งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Principles of Accounting II

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Principles of Accounting II"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Principles of Accounting II
Asst.Prof.Dr. Panchat Akarak School of Accounting Chiang Rai Rajabhat University Principles of Accounting II

2 Principles of Accounting II
Manufacturing Firms Outline Features of Manufacturing firm. Process accounting of Manufacturing Manufacturing cost statement Financial statement of Manufacturing firm Principles of Accounting II

3 Principles of Accounting II
Manufacturing Firms Learning Objectives Describe the relationship process manufacturing Firm. Define Manufacturing and list the objectives manufacturing company. Describe and recorded accounting process. Prepare worksheet and manufacturing cost statement. Prepare financial statement for manufacturing Firm Prepare closing entries Principles of Accounting II

4 (Manufacturing Firms)
การบัญชี กิจการ อุตสาหกรรม (Manufacturing Firms)

5 หัวข้อสำคัญ ความหมายกิจการอุตสาหกรรม ส่วนประกอบต้นทุนการผลิต
สินค้าคงเหลือของกิจการอุตสาหกรรม การคำนวณต้นทุนการผลิต การคำนวณต้นทุนสินค้าสำเร็จรูป วิธีการบัญชีกิจการอุตสาหกรรม การจัดทำงบการเงินกิจการอุตสาหกรรม การปิดบัญชีของกิจการอุตสาหกรรม

6 ความหมายกิจการอุตสาหกรรม
กิจการอุตสาหกรรม หมายถึง กิจการที่ซื้อวัตถุดิบมาแปรสภาพให้เป็นสินค้าสำเร็จรูป

7 ส่วนประกอบต้นทุนการผลิต
วัตถุทางตรง (Direct Material: DM) ค่าแรงงานทางตรง (Direct Labor: DL) ค่าใช้จ่ายในการผลิต (Manufacturing Overhead: OH) ค่าใช้จ่ายในการผลิตต่างๆ ค่าแรงงานทางอ้อม วัตถุทางอ้อม

8 ส่วนประกอบต้นทุนการผลิต
วัตถุทางตรง (Direct Material: DM) หมายถึง ทรัพยากรที่ใช้เป็นส่วนประกอบหรือชิ้นส่วน ซึ่งเป็นส่วนประกอบที่สามารถมอง หรือสังเกตได้ง่ายว่านำมาใช้เพื่อการผลิตผลิตภัณฑ์นั้นโดยตรง หรือเป็นส่วนประกอบหลัก คำว่าสังเกตได้ง่าย หมายความว่า ต้นทุนของการสังเกตเกี่ยวกับการใช้ไปของทรัพยากรเหล่านั้นมีมูลค่าน้อยกว่าประโยชน์ที่ได้รับจากการสูญเสียต้นทุนในการสังเกตเพื่อทราบมูลค่าต้นทุนเหล่านั้น ตัวอย่างเช่น ในการผลิตเฟอร์นิเจอร์ไม้ ไม้จะเป็นโครงสร้างหลักที่เห็นได้ง่ายและชัดเจนกว่า ส่วนประกอบอื่น เช่น น๊อต ตะปู น้ำยาขัดเงา สี ดังนั้นต้นทุนของไม้ทั้งหมดนั้นจัดเป็นวัตถุดิบทางตรง เป็นต้น

9 ส่วนประกอบต้นทุนการผลิต
2) ค่าแรงงานทางตรง (Direct Labor: DL) หมายถึง เป็นต้นทุนการตอบแทนพนักงานที่เป็นผู้ทำการแปรสภาพวัตถุดิบทางตรงให้เป็นสินค้าสำเร็จรูป ต้นทุนของผลประโยชน์ สวัสดิการของพนักงานที่อยู่ในส่วนของแรงงานทางตรง เช่น ค่าประกันชีวิต ค่ารักษาพยาบาล เงินรางวัล เป็นต้น สามารถรวมเป็นต้นทุนค่าแรงงานทางตรงได้ทั้งหมด ต้นทุนทั้งหมดนี้เป็นส่วนหนึ่งของการตอบแทนซึ่งจัดเป็นอัตราค่าแรงอัตราปกติ

