างกัน มีความรู้ที่ลึกซึ้ง แลกเปลี่ยนข้อมูล/คำแนะนำ

CoP เป็นกุญแจสำคัญในการขับเคลื่อนกระบวนการจัดการความรู้ที่ทรงพลัง เพราะCoPสะท้อนให้เห็นความสัมพันธ์ทางสังคมในแนวราบ องค์ประกอบของ CoP ผู้สนับสนุนกลุ่ม มีผู้ดำเนินการหลัก มีผู้บันทึก/สรุปประเด็น สมาชิก

เรื่องที่สนใจร่วมกัน ชุมชนนักปฏิบัติ เปรียบเหมือนเก้าอี้สามขา ชุมชนนักปฏิบัติ CoP เรื่องที่สนใจร่วมกัน แนวปฏิบัติ ชุมชน ชุมชนนักปฏิบัติ เปรียบเหมือนเก้าอี้สามขา

ตำบลบูรณาการ 5 กลุ่มวัยและอนามัยสิ่งแวดล้อม สำเร็จได้ด้วยมือเรา