โครงการอบรม เรื่องการส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล โรงพยาบาลสัตหีบ กม.10 ปีงบประมาณ 2560 วันที่ 23 พฤษภาคม 2560.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

เชื่อมโยงนโยบายแต่ละระดับ
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
การประชุมหารือกรอบการ พัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) กรมการ แพทย์ นายแพทย์ณรงค์ อภิกุลวณิช รองอธิบดีกรมการแพทย์ วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2558.
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหาร จัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการ.
2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประเด็น / ตัวชี้วัดผลงาน 1. การกำกับดูแลคุณภาพน้ำบริโภคในภาชนะ.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ภก.กิตติศักดิ์ ไท้ทอง
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอน้ำพอง
รองผู้อำนวยการสำนักบริหารการสาธารณสุข
RDU & AMR Policy & Key Success Factors
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
SERVICE PLAN สาขาโรคไม่ติดต่อ.
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
ณ โรงแรมเดอะ รอยัล เจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท จ.นครปฐม
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
กิจกรรมหลัก ภาคกลาง 12กันยายน 2560
แนวทางการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปี 2562
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
Service plan :RDU-AMR ปี 60 ไตรมาส 2 จังหวัดเชียงใหม่
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ)
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
การประชุมคณะทำงานพัฒนามาตรฐานงานเภสัชกรรมในโรงพยาบาล และหน่วยบริการปฐมภูมิ ครั้งที่ 1/2562 ณ ห้องประชุมเหล็กน้ำพี้
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการอบรม เรื่องการส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล โรงพยาบาลสัตหีบ กม.10 ปีงบประมาณ 2560 วันที่ 23 พฤษภาคม 2560

หัวหน้ากลุ่มงานเภสัชกรรมและคุ้มครองผู้บริโภค รพ สัตหีบ กม.10 แนวทางการดำเนินงาน เป้าหมาย ตัวชี้วัด และการกำกับติดตาม ประเมินผลการพัฒนาระบบบริการให้มีการใช้ยาอย่างสมเหตุผล ปี 2560 ภญ ฉัตรกุล มณีพรหม หัวหน้ากลุ่มงานเภสัชกรรมและคุ้มครองผู้บริโภค รพ สัตหีบ กม.10

แนวทางการดำเนินงาน เป้าหมาย ตัวชี้วัด และการกำกับติดตาม ประเมินผลการพัฒนาระบบบริการให้มีการใช้ยาอย่างสมเหตุผล ปี 2560 ระดับโรงพยาบาล กำหนดทีมผู้รับผิดชอบในการขับเคลื่อนการพัฒนาระบบบริการให้มีการใช้ยาอย่างสมเหตุผล กำหนดเป้าหมายและตัวชี้วัดของโรงพยาบาลให้สอดคล้องกับนโยบายของจังหวัด/เขตสุขภาพ พัฒนามาตรการและขับเคลื่อนการดำเนินงานพัฒนาระบบบริการให้มีการใช้ยาอย่างสมเหตุผล ทบทวนบัญชียาโรงพยาบาล ให้มีรายการยาที่ควรมีและไม่ควรมีตามคู่มือการดำเนินงาน ส่งเสริมการใช้ยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ

คณะกรรมการโรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล

บทบาทและหน้าที่คณะกรรมการRDU กำหนดนโยบาย พัฒนาระบบ กลไกและเครื่องมือในการกำกับดูแล เพื่อให้เกิดการใช้ยาอย่างสมเหตุผล พัฒนาระบบ กลไกป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดจากการใช้ยาต้านจุลชีพ และการดื้อยาของเชื้อก่อโรค ส่งเสริมการใช้ยาของแพทย์ บุคลากรทางการแพทย์ และประชาชนให้เป็นไปอย่างสมเหตุผล ถูกต้องและคุ้มค่า พัฒนากลวิธีในการสร้างความตระหนักรู้ ซึ่งจะนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของบุคลากรทางการแพทย์ และผู้รับบริการ เพื่อนำไปสู่การใช้ยาอย่างสมเหตุผลที่ยั่งยืนในสังคม ติดตาม ประเมินผลการปฏิบัติตามนโยบายส่งเสริมการใช้ยาสมเหตุผล