10 ส่วนประกอบต้นทุนการผลิต
3) ค่าใช้จ่ายในการผลิต (Manufacturing Overhead: OH) หมายถึง ต้นทุนอื่น ๆ ทั้งหมดของการแปรสภาพวัตถุดิบให้เป็นสินค้าสำเร็จรูป ซึ่งเป็นต้นทุนในส่วนที่ไม่สามารถสังเกตได้ง่ายว่าถูกใช้ไปเพื่อการผลิตผลิตภัณฑ์หนึ่งโดยเฉพาะเป็นจำนวนเท่าใด แต่ทรัพยากรเหล่านี้เป็นสิ่งจำเป็นที่ต้องใช้เพื่อการผลิตนั้นสามารถทำได้อย่างมีประสิทธิภาพ เกิดความคล่องตัวและอำนวยความสะดวกในกระบวนการ ตัวอย่างของต้นทุนค่าใช้จ่ายในการผลิตได้แก่ ค่าแรงงานทางอ้อม (Indirect-labor) วัตถุดิบทางอ้อม (Indirect – material) ต้นทุนค่าใช้จ่ายในการผลิตอื่น ๆ (Other manufacturing overhead costs)

11 ส่วนประกอบต้นทุนการผลิต
3) ค่าใช้จ่ายในการผลิต (Manufacturing Overhead: OH) วัตถุดิบทางอ้อม (Indirect Materials) เป็นต้นทุนทรัพยากรที่มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับผลิตภัณฑ์ในลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่ง กล่าวคือ ไม่ได้เป็นส่วนประกอบหลักของผลิตภัณฑ์แต่เป็นสิ่งที่มีความจำเป็นต่อการผลิตผลิตภัณฑ์ หรือสินค้าสำเร็จรูป หรือเป็นส่วนประกอบหลักของผลิตภัณฑ์ที่ผลิตเสร็จแต่มูลค่าต้นทุนของวัตถุดิบดังกล่าวไม่มีนัยสำคัญ ตัวอย่างเช่น ค่าน้ำมันหล่อลื่นเครื่องจักร วัตถุดิบสิ้นเปลืองใช้ไปในการรักษาความสะอาดโรงงานชิ้นส่วนในการซ่อมบำรุงหลอดไฟฟ้าในโรงงาน เป็นต้น การพิจารณาตรวจสอบว่าต้นทุนในลักษณะดังกล่าวนั้นก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการผลิตภัณฑ์แต่ละหน่วยเท่าใด เป็นสิ่งที่ยุ่งยาก ประโยชน์ของความชัดเจนที่เกิดขึ้นไม่คุ้มค่ากับเวลาที่สูญเสียไป

12 ส่วนประกอบต้นทุนการผลิต
3) ค่าใช้จ่ายในการผลิต (Manufacturing Overhead: OH) ค่าแรงงานทางอ้อม (Indirect Labor) ต้นทุนค่าแรงงานทางอ้อมประกอบด้วย ค่าจ้างแรงงานของพนักงานในส่วนการผลิตซึ่งไม่ได้ทำงานโดยตรงในลักษณะของการแปรสภาพวัตถุดิบในกระบวนการผลิต แต่เป็นพนักงานที่ต้องอำนวยความสะดวกในการดำเนินการผลิตให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ตัวอย่างเช่น ผู้ควบคุมโรงงานหรือการผลิต พนักงานซ่อมบำรุง ผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ พนักงานบัญชีต้นทุน พนักงานรักษาความปลอดภัย พนักงานรักษาความสะอาด เป็นต้น

13 ต้นทุนการผลิต ต้นทุนการผลิต ประกอบด้วย:- -วัตถุทางตรง (DM)
-ค่าแรงงานทางตรง (DL) -ค่าใช้จ่ายในการผลิต (OH) วัตถุดิบทางอ้อม และค่าแรงงานทางอ้อม

