Analyzing and Recording Business Transactions

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักมาตรฐานด้านการบัญชีภาครัฐ
Advertisements

บทที่ 2 การลงทุนในหุ้นสามัญ
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
โครงงานฝึกปฏิบัติงาน “ ” นาย / นางสาว รหัสประจำตัว กลุ่มเรียน ……………
บทนำ บริษัทในเครือมักจะมีธุรกรรมที่เกี่ยวข้องกัน
บทที่5 การควบคุมการผลิตและต้นทุนการผลิต
บทที่ 6 งบประมาณ.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
การติดตามประเมินผล และรายงาน.
BUNCHEE TIPS BY AOODY FOR MM MEETING ON FEBUARY 17, 2014.
© The McGraw-Hill Companies, Inc., 2003 McGraw-Hill/Irwin Slide 2-1 BASIC FINANCIAL STATEMENTS Chapter 3.
บัญชี อิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต นายยงยุทธ พันตารักษ์ พัฒนาการอำเภอเมือง พิจิตร จังหวัดพิจิตร.
คำแนะนำ นายทะเบียนสหกรณ์ เรื่อง วิธีปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน พ. ศ เรื่อง วิธีปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน พ.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
บัญชีกลุ่มวิสาหกิจ ชุมชน. ประเด็นสำคัญ  การปฏิบัติการเบื้องต้นเกี่ยวกับ การเงินการบัญชี  ขั้นตอนการจัดทำบัญชี  การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับ 1. การรับเงินค่าหุ้น.
สัญญาก่อสร้าง.
กระบวนการทางการบัญชี บันทึก  สมุดรายวันขั้นต้น
แนวปฏิบัติทางบัญชีสิ้นปีงบประมาณ
บทเรียนโปรแกรมเพื่อการทบทวน
ระบบการควบคุมภายในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
สำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ สาขา 7
Accounting Principles
Accounting Principles I
การบัญชีเบื้องต้น Basic Accounting
Principles of Accounting
ระบบบัญชีต้นทุนและการจัดทำงบ
บทที่ 5 การประมวลผลรายการค้า
บทที่ 11 วงจรรายจ่าย.
ACCOUNTING FOR INVENTORY
Principles of Accounting II
วัฏจักรทางการบัญชีและการวิเคราะห์รายการค้า
บทที่ 5 การปิดบัญชี และการจัดทำงบการเงิน
การเงินธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1104
บัญชีเบื้องต้น 1 (Basis Accounting I)
การปรับปรุงบัญชี และการแก้ไขข้อผิดพลาด
การบันทึกรายการค้าในสมุดบัญชี
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
การวิเคราะห์ ต้นทุน ปริมาณ กำไร
บทที่ 5 การวางแผนทางการเงิน ผศ. อรทัย รัตนานนท์ รศ.อรุณรุ่ง วงศ์กังวาน.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ขั้นที่ 3 การเตรียมการจ่ายชำระค่าสินค้าหรือบริการ กระบวนการเตรียมจ่ายชำระค่าสินค้า โดยเริ่มจากการนำใบแจ้งหนี้หรือใบกำกับสินค้าที่ได้รับจากบริษัทผู้ขายมาตรวจสอบความถูกต้องกับข้อมูลในใบรับสินค้าและใบส่งสินค้าที่ได้รับจากฝ่ายคลังสินค้า.
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
แนวปฏิบัติทางการบัญชี มาตรฐานการบัญชีภาครัฐ และ การนำเสนองบการเงิน
การจัดทำบัญชีสิ้นปีงบประมาณ
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
กลุ่มเกษตรกร.
บทที่ 7 การจัดการทางบัญชี
ประเด็นปัญหาที่ตรวจพบจากการตรวจสอบ
สำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ สาขา 7
Financial Reporting AND Analysis Accounting Information
คำแนะนำ ฯ แบ่งออกเป็น 5 ส่วน
บทที่ 1 กรอบแนวคิดสำหรับการรายงานทางการเงิน.
สรุปมาตรฐานการบัญชี เรื่อง สัญญาก่อสร้าง
การเงินทางธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1103
บทที่ 6 เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
กระดาษทำการและการปิดบัญชี
บทที่ 10 วงจรรายได้.
Business Finance FI 212 Lectured By ญาลดา พรประเสริฐ.
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
การวิเคราะห์งบการเงิน
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
Principles of Accounting I
บทที่ 2 งบการเงิน ความหมายของงบการเงิน
Principles of Accounting I
บทที่ 9 สมุดรายวันเฉพาะและสมุดบัญชีแยกประเภทย่อย
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Analyzing and Recording Business Transactions Ch1-business and accounting by Nittaya