แนวทางการดำเนินงาน เป้าหมาย ตัวชี้วัด และการกำกับติดตาม ประเมินผลการพัฒนาระบบบริการให้มีการใช้ยาอย่างสมเหตุผล ปี 2560 ระดับโรงพยาบาล พัฒนามาตรการและขับเคลื่อนการดำเนินงานพัฒนาระบบบริการให้มีการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (ต่อ) พัฒนาฉลากยาและฉลากยาเสริม ให้มีชื่อยาภาษาไทย ขนาดยา วิธีใช้ ข้อควรระวัง และข้อบ่งใช้อย่างน้อย 13 กลุ่มยา มีการดำเนินการให้เกิดจริยธรรมว่าด้วยการจัดซื้อและส่งเสริมการขายยา และส่งเสริมจรรยาบรรณแพทย์ในการสั่งใช้ยา ส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบ

แนวทางการดำเนินงาน เป้าหมาย ตัวชี้วัด และการกำกับติดตาม ประเมินผลการพัฒนาระบบบริการให้มีการใช้ยาอย่างสมเหตุผล ปี 2560 ระดับโรงพยาบาล พัฒนามาตรการและขับเคลื่อนการดำเนินงานพัฒนาระบบบริการให้มีการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (ต่อ) ส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในผู้ป่วยกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) พัฒนาการดูแลด้านยาเพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วยกลุ่มพิเศษที่มีความเสี่ยง เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนจากยาและในกลุ่มผู้ป่วยที่ต้องใช้ยาอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง สร้างความตระหนักรู้ของบุคลากรทางการแพทย์และผู้รับบริการต่อการใช้ยาอย่างสมเหตุผล

แนวทางการดำเนินงาน เป้าหมาย ตัวชี้วัด และการกำกับติดตาม ประเมินผลการพัฒนาระบบบริการให้มีการใช้ยาอย่างสมเหตุผล ปี 2560 ระดับโรงพยาบาล จัดทำแผนปฏิบัติการการจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพ (AMR) ในสถานพยาบาลและมีระบบติดตามและรายงานอัตราการติดเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ รายงานผลการดำเนินงานทุก 3 เดือนให้ สสจ.และสำนักบริหารการสาธารณสุขตามลำดับชั้น

ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด RDU ของ รพ.สัตหีบ กม.10 เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ปี 2559 ปี 2560 (ไตรมาส 1) (ไตรมาส 2) 1. ร้อยละของรายการยาที่สั่งใช้ยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ ≥ ร้อยละ 90 95.71 95.47 96.08 2. ประสิทธิผลการดำเนินงานชองคณะกรรมการ PTC ในการชี้นำสื่อสารและส่งเสริมเพื่อนำไปสู่การเป็นโรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล ระดับ 3 ระดับ 1 ระดับ 2 3.การดำเนินงานในการจัดทำฉลากยามาตรฐาน ฉลากยาเสริมและเอกสารข้อมูลยาใน 13 กลุ่มที่มีรายละเอียดครบถ้วน รายการยา 13 กลุ่ม ระดับ 4

ฉลากยาช่วย

ฉลากยาภาษาไทย

ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด RDU ของ รพ.สัตหีบ กม.10 เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ปี 2559 ปี 2560 (ไตรมาส 1) (ไตรมาส 2) 4. จำนวนรายการยาที่ควรพิจารณาตัดออก 8 รายการซึ่งยังคงมีอยู่ในบัญชีรายการยาของโรงพยาบาล ≤ 1 รายการ 1 รายการ รายการ 5. การดำเนินงานเพื่อส่งเสริมจริยธรรมในการจัดซื้อและส่งเสริมการขายยา ระดับ 3 6.ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคติดเชื้อที่ระบบการหายใจช่วงบนและหลอดลมอักเสบเฉียบพลันในผู้ป่วยนอก ≤ ร้อยละ 20 54.31 58.18 54.09 7. ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน 68.41 64.01 65.44

ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด RDU ของ รพ.สัตหีบ กม.10 เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ปี 2559 ปี 2560 (ไตรมาส 1) (ไตรมาส 2) 8. ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในบาดแผลสดจากอุบัติเหตุ ≤ ร้อยละ 40 60.90 60.51 63.65 9. ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในหญิงคลอดปกติครบกำหนดทางช่องคลอด ≤ ร้อยละ 10 5.41 4.12 10. ร้อยละของผู้ป่วยความดันเลือดสูงทั่วไปที่ใช้ RAS blockade(ACEI/ARB/Renin inhibitor) 2 ชนิดร่วมกัน ในการรักษาภาวะความดันเลือดสูง ร้อยละ 0 0.13 11. ร้อยละของผู้ป่วยที่ใช้ glibenclamide ในผู้ป่วยที่มีอายุมากกว่า 65 ปี หรือมี eGFR น้อยกว่า 60 มล./นาที/1.73 ตารางเมตร ≤ ร้อยละ 20 0.23/ 0.48 0.36/ 0.59 0.14/0

ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด RDU ของ รพ.สัตหีบ กม.10 เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ปี 2559 ปี 2560 (ไตรมาส 1) (ไตรมาส 2) 12. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ใช้ยา Metformin เป็นยาชนิดเดียวหรือร่วมกับยาอื่นเพื่อควบคุมระดับน้ำตาล โดยไม่มีข้อห้ามใช้ (ห้ามใช้หาก eGFR < 30 มล./นาที/1.73 ตร.ม.) ≥ ร้อยละ 80 58.01 46 59.49 13. ร้อยละของผู้ป่วยที่มีการใช้ยากลุ่ม NSAIDs ซ้ำซ้อน ≤ ร้อยละ 5 14. ร้อยละผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระดับ 3 ขึ้นไปที่ได้รับยา NSAIDs ≤ ร้อยละ 10 1.62 0.21 0.42 15. ร้อยละผู้ป่วยโรคหืดเรื้อรังที่ได้รับยา inhaled corticosteroid 80.11 86.55 91.03

ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด RDU ของ รพ.สัตหีบ กม.10 เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ปี 2559 ปี 2560 (ไตรมาส 1) (ไตรมาส 2) 16. ร้อยละผู้ป่วยนอกสูงอายุ (มากกว่า 65 ปี) ที่ใช้ยากลุ่ม long-acting benzodiazepine ได้แก่ chlordiazepoxide, diazepam, dipotassium chlorazepate ≤ ร้อยละ 5 0.33 0.49 0.34 17. จำนวนสตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับยาที่ห้ามใช้ ได้แก่ warfarin, statins, ergots เมื่อรู้ว่าตั้งครรภ์แล้ว 18. ร้อยละของผู้ป่วยเด็กที่ได้รับการวินิจฉัยเป็นโรคติดเชื้อทางเดินหายใจ (ครอบคลุมโรคตามรหัส ICD-10 ตาม RUA-URI) ได้รับยาต้านฮีสตามีนชนิด non-sedating ≤ ร้อยละ 20 4.44 5.35 5.86

ข้อมูลจาก HDC

ข้อมูลจาก HDC

ข้อมูลจาก HDC

ข้อมูลจาก HDC

ข้อมูลจาก HDC

ข้อมูลจาก HDC

ตัวอย่างผลการดำเนินงานของ รพสต ในอำเภอหนองใหญ่ ตัวอย่างผลการดำเนินงานของ รพสต ในอำเภอหนองใหญ่

แนวทางการดำเนินงาน เป้าหมาย ตัวชี้วัด และการกำกับติดตาม ประเมินผลการพัฒนาระบบบริการให้มีการใช้ยาอย่างสมเหตุผล ปี 2560 ระดับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จัดทำแผนขับเคลื่อนมาตรการและสนับสนุนการดำเนินงานของ รพ.สต. กำหนดมาตรการการส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบ ในกลุ่มโรคติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบนและโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจในการรักษาโรคติดเชื้อและการใช้ยาปฏิชีวนะให้บุคลากรทางการแพทย์ สร้างความเข้าใจในการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลให้ผู้ป่วยและประชาชน เฝ้าระวังการจำหน่ายยาปฏิชีวนะ ยาสเตียรอยด์ และ NSAIDs และผลิตภัณฑ์ที่เป็นอันตราย รายงานผลการดำเนินงานทุก 3 เดือนให้โรงพยาบาลแม่ข่าย

ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด RDU ของ รพ.สต เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ปี 2559 ปี 2560 (ไตรมาส 1) (ไตรมาส 2) 19. ร้อยละของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและหน่วยบริการปฐมภูมิในเครือข่ายที่มีอัตราการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคติดเชื้อที่ระบบการหายใจช่วงบนและหลอดลมอักเสบเฉียบพลัน ≤ ร้อยละ 20 100% ยังไม่ผ่านทุกแห่ง 20. ร้อยละของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและหน่วยบริการปฐมภูมิในเครือข่ายที่มีการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน ≤ ร้อยละ 20

ประเมินผลการดำเนินงานระดับโรงพยาบาล มีคณะกรรมการ PTC ระดับโรงพยาบาล มีการกำหนดทีมผู้รับผิดชอบการพัฒนาระบบบริการให้มีการใช้ยาอย่างสมเหตุผล มีการพัฒนาด้านสารสนเทศให้สามารถเก็บรายงานตามตัวชี้วัดได้ มีมาตรการ/กิจกรรม ต่อไปนี้ ทบทวนบัญชียาโรงพยาบาล ส่งเสริมการใช้ยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ ฉลากยาและฉลากเสริม ที่มีชื่อยาภาษาไทย ขนาดและวิธีใช้ ข้อควรระวังและข้อบ่งใช้ ส่งเสริมจริยธรรมว่าด้วยการจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์และจรรยาบรรณแพทย์ในการสั่งจ่ายยา ส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบ ส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) การดูแลด้านยาเพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วยกลุ่มพิเศษที่มีความเสี่ยงและในกลุ่มผู้ป่วยที่ต้องใช้ยาอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง มีกิจกรรมการสื่อสารเพื่อสร้างความตระหนักรู้ของบุคลากรทางการแพทย์และผู้รับบริการ มีแผนปฏิบัติการให้ครอบคลุมทั้งการเฝ้าระวังทางห้องปฏิบัติการ การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา การกำกับดูแลการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล

ประเมินผลการดำเนินงานระดับโรงพยาบาล (ต่อ) มีกิจกรรมในการพัฒนาความรู้ความเข้าใจในการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบให้บุคลากรที่ปฏิบัติหน้าที่ใน รพ.สต เครือข่าย บูรณาการตัวชี้วัดการใช้ยาอย่างสมเหตุผลใน service plan สาขาต่างๆ มีรายงานข้อมูลตามตัวชี้วัด (ข้อมูล 3 เดือน รายไตรมาส) RDU 20 ตัวชี้วัด

ประเมินผลการดำเนินงานระดับ รพ.สต. มีกิจกรรมหรือเผยแพร่สื่อเพื่อสร้างความเข้าใจในการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลให้ผู้ป่วยและประชาชน มีแผนเฝ้าระวังการจำหน่ายยาปฏิชีวนะ ยาสเตียรอยด์ และ NSAIDs และผลิตภัณฑ์ที่เป็นอันตรายในร้านชำ มีการพัฒนาด้านสารสนเทศให้สามารถเก็บรายงานตามตัวชี้วัด มีข้อมูลอัตราการใช้ยาปฏิชีวนะตามตัวชี้วัด RDU 2 ตัวชี้วัด

ความเชื่อมโยงระหว่าง RDU& RUA RDU = Rational drug use = hospital RUA= Responsible Use of Antibiotics = รพ.สต. URI , AD

การประเมินผลการดำเนินงาน รพ ที่ผ่านเกณฑ์ RDU ประกอบด้วย รพ ผ่านเกณฑ์ 18 ข้อ และ รพสต ผ่านเกณฑ์ 2 ข้อ

THANK YOU..........