14 ความสัมพันธ์ที่เกี่ยวกับต้นทุนผลิต
ความสัมพันธ์ที่เกี่ยวกับต้นทุนผลิต ดังนี้ ต้นทุนวัตถุดิบ รวมกับ ค่าแรงงานทางตรง เรียกว่า ต้นทุนขั้นต้น (Prime Costs) ต้นทุนแรงงานทางตรง รวมกับ ค่าใช้จ่ายการผลิต เรียกว่า ต้นทุนเปลี่ยนสภาพ (Conversion Costs) Principles of Accounting II

15 ความสัมพันธ์ที่เกี่ยวกับต้นทุนผลิต
วัตถุดิบใช้ไป = วัตถุดิบต้นงวด + ซื้อวัตถุดิบ + ค่าขนส่งเข้า – ส่งคืนและส่วนลดรับ – วัตถุดิบปลายงวด Principles of Accounting II

16 ความสัมพันธ์ที่เกี่ยวกับต้นทุนผลิต
ต้นทุนผลิตใช้ไประหว่างงวด = วัตถุดิบใช้ไป + ค่าแรงงาน + ค่าใช้จ่ายการผลิต ต้นทุนสินค้าที่ผลิตสำเร็จ = ต้นทุนผลิตใช้ไประหว่างงวด + ต้นทุนงานระหว่างทำต้นงวด – ต้นทุนงวดงานระหว่างทำปลายงวด Principles of Accounting II

17 ความสัมพันธ์ต้นทุนผลิตและต้นทุนขาย
ต้นทุนสินค้าที่ขาย = สินค้าสำเร็จรูปต้นงวด + ต้นทุนสินค้าที่ผลิตสำเร็จ – สินค้าสำเร็จรูปปลายงวด Principles of Accounting II

18 สินค้าคงเหลือของกิจการอุตสาหกรรม
สินค้าคงเหลือ (Inventories) ประกอบด้วย.- -สินค้าสำเร็จรูป (Finished Goods: FG) -สินค้าระหว่างผลิต (Goods in Process: GIP) -วัตถุดิบ (Raw Material: RM) -วัสดุโรงงาน (Factory Supplies :FS)

19 การคำนวณต้นทุนการผลิต
ตัวอย่างที่ 1 กิจการมีข้อมูลเกี่ยวกับการผลิตดังนี้ สินค้าระหว่างผลิต-ต้นปี 430,000 สินค้าระหว่างผลิต-ปลายปี 145,000 วัตถุทางตรงใช้ไป (DM) 210,000 ค่าแรงงานทางตรง (DL) 125,000 ค่าใช้จ่ายในการผลิต (OH) 80% ของค่าแรงงานทางตรง

20 การคำนวณต้นทุนการผลิต
=วัตถุทางตรง+ ค่าแรงงานทางตรง+ ค่าใช้จ่ายในการผลิต แสดงการคำนวณ ได้ดังนี้ (1) วัตถุทางตรง (DM) ,000 (2) ค่าแรงงานทางตรง (DL) 125,000 (3) ค่าใช้จ่ายในการผลิต (OH)(125,000x80%) ,000 ต้นทุนการผลิต ,000

21 การคำนวณต้นทุนสินค้าผลิตสำเร็จ
ต้นทุนสินค้าผลิตสำเร็จ (Cost of Finished goods) =สินค้าระหว่างผลิตต้นงวด + ต้นทุนการผลิต – สินค้าระหว่างผลิตปลายงวด แสดงการคำนวณได้ ดังนี้ สินค้าระหว่างผลิต ต้นงวด 430,000 บวก ต้นทุนการผลิต ,000 รวม ,000 หัก สินค้าระหว่างผลิต-ปลายงวด 145,000 ต้นทุนสินค้าผลิตสำเร็จ (FG) ,000

22 วิธีการบัญชีกิจการอุตสาหกรรม
วิธีการบัญชีเกี่ยวกับสินค้าคงเหลือ มี 2 ระบบ คือ 1. ระบบการบันทึกบัญชีแบบสิ้นงวด (Periodic Inventory System) 2. ระบบการบันทึกบัญชีแบบต่อเนื่อง (Perpetual Inventory System)