Ch1-business and accounting by Nittaya การวิเคราะห์และบันทึกเหตุการณ์ทางธุรกิจ (Analyizing and Recording Business Transection) 1 Analyze Transactions step 2 step Record the effects of transactions Summarize the effects of transaction Posting journal entries. Preparing a trial balance 3 step Prepare reports 1. Adjusting entries. 2. Preparing financial statements 3. Closing the books 4 step Ch1-business and accounting by Nittaya

Overview of the Accounting Process Analyze Transaction Source documents Post to the ledger Prepare a trial balance Prepare financial statements and report Record transactions Ch1-business and accounting by Nittaya

รายการค้า (Transactions and Events) การแลกเปลี่ยนผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจระหว่างระหว่างกลุ่มคน 2 กลุ่ม . External Transactions occur between the organization and an outside party. Internal Transactions occur within the organization. Ch1-business and accounting by Nittaya

Ch1-business and accounting by Nittaya Source Documents Checks Purchase Orders Bank Statement Sales Invoices Ch1-business and accounting by Nittaya

Ch1-business and accounting by Nittaya The Account เมื่อเกิดรายการค้าขึ้นจะส่งผลให้เกิดการเพิ่มขึ้นหรือลดลงของสินทรัพย์, หนี้สิน, ส่วนของเจ้าของ, รายได้หรือค่าใช้จ่าย Ch1-business and accounting by Nittaya

Ch1-business and accounting by Nittaya Exh. 3.3 Accounting Equation Liabilities Equity Assets = + + – + – Owner’s Capital Owner’s Withdrawals Revenues Expenses Ch1-business and accounting by Nittaya

ค่าเบี้ยประกันล่วงหน้า Asset Accounts ค่าเบี้ยประกันล่วงหน้า เงินสด ตั๋วเงินรับ ลูกหนี้ ค่าใช้จ่าย ล่วงหน้า ASSETS วัสดุ สนง. ที่ดิน วัสดุโรงงาน อาคาร อุปกรณ์ Ch1-business and accounting by Nittaya

Ch1-business and accounting by Nittaya Liability Accounts เจ้าหนี้ ตั๋วเงินจ่าย LIABILITIES รายได้รับล่วงหน้า หนี้สินอื่นๆ Ch1-business and accounting by Nittaya

Ch1-business and accounting by Nittaya Equity Accounts ทุนจากเจ้าของ จ่ายคืนให้เจ้าของ Equities รายได้ ค่าใช้จ่าย Ch1-business and accounting by Nittaya

T-Account เป็นเครื่องมือที่ใช้สำหรับอธิบาย การวิเคราะห์รายการค้า Account Name (Left Side) Debit (Right Side) Credit Ch1-business and accounting by Nittaya

การวิเคราะห์รายการค้า (Business Transaction Analysis) จากสมการบัญชี... สินทรัพย์ = หนี้สิน + ส่วนของเจ้าของ จะสามารถเขียนสมการใหม่ได้ว่า... สินทรัพย์ = หนี้สิน + ส่วนของเจ้าของ + (รายได้-ค่าใช้จ่าย) สินทรัพย์ + ค่าใช้จ่าย = หนี้สิน + ส่วนของเจ้าของ + รายได้ Ch1-business and accounting by Nittaya

เป็นบัญชีที่อยู่ในกลุ่มเดียวกัน นั่นคือ สินทรัพย์และ ค่าใช้จ่าย เป็นบัญชีที่อยู่ในกลุ่มเดียวกัน นั่นคือ เมื่อมีการเพิ่มขึ้น จะบันทึกการเพิ่มไว้ด้านซ้ายมือ หรือด้านเดบิต (Debit) ตามสมการบัญชี หนี้สิน ส่วนของเจ้าของ และรายได้ เป็นบัญชีที่อยู่ในกลุ่มเดียวกัน นั่นคือ เมื่อมีการเพิ่มขึ้น จะบันทึกการเพิ่มไว้ด้านขวามือ หรือด้านเเครดิต (Credit) ตามสมการ Ch1-business and accounting by Nittaya

หลักบัญชีคู่ (Double-Entry Accounting) Liabilities Equity Assets = + ASSETS + - LIABILITIES - + EQUITIES - + Debit Credit Ch1-business and accounting by Nittaya

หลักบัญชีคู่ที่มีผลกระทบต่อส่วนของเจ้าของ Equity Revenues Expenses Owner’s Capital Owner’s Withdrawals _ + Debit Credit Capital - + Withdrawals + - Expenses Revenues Ch1-business and accounting by Nittaya

Ch1-business and accounting by Nittaya การบันทึกบัญชี เพิ่ม ลด คงเหลือ สินทรัพย์ Dr. Cr. Dr. Cr. Cr. หนี้สิน Dr. Cr. Dr. Cr. ส่วนของเจ้าของ Cr. Dr. Cr. รายได้ Dr. Cr. Dr. ค่าใช้จ่าย Ch1-business and accounting by Nittaya

Ch1-business and accounting by Nittaya (ต่อ) การบันทึกบัญชี เพิ่ม ลด คงเหลือ สินทรัพย์ ค่าใช้จ่าย Dr. Cr. Dr. Cr. หนี้สิน ส่วนของเจ้าของ รายได้ Dr. Cr. Ch1-business and accounting by Nittaya

การวิเคราะห์รายการค้า (Analyzing Transactions) วิเคราะห์รายการค้าและเอกสารที่เกี่ยวข้อง ระบุผลกระทบของรายการค้าที่มีต่อสมการบัญชี ควรวิเคราะห์ต่อด้วยว่ามีผลกระทบต่องบการเงินใดบ้าง Ch1-business and accounting by Nittaya

Analyzing Transactions ตัวอย่างที่ 1 รายการค้า : มาช้านำเงินมาลงทุนในร้านขายซีดีของตน 30,000 บาท ทุน-มาช่า เงินสด ทดลองผ่านรายการในบัญชีตัวที (T-accounts) Ch1-business and accounting by Nittaya

Analyzing Transactions ตัวอย่างที่ 1 รายการค้า : มาช้านำเงินมาลงทุนในร้านขายซีดีของตน 30,000 บาท ทุน-มาช่า เงินสด (1) 30,000 (1) 30,000 Ch1-business and accounting by Nittaya

Analyzing Transactions ตัวอย่างที่ 2 รายการค้า : ซื้อวัสดุสำนักงานเป็นเงินสด 2,500 บาท วัสดุ สนง. เงินสด (1) 30,000 (2) 2,500 (2) 2,500 Ch1-business and accounting by Nittaya

Analyzing Transactions ตัวอย่างที่ 3 รายการค้า : ซื้อเครื่องจักรเป็นเงินสด 26,000 บาท เครื่องจักร เงินสด (1) 30,000 (2) 2,500 (3) 26,000 (3) 26,000 Ch1-business and accounting by Nittaya

Analyzing Transactions ตัวอย่าง 4 รายการค้า : ซื้อวัสดุสำนักงานเป็นเงินเชื่อ 7,100 บาท วัสดุ สนง. เจ้าหนี้ (2) 2,500 (4) 7,100 (4) 7,100 Post the transaction in the T-accounts and complete the transaction analysis. Ch1-business and accounting by Nittaya

Steps in Processing Transactions Liabilities Equity Assets = + Step 2: Analyze transactions. Step 1: Examine source documents. ยังจำ 2 ขั้นตอนนี้ได้มั้ยครับ?…พบกับขั้นตอนต่อไปได้เลยครับ Ch1-business and accounting by Nittaya