23 วิธีการบันทึกบัญชีแบบสิ้นงวด (Periodic Method)
วิธีการบันทึกบัญชีแบบต่อเนื่อง (Perpetual Method) วิธีการบันทึกบัญชีแบบสิ้นงวด (Periodic Method) การบัญชีแบบต่อเนื่อง -วัตถุดิบ (1) เดบิต -วัตถุดิบ (1) เดบิต -วัตถุดิบ (1) เครดิต -วัตถุดิบยกมาต้นงวด (1) เดบิต -วัตถุดิบปลายงวดคงเหลือดูจากบ/ช การบัญชีแบบสิ้นงวด -ซื้อวัตถุดิบ (5) เดบิต -ค่าขนส่งเข้าวัตถุ (5) เดบิต -ส่งคืนวัตถุดิบ(5) เครดิต -ส่วนลดรับ (5) เครดิต -วัตถุดิบยกมาต้นงวด (1) เดบิต -วัตถุดิบคงเหลือปลายงวด ตรวจนับ

24 ระบบบัญชีสินค้า Inventory Cost System
1. Perpetual Inventory Method 2. Periodic Inventory Method 1) ซื้อวัตถุดิบ 1) ซื้อวัตถุดิบ Dr. วัตถุดิบ ,000 Dr. ซื้อวัตถุดิบ ,000 Cr. เจ้าหนี้การค้า ,000 Cr. เจ้าหนี้การค้า ,000 2) จ่ายค่าใช้จ่ายในการซื้อวัตถุดิบ (ค่าขนส่ง) Dr. วัตถุดิบ ,000 Dr. ค่าขนส่งเข้าวัตถุดิบ 4,000 Cr. เจ้าหนี้การค้า ,000 Cr.เจ้าหนี้การค้า ,000 3) ส่งคืนวัตถุดิบที่ซื้อ Dr. เจ้าหนี้การค้า ,000 Dr. เจ้าหนี้การค้า ,000 Cr. วัตถุดิบ ,000 Cr. ส่งคืนวัตถุดิบ ,000

25 ระบบบัญชีสินค้า Inventory Cost System
1. Perpetual Inventory Method 2. Periodic Inventory Method 4) จ่ายชำระค่าวัตถุดิบและได้ส่วนลดรับ Dr. เจ้าหนี้การค้า ,000 Dr. เจ้าหนี้การค้า ,000 Cr. เงินสด ,000 Cr. เงินสด ,000 วัตถุดิบ ,000 ส่วนลดรับวัตถุดิบ ,000 5) เบิกวัตถุดิบไปใช้ผลิต Dr. สินค้าระหว่างผลิต 500,000 ไม่บันทึก Cr.วัตถุดิบ ,000 6) วัตถุดิบคงเหลือปลายงวด ดูจากบัญชี GL ตรวจนับและตีราคา Intermediate Accounting I

26 ระบบบัญชีสินค้า Inventory Cost System
1. Perpetual Inventory Method 2. Periodic Inventory Method 7) จ่ายค่าแรงงานทางตรงและทางอ้อม Dr. ค่าแรงงานทางตรง ,000 ค่าแรงงานทางอ้อม ,000 Cr .เงินสด ,000 Cr .เงินสด ,000 8) จ่ายค่าใช้จ่ายในการผลิต (ระบุชื่อ) Dr. ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง-รง 50,000 ค่าสาธารณูปโภค-รง. 8,000 ค่าสาธารณูปโภค-รง ,000 ค่าเบี้ยประกันภัย-รง ,000 ค่าวัสดุโรงงานใช้ไป ,000 Cr.เงินสด ,000 Intermediate Accounting I

27 ระบบบัญชีสินค้า Inventory Cost System
1. Perpetual Inventory Method 2. Periodic Inventory Method 9) โอนบัญชีค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับการผลิต เข้าบัญชีค่าใช้จ่ายในการผลิต Dr. ค่าใช้จ่ายในการผลิต 285,000 ไม่บันทึกบัญชี Cr. ค่าแรงงานทางอ้อม ,000 ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง-รง 50,000 ค่าสาธารณูปโภค-รง ,000 ค่าเบี้ยประกันภัย-รง ,000 ค่าวัสดุโรงงานใช้ไป ,000 ค่าเสื่อมราคาเครื่องจักร 20,000