Steps in Processing Transactions Step 1: Examine source documents. Liabilities Equity Assets = + Step 2: Analyze transactions. Step 5: Prepare a trial balance. Step 4: Record the journal information in a ledger. Step 3: Record transactions in a journal. Ch1-business and accounting by Nittaya

การบันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไป วันที่เกิดรายการ ชื่อบัญชีที่ถูกกระทบ สมุดรายวันทั่วไป รายการ วันที่ หน้า รว. เดบิต เครดิต หน้า….. 2544 ธ.ค. 1 30,000 เงินสด 30,000 ทุน-มาช่า เจ้าของนำเงินมาลงทุน จำนวนเงินทั้งด้าน เดบิตและเครดิต คำอธิบายรายการ Ch1-business and accounting by Nittaya

Ch1-business and accounting by Nittaya หน้า….. สมุดรายวันทั่วไป วันที่ รายการ หน้า รว. เดบิต เครดิต 2544 ธ.ค. 1 2,500 26,000 7,100 วัสดุสำนักงาน เงินสด ซื้อวัสดุสำนักงานเป็นเงินสด เครื่องจักร ซื้อเครื่องจักรเป็นเงินสด เจ้าหนี้ ซื้อวัสดุสำนักงานเป็นเงินเชื่อ Ch1-business and accounting by Nittaya

Ch1-business and accounting by Nittaya ชื่อบัญชี.............. เลขที่....... เดบิต เครดิต บาท สต. รายการ ว/ด/ป หน้า บัญชี หน้า บัญชี ว/ด/ป รายการ บาท สต. Ch1-business and accounting by Nittaya

Ch1-business and accounting by Nittaya ชื่อบัญชี เงินสด เลขที่ 111 ว/ด/ป รายการ หน้า บัญชี เดบิต บาท สต. เครดิต 2544 ธ.ค. 1 ทุน-มาช่า รว.1 30,000 Ch1-business and accounting by Nittaya

Ch1-business and accounting by Nittaya ชื่อบัญชี เงินสด เลขที่ 111 ว/ด/ป รายการ หน้า บัญชี เดบิต บาท สต. เครดิต 2,500 26,000 2544 ธ.ค. 1 2544 ธ.ค. 1 ทุน-มาช่า รว.1 30,000 วัสดุ สนง. เครื่องจักร Ch1-business and accounting by Nittaya

สมุดแยกประเภทชนิดมียอดคงเหลือหรือสมุดแยกประเภท 3 ช่อง สมุดแยกประเภทแบบตัวทีมีประโยชน์ในการอธิบายรายการค้า แต่สมุดแยกประเภทแบบ 3 ช่องจะทำให้เห็นผลสรุปของการเปลี่ยนแปลงโดยตลอด เงินสด 111 Date Description PR Debit Credit Balance 2544 ลงทุนจากเจ้าของ Dec. 1 รว1 30,000 30,000 ซื้อวัสดุสำนักงาน รว1 2,500 27,500 ซื้อเครื่องจักร รว1 26,000 1,500 Ch1-business and accounting by Nittaya

ผังบัญชี (Chart of Account) เป็นการกำหนดชื่อและรหัสของบัญชีแต่ละหมวดที่จัดประเภทไว้ ซึ่ง สามารถกำหนดได้ หลายรูปแบบ และ หลายขนาด ตามความต้องการของผู้ใช้ Ch1-business and accounting by Nittaya

ผังบัญชี (Chart of Account) หมวดบัญชี 1 สินทรัพย์ 2 หนี้สิน 3 ส่วนของเจ้าของ รายได้ 4 ค่าใช้จ่าย 5 Ch1-business and accounting by Nittaya

1 1 0 1 1000 สินทรัพย์ บัญชีในหมวดสินทรัพย์ สินทรัพย์ในกลุ่มที่ 1 (หมุนเวียน) สินทรัพย์ในกลุ่มที่ 1 ลำดับที่ 1 1 1 0 1 Ch1-business and accounting by Nittaya

หนี้สินในกลุ่มที่ 1 (ระยะสั้น) หนี้สินหมุนเวียน ลำดับที่ 1 2000 บัญชีในหมวดหนี้สิน หนี้สินในกลุ่มที่ 1 (ระยะสั้น) หนี้สินหมุนเวียน ลำดับที่ 1 2 1 0 1 Ch1-business and accounting by Nittaya

สินทรัพย์ : จัดลำดับหมวดตามสภาพคล่อง (ความสามารถในการเปลี่ยนเป็นเงินสดได้อย่างรวดเร็ว) หนี้สิน : จัดลำดับหมวดตามระยะเวลาชำระหนี้ ส่วนของเจ้าของ : จัดลำดับตามความถาวรของเงินทุน รายได้ : จัดลำดับตามรายได้หลัก (เกิดขึ้นประจำ) และรายได้รอง (เกิดขึ้นไม่บ่อยนัก) ค่าใช้จ่าย : จัดลำดับตามหมวดรายจ่าย คือ ต้นทุนขาย ค่าใช้จ่าย ดำเนินงาน และค่าใช้จ่ายอื่นๆ Ch1-business and accounting by Nittaya

Ch1-business and accounting by Nittaya การจัดทำงบทดลอง วัตถุประสงค์ เพื่อพิสูจน์ความถูกต้องตามหลักบัญชีคู่ เพื่อให้เกิดความสะดวกในการจัดทำงบการเงิน Ch1-business and accounting by Nittaya

วิธีการจัดทำงบทดลอง รวบรวมยอดคงเหลือของแต่ละบัญชี จากบัญชีแยกประเภททั้งหมด จัดยอดคงเหลือตามหมวดบัญชี แบ่งยอดคงเหลือเป็น 2 กลุ่ม คือ ยอดคงเหลือด้านเดบิต และยอดด้านเครดิต หายอดคงเหลือของทั้ง 2 ด้าน (เดบิต และ เครดิต) Ch1-business and accounting by Nittaya

Ch1-business and accounting by Nittaya ตัวอย่าง ยอดคงเหลือจากสมุดบัญชีแยกประเภทของกิจการร้านซีดีมาช่า มีดังนี้ เงินสด 1,500 เจ้าหนี้ 71,000 วัสดุสำนักงาน 9,600 ทุน-มาช่า 30,000 เครื่องจักร 26,000 Ch1-business and accounting by Nittaya

Ch1-business and accounting by Nittaya งบทดลอง ณ 31 ธ.ค. 2544 ชื่อบัญชี เดบิต เครดิต เงินสด 1,500 วัสดุสำนักงาน 9,600 เครื่องจักร 26,000 เจ้าหนี้ 7,100 ทุน-มาช่า 30,000 37,100 37,100 / Ch1-business and accounting by Nittaya

สาเหตุที่งบทดลองไม่ลงตัว ยกยอดคงเหลือจากสมุดแยกประเภทมาใส่ในงบฯ สลับข้างกัน เขียนตัวเลขในงบทดลองไม่ตรงกับสมุดแยกประเภท หายอดคงเหลือในสมุดแยกประเภทไม่ถูกต้อง ไม่ได้ลงบัญชีตามหลักบัญชีคู่ เป็นต้น Ch1-business and accounting by Nittaya

วิธีแก้ไขเพื่อให้งบทดลองลงตัว 1. ทดลองบวกตัวเลขในงบทดลองอีกครั้งหนึ่ง 2. เปรียบเทียบยอดคงเหลือในบัญชีแยกประเภทกับยอดในงบทดลอง 3. คำนวณยอดคงเหลือในบัญชีแยกประเภทอีกครั้ง 4. ตรวจทานการผ่านรายการจากสมุดรายวันมายังสมุดแยกประเภท Ch1-business and accounting by Nittaya

การบันทึกรายการปิดบัญชี วัตถุประสงค์ 1. คำนวณหาผลการดำเนินงาน 2. กำจัดบัญชีชั่วคราวให้หมดไป Ch1-business and accounting by Nittaya