28 ระบบบัญชีสินค้า Inventory Cost System
1. Perpetual Inventory Method 2. Periodic Inventory Method 10) โอนต้นทุนการผลิตเข้าบัญชีสินค้าระหว่างผลิต Dr. สินค้าระหว่างผลิต 200,000 ไม่บันทึก Cr. ค่าแรงงานทางตรง ,000 11) โอนสินค้าที่ผลิตสำเร็จ 120,000 หน่วย 11) โอนสินค้าที่ผลิตสำเร็จ Dr. สินค้าสำเร็จรูป 1,200,000 Cr. สินค้าระหว่างผลิต 1,200,000

29 ระบบบัญชีสินค้า Inventory Cost System
1. Perpetual Inventory Method 2. Periodic Inventory Method 12) ขายสินค้า 150,000 หน่วยๆละ 20บาท 12) ขายสินค้า Dr. เงินสด 3,210,000 Cr. ขายสินค้า ,000,000 ภาษีขาย ,000 13) บันทึกต้นทุนสินค้าขาย 150,000 หน่วย 13) ไม่บันทึกต้นทุนสินค้าขาย Dr. ต้นทุนขาย ,500,000 ไม่บันทึก Cr.สินค้าสำเร็จรูป ,500,000 14) จ่ายค่าใช้จ่ายในการขายสินค้า Dr. ค่าขนส่งออก 2,000 Cr. เงินสด ,000 Cr. เงินสด ,000 Intermediate Accounting I

30 การคำนวณวัตถุทางตรง (DM)ใช้ไป วิธีบัญชี-Periodic Method
วัตถุดิบต้นงวดยกมา (1) 50,000 บวก ซื้อวัตถุดิบสุทธิ ซื้อวัตถุดิบ (2) 500,000 บวก ค่าขนส่งเข้าวัตถุดิบ (3) ,000 รวม ,000 หัก ส่งคืนวัตถุดิบ (4) 1,000 ส่วนลดรับ (5) 2, , ,000 วัตถุดิบมีเพื่อใช้ในการผลิต ,000 หัก วัตถุดิบคงเหลือปลายงวด (6) ,000 วัตถุดิบทางตรงใช้ไป (DM) ,000 ตัวเลขใน (1)-(6) หมายถึง จำนวนนับบัญชีที่ใช้ในการคำนวณวัตถุใช้ไป Intermediate Accounting I

31 บัญชีวัตถุดิบ-Perpetual
วัตถุดิบ No 14.1 ยกมา ,000 ซื้อวัตถุดิบ ,000 ค่าขนส่งเข้า ,000 ส่งคืน ,000 ส่วนลดรับ ,000 สินค้าระหว่างผลิต ,000 503,000 554,000 51,000

32 การบันทึกค่าแรงงานทางตรง (DL)
การบันทึกจ่ายค่าแรงงาน Dr. ค่าแรงงาน ,000 Cr. เงินสด ,000 จ่ายค่าแรงงานให้พนักงาน การโอนแยกค่าแรงงานทางตรงและทางอ้อม Dr. ค่าแรงงานทางตรง(DL) ,000 ค่าแรงงานทางอ้อม(IDL) ,000 Cr. ค่าแรงงาน ,000

33 การบันทึกค่าใช้จ่ายในการผลิต (OH)
Dr. ค่าเบี้ยประกันภัย ,000 ค่าพลังงานเชื้อเพลิง ,000 ค่าสาธารณูปโภค ,000 ค่าวัสดุโรงงานใช้ไป ,000 Cr. เงินสด ,000 Dr. ค่าเสื่อมราคาเครื่องจักร ,000 Cr. ค่าเสื่อมราคาสะสม-เครื่องจักร ,000

34 การคำนวณวัสดุโรงงานใช้ไป (OH)
วัสดุโรงงาน ต้นงวด ,400 บวก ซื้อวัสดุโรงงานระหว่างงวด 2,800 รวม ,200 หัก วัสดุโรงงาน ปลายงวด 4,200 วัสดุโรงงานใช้ไป (0H) ,000