การบันทึกรายการปิดบัญชี 1 ปิดรายได้ทุกรายการ เข้าบัญชีกำไรขาดทุน 2 ปิดค่าใช้จ่ายทุกรายการ เข้าบัญชีกำไรขาดทุน 3 ปิดบัญชีกำไรขาดทุนเข้าบัญชีกำไรสะสม 4 ปิดบัญชีเงินปันผล เข้าบัญชีกำไรสะสม Ch1-business and accounting by Nittaya

การปิดบัญชี (Closing the books) ระบุบัญชีที่จะต้องถูก ปิดบัญชี ทำเพื่อกำจัดบัญชีประเภท รายได้ ค่าใช้จ่ายและการ จ่ายเงินคืนผู้เป็นเจ้าของ ให้ มียอดคงเหลือเป็นศูนย์เมื่อ สิ้นรอบระยะเวลาบัญชี (zero balance) สรุปผลการดำเนินงานใน รอบระยะเวลาบัญชี (Income Summary) บันทึกการปิดบัญชีและผ่านรายการไปสมุด GL จัดทำงบทดลองหลัง ปิดบัญชี Ch1-business and accounting by Nittaya

บัญชีชั่วคราวและบัญชีถาวร (Temporary and Permanent Accounts) Temporary Accounts Revenues Income Summary Expenses Withdrawals Permanent Accounts Assets Liabilities Owner’s Capital การปิดบัญชีจะปิดเฉพาะ บัญชีชั่วคราวเท่านั้น Ch1-business and accounting by Nittaya

เอ อยากจะปิดบัญชีจะต้องทำยังไงดีนะ??? ขั้นตอนการปิดบัญชี เอ อยากจะปิดบัญชีจะต้องทำยังไงดีนะ??? ปิดบัญชีประเภทรายได้เข้าบัญชีกำไรขาดทุน (Income Summary) ปิดบัญชีประเภทค่าใช้จ่ายเข้าบัญชีกำไรขาดทุน ปิดบัญชีกำไรขาดทุนเข้าบัญชีกำไรสะสม ปิดบัญชีเงินปันผลเข้าบัญชีกำไรสะสม Ch1-business and accounting by Nittaya

ยอดคงเหลือก่อน ปิดบัญชี กระบวนการปิดบัญชี Dividends 5,000 Retained Earning 30,000 ยอดคงเหลือก่อน ปิดบัญชี Ch1-business and accounting by Nittaya

ปิดบัญชีประเภทรายได้เข้าบัญชีกำไรขาดทุน กระบวนการปิดบัญชี ปิดบัญชีประเภทรายได้เข้าบัญชีกำไรขาดทุน Dividends 5,000 Retained Earning 30,000 Ch1-business and accounting by Nittaya

กระบวนการปิดบัญชี Dividends 5,000 30,000 Retained Earning ปิดบัญชีประเภทค่าใช้จ่ายเข้าบัญชีกำไรขาดทุน Dividends 5,000 Retained Earning 30,000 ยอดคงเหลือในบัญชีกำไรขาดทุนจะเท่ากับกำไรสุทธิในงบกำไรขาดทุน Ch1-business and accounting by Nittaya

ปิดบัญชีกำไรขาดทุนเข้ากำไรสะสม ปิดบัญชีเงินปันผลเข้ากำไรสะสม กระบวนการปิดบัญชี ปิดบัญชีกำไรขาดทุนเข้ากำไรสะสม Retained Earning 30,000 45,000 Dividends 5,000 - 5,000 15,000 5,000 ปิดบัญชีเงินปันผลเข้ากำไรสะสม - Ch1-business and accounting by Nittaya

การปิดบัญชีจะใช้ข้อมูลจากงบทดลองหลังปรับปรุง สำนักงานทนายความธรรมปิติ งบทดลองหลังปรับปรุง ณ 31 ธันวาคม 2544 เงินสด 7,185 ลูกหนี้ 10,000 อุปกรณ์สำนักงาน 30,000 เจ้าหนี้เงินกู้ 10,000 หุ้นสามัญ 30,000 กำไรสะสม 4,000 เงินปันผล 600 รายได้ค่าที่ปรึกษา 7,850 รายได้ค่าเช่า 300 ค่าเสื่อมราคา-อุปกรณ์ 375 เงินเดือน 1,610 ค่าเบี้ยประกัน 100 ค่าเช่า 1,000 ค่าวัสดุสำนักงาน 1,050 ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด 230 52,150 52,150 การปิดบัญชีจะใช้ข้อมูลจากงบทดลองหลังปรับปรุง Ch1-business and accounting by Nittaya

ปิดบัญชีประเภทรายได้เข้ากำไรขาดทุน สำนักงานทนายความธรรมปิติ งบทดลองหลังปรับปรุง ณ 31 ธันวาคม 2544 เงินสด 7,185 ลูกหนี้ 10,000 อุปกรณ์สำนักงาน 30,000 เจ้าหนี้เงินกู้ 10,000 หุ้นสามัญ 30,000 กำไรสะสม 4,000 เงินปันผล 600 รายได้ค่าที่ปรึกษา 7,850 รายได้ค่าเช่า 300 ค่าเสื่อมราคา-อุปกรณ์ 375 เงินเดือน 1,610 ค่าเบี้ยประกัน 100 ค่าเช่า 1,000 ค่าวัสดุสำนักงาน 1,050 ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด 230 52,150 52,150 ปิดบัญชีประเภทรายได้เข้ากำไรขาดทุน Ch1-business and accounting by Nittaya

ปิดบัญชีประเภทรายได้เข้าบัญชีกำไรขาดทุน เมื่อผ่านรายการจากสมุดรายวันไปสมุดแยกประเภทจะเป็นดังนี้ Ch1-business and accounting by Nittaya

ผ่านรายการปิดรายได้เข้าบัญชีกำไรขาดทุนไปที่สมุดแยกประเภททั่วไป เมื่อผ่านรายการจากสมุดรายวันไปสมุดแยกประเภทจะเป็นดังนี้ Ch1-business and accounting by Nittaya

ปิดบัญชีประเภทค่าใช้จ่ายเข้าบัญชีกำไรขาดทุน สำนักงานทนายความธรรมปิติ งบทดลองหลังปรับปรุง ณ 31 ธันวาคม 2544 เงินสด 7,185 ลูกหนี้ 10,000 อุปกรณ์สำนักงาน 30,000 เจ้าหนี้เงินกู้ 10,000 หุ้นสามัญ 30,000 กำไรสะสม 4,000 เงินปันผล 600 รายได้ค่าที่ปรึกษา 7,850 รายได้ค่าเช่า 300 ค่าเสื่อมราคา-อุปกรณ์ 375 เงินเดือน 1,610 ค่าเบี้ยประกัน 100 ค่าเช่า 1,000 ค่าวัสดุสำนักงาน 1,050 ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด 230 52,150 52,150 ปิดบัญชีประเภทค่าใช้จ่ายเข้าบัญชีกำไรขาดทุน Ch1-business and accounting by Nittaya

ปิดบัญชีประเภทค่าใช้จ่ายเข้าบัญชีกำไรขาดทุน เมื่อผ่านรายการจากสมุดรายวันไปสมุดแยกประเภทจะเป็นดังนี้ Ch1-business and accounting by Nittaya

ผ่านรายการปิดค่าใช้จ่ายเข้าบัญชีกำไรขาดทุนไปที่สมุดแยกประเภททั่วไป กำไรสุทธิ Ch1-business and accounting by Nittaya

ปิดบัญชีกำไรขาดทุนเข้ากำไรสะสม สำนักงานทนายความธรรมปิติ งบทดลองหลังปรับปรุง ณ 31 ธันวาคม 2544 เงินสด 7,185 ลูกหนี้ 10,000 อุปกรณ์สำนักงาน 30,000 เจ้าหนี้เงินกู้ 10,000 หุ้นสามัญ 30,000 กำไรสะสม 4,000 เงินปันผล 600 รายได้ค่าที่ปรึกษา 7,850 รายได้ค่าเช่า 300 ค่าเสื่อมราคา-อุปกรณ์ 375 เงินเดือน 1,610 ค่าเบี้ยประกัน 100 ค่าเช่า 1,000 ค่าวัสดุสำนักงาน 1,050 ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด 230 52,150 52,150 Exh. 5.3 ปิดบัญชีกำไรขาดทุนเข้ากำไรสะสม Ch1-business and accounting by Nittaya

ปิดกำไรขาดทุนเข้ากำไรสะสม เมื่อผ่านรายการจากสมุดรายวันไปสมุดแยกประเภทจะเป็นดังนี้ Ch1-business and accounting by Nittaya

ผ่านรายการปิดกำไรขาดทุนเข้าบัญชีกำไรสะสมไปที่สมุดแยกประเภททั่วไป Ch1-business and accounting by Nittaya

ปิดบัญชีถอนใช้ส่วนตัวเข้ากำไรสะสม สำนักงานทนายความธรรมปิติ งบทดลองหลังปรับปรุง ณ 31 ธันวาคม 2544 เงินสด 7,185 ลูกหนี้ 10,000 อุปกรณ์สำนักงาน 30,000 เจ้าหนี้เงินกู้ 10,000 หุ้นสามัญ 30,000 กำไรสะสม 4,000 เงินปันผล 600 รายได้ค่าที่ปรึกษา 7,850 รายได้ค่าเช่า 300 ค่าเสื่อมราคา-อุปกรณ์ 375 เงินเดือน 1,610 ค่าเบี้ยประกัน 100 ค่าเช่า 1,000 ค่าวัสดุสำนักงาน 1,050 ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด 230 52,150 52,150 Exh. 5.3 ปิดบัญชีถอนใช้ส่วนตัวเข้ากำไรสะสม Ch1-business and accounting by Nittaya

ปิดบัญชีเงินปันผลเข้ากำไรสะสม เมื่อผ่านรายการจากสมุดรายวันไปสมุดแยกประเภทจะเป็นดังนี้ Ch1-business and accounting by Nittaya

ผ่านรายการปิดเงินปันผลเข้าบัญชีกำไรสะสมไปที่สมุดแยกประเภททั่วไป Ch1-business and accounting by Nittaya

กำลังทำงบทดลองหลังปรับปรุงอยู่ค่ะ บัญชีที่ยังปรากฎคือบัญชีถาวร ยอดรวมด้านเดบิตและเครดิตยังคงต้องเท่ากัน กำลังทำงบทดลองหลังปรับปรุงอยู่ค่ะ Ch1-business and accounting by Nittaya

สำนักงานทนายความธรรมปิติ งบทดลองหลังปรับปรุง ณ 31 ธันวาคม 2544 เงินสด 7,185 ลูกหนี้ 10,000 อุปกรณ์สำนักงาน 30,000 เจ้าหนี้เงินกู้ 10,000 หุ้นสามัญ 30,000 กำไรสะสม 7,185 47,185 47,185 Ch1-business and accounting by Nittaya

การหายอดคงเหลือยกไป (Balancing the Accounts) ทำในสมุดแยกประเภททั่วไป เพื่อนำยอดคงเหลือที่มีอยู่ในบัญชีต่างๆ ไปสรุปผลและจัดทำรายงาน Ch1-business and accounting by Nittaya

Ch1-business and accounting by Nittaya การจัดทำงบการเงิน กิจการสามารถจัดทำงบการเงินได้จากข้อมูลที่สรุปได้จากขั้นตอนก่อนหน้านี้ Ch1-business and accounting by Nittaya

การบันทึกรายการเปิดบัญชี (Opening Entries) ทำเพื่อให้ผู้ทำบัญชีนำยอดคงเหลือที่ยกมาจากปีก่อนไปรวมในการบันทึกรายการในปีปัจจุบันเพื่อหายอดงเหลือเมื่อสิ้นรอบระยะ เวลาบัญชีต่อไป Ch1-business and accounting by Nittaya

Ch1-business and accounting by Nittaya ?? ?? End Ch1-business and accounting by Nittaya