35 การผ่านรายการไปบัญชีแยกประเภท (บางส่วน) วิธี –Perpetual

36 บัญชีวัตถุดิบ-Perpetual
วัตถุดิบ No 14.1 ยกมา ,000 ซื้อวัตถุ ,000 ค่าขนส่งเข้า ,000 ส่งคืน ,000 ส่วนลดรับ ,000 สินค้าระหว่างผลิต ,000 503,000 554,000 51,000

37 สินค้าระหว่างผลิต-Perpetual
สินค้าระหว่างผลิต No 14.2 ยกมา ,000 ผลิตสำเร็จโอนออก 1,200,000 วัตถุดิบ ,000 ค่าแรงทางตรง ,000 ค่าใช้จ่ายผลิต ,000 1,335,000 135,000

38 สินค้าสำเร็จรูป-Perpetual
สินค้าสำเร็จรูป No. 14.3 ต้นทุนขาย ,500,000 ยกมา ,000 ต้นทุนสินค้าสำเร็จรูป1,200,000 1,800,000 300,000

39 งบต้นทุนการผลิต-Perpetual
วัตถุดิบทางตรงใช้ไป (DM) ,000 ค่าแรงงานทางตรง (DL) ,000 ค่าใช้จ่ายในการผลิต (OH) ,000 รวมต้นทุนการผลิต ,285,000 บวก สินค้าระหว่างผลิตต้นงวด ,000 1,335,000 หัก สินค้าระหว่างผลิตปลายงวด ,000 ต้นทุนสินค้าสำเร็จรูป ,200,000

40 งบต้นทุนการผลิต วิธีบัญชี-Periodic Method
วัตถุดิบใช้ไป.- วัตถุดิบต้นงวดยกมา ,000 บวก ซื้อวัตถุดิบสุทธิ ซื้อวัตถุดิบ ,000 บวก ค่าขนส่งเข้าวัตถุดิบ ,000 รวม ,000 หัก ส่งคืนวัตถุดิบ ,000 ส่วนลดรับ , , ,000 วัตถุดิบมีเพื่อใช้ในการผลิต ,000 หัก วัตถุดิบคงเหลือปลายงวด (6) ,000 วัตถุดิบทางตรงใช้ไป (DM) ,000 Intermediate Accounting I

41 งบต้นทุนการผลิต (ต่อ) วิธีบัญชี-Periodic Method
วัตถุดิบทางตรงใช้ไป (DM) ,000 ค่าแรงงานทางตรง (DL) ,000 ค่าใช้จ่ายในการผลิต.- ค่าแรงงานทางอ้อม 200,000 ค่าเบี้ยประกันภัย ,000 ค่าพลังงานเชื้อเพลิง ,000 ค่าสาธารณูปโภค ,000 ค่าวัสดุโรงงานใช้ไป ,000 ค่าเสื่อมราคาเครื่องจักร , ,000 ต้นทุนการผลิต ,285,000 Intermediate Accounting I

42 งบต้นทุนการผลิต (ต่อ) วิธีบัญชี-Periodic Method
ต้นทุนการผลิต ,285,000 บวก สินค้าระหว่างผลิตต้นงวด ,000 1,335,000 หัก สินค้าระหว่างผลิตปลายงวด ,000 ต้นทุนสินค้าสำเร็จรูป ,200,000

43 งบกำไรขาดทุน ขายสินค้า 3,210,000 หัก ต้นทุนขาย.-
ขายสินค้า ,210,000 หัก ต้นทุนขาย.- สินค้าสำเร็จรูปต้นงวด ,000 บวก ต้นทุนสินค้าสำเร็จรูป 1,200,000 สินค้าสำเร็จรูปมีเพื่อขาย ,260,000 หัก สินค้าสำเร็จรูปปลายงวด , ,000 กำไรขั้นต้น ,250,000

44 งบกำไรขาดทุน (ต่อ) กำไรขั้นต้น 2,250,000
กำไรขั้นต้น ,250,000 หัก ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน.- ค่าใช้จ่ายในการขาย 300,000 ค่าใช้จ่ายในการบริหาร , ,000 กำไรจากการดำเนินงาน ,450,000 หัก ค่าใช้จ่ายทางการเงิน(ดอกเบี้ยจ่าย) 10,000 ภาษีเงินได้ , ,000 กำไรสุทธิ ,260,000

45 งบแสดงฐานะการเงิน (บางส่วน)
สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน.- เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด xx ลูกหนี้การค้าและตั๋วเงินรับสุทธิ xx สินค้าคงเหลือ.- สินค้าสำเร็จรูป ,000 สินค้าระหว่างผลิต 135,000 วัตถุดิบ ,000 วัสดุโรงงาน , ,200

46 ตัวอย่าง วงจรบัญชีการผลิต

47 บัญชีวัตถุดิบ-Perpetual
วัตถุดิบ No 14.1 ยกมา ซื้อวัตถุ ,000 ค่าขนส่งเข้า ส่งคืน ส่วนลดรับ สินค้าระหว่างผลิต ,000 1,110 1,010 100

48 สินค้าระหว่างผลิต-Perpetual
สินค้าระหว่างผลิต No 14.2 ยกมา ผลิตสำเร็จโอนออก ,310 วัตถุ ,000 ค่าแรง ,000 ค่าใช้จ่ายผลิต ,110 4,610 300

49 สินค้าสำเร็จรูป-Perpetual
สินค้าสำเร็จรูป No. 14.3 ต้นทุนสินค้าขายไป 4,200 ยกมา ผลิตสำเร็จงวดนี้ 4,310 4,910 710

50 สินค้าระหว่างผลิต (GIP) ค่าใช้จ่ายในการผลิต (OH)
วงจรการบัญชีกิจการผลิตกรรม วัตถุดิบ (DM) วัตถุต้นงวด ซื้อวัตถุ ,000 ค่าขนส่งเข้าวัตถุ ส่งคืน ส่วนลดรับ 1 เบิกใช้ผลิต 1,000 100 ค่าแรงงานทางตรง (DL) 2 จ่ายค่าแรง ,000 โอนเข้างาน 2,000 สินค้าระหว่างผลิต (GIP) GIP ต้นงวด ผลิตเสร็จโอนออก 4,310 DM ,000 ค่าใช้จ่ายในการผลิต (OH) DL ,000 วัตถุทางอ้อม ค่าแรงงานทางอ้อม วัสดุโรงงานใช้ไป OH อื่น ๆ โอนเข้าสู่งานผลิต 1,110 OH ,110 3 300

51 สินค้าระหว่างผลิต (GIP) ต้นทุนสินค้าขาย (COGS)
สินค้าสำเร็จรูป (FG) สินค้าระหว่างผลิต (GIP) GIPต้นงวด ผลิตเสร็จโอนออก4,310 FG ต้นงวด ขายไป ,200 DM ,000 ผลิตเสร็จ 4,310 4 5 DL ,000 710 OH ,110 300 ต้นทุนสินค้าขาย (COGS) ขายไป ,200 PL ,200 กำไรขาดทุน (PL) 6 ต้นทุนขาย 4,200 ขายสินค้า 6,000

52 ต้นทุนสินค้าขาย (COGS)
ขายไป 4,200 PL 4,200 6 กำไรขาดทุน (PL) ต้นทุนขาย 4,200 ขายสินค้า 6,000 กำไรสะสม (RE) ค่าใช้จ่ายขาย 500 RE ต้นงวด 500 600 ค่าใช้จ่ายบริหาร700 PL 7

53 สรุปคำศัพท์การบัญชีผลิต
DM: Direct Material DL : Direct Labor OH : Overhead Factory GIP/WIP : Goods in Process/ Work in Process FG : finished Goods COGS : Cost of Goods Sold PL : Profit and Loss RE : Retained Earning

54 การจัดทำงบการเงินของกิจการผลิตกรรม
งบต้นทุนการผลิต-งบภายในกิจการ งบกำไรขาดทุน งบแสดงฐานะการเงิน

55 กระดาษทำการของกิจการผลิตกรรม
กระดาษทำการ 12 ช่อง ประกอบด้วย งบทดลอง รายการปรับปรุง งบทดลองหลังปรับปรุง งบต้นทุนการผลิต งบกำไรขาดทุน งบแสดงฐานการเงิน

56 Principles of Accounting II
Working paper Account Name A/C No. Trail Balance Adjustments Dr. Cr. Assets 1 xx Liabilities 2 Owner’s Equity 3 Revenues 4 Expenses 5 Total xxx Principles of Accounting II

57 Financial Position Statement
Working paper (Con’) Adjusted Trail Balance Manufacturing Cost Statement Income Statement Financial Position Statement Dr. Cr. xx xxx Principles of Accounting II

58 งบต้นทุนการผลิต-งบภายใน
ประกอบด้วยปัจจัยการผลิต 3 ส่วน -วัตถุทางตรงใช้ไป (DM) -ค่าแรงงานทางตรง (DL) -ค่าใช้จ่ายในการผลิต (OH)

59 งบต้นทุนการผลิต วัตถุทางตรงใช้ไป (DM) xx ค่าแรงงานทางตรง (DL) xx
ค่าใช้จ่ายในการผลิต (OH) xx ต้นทุนการผลิต xx บวก สินค้าระหว่างผลิตต้นงวด xx xx หัก สินค้าระหว่างผลิตปลายงวด xx ต้นทุนสินค้าผลิตสำเร็จ (สินค้าสำเร็จรูป) xx

60 งบกำไรขาดทุน ประกอบด้วย 3 ส่วน -รายได้(Revenue) -ค่าใช้จ่าย (Expense)
-ต้นทุนขาย (Cost of good sole) -ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน -ค่าใช้จ่ายทางการเงินและภาษีเงินได้ -กำไรสุทธิ (Net Income)

61 งบกำไรขาดทุน ขายสินค้า-สุทธิ xx หัก ต้นทุนขาย.-
หัก สินค้าสำเร็จรูปปลายงวด xx xx กำไรขั้นต้น xx หัก ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน ค่าใช้จ่ายในการขาย xx ค่าใช้จ่ายในการบริหาร xx xx กำไรจากการดำเนินงาน xx หัก ดอกเบี้ยจ่าย xx ภาษีเงินได้ xx กำไรสุทธิ xx

62 งบแสดงฐานะการเงิน ประกอบด้วย 3 ส่วน -สินทรัพย์ (Assets)
-หนี้สิน (Liabilities) และ -ส่วนของเจ้าของ (Equity)

63 งบแสดงฐานะการเงิน สินทรัพย์ ประกอบด้วย 2 ส่วน -สินทรัพย์หมุนเวียน.-
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้าและตั๋วเงินรับ สินค้าคงเหลือ* ,200 สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น -สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน.- เงินลงทุนในหลักทรัพย์ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์-สุทธิ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน

64 งบแสดงฐานะการเงิน สินทรัพย์หมุนเวียน
-เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด xx -ลูกหนี้การค้าและตั๋วเงินรับ สุทธิ xx -สินค้าคงเหลือ (หมายเหตุ 1) ,200 หมายเหตุประกอบงบการเงิน หมายเหตุ 1 สินค้าสำเร็จรูป ,000 สินค้าระหว่างผลิต ,000 วัตถุดิบ ,000 วัสดุโรงงาน , ,200

65 งบแสดงฐานะการเงิน หนี้สิน ประกอบด้วย 2 ส่วน -หนี้สินหมุนเวียน.-
เงินเบิกเกินบัญชี เจ้าหนี้การค้าและตั๋วเงินจ่าย เงินกู้ยืมระยะสั้น หนี้สินหมุนเวียนอื่น -หนี้สินไม่หมุนเวียน.- เงินกู้ยืมระยะยาว หนี้สินระยะยาวอื่น

66 งบแสดงฐานะการเงิน ส่วนของเจ้าของ ส่วนของผู้ถือหุ้น
-ทุนเรือนหุ้น (ทุนหุ้นบุริมสิทธิ/หุ้นสามัญ) -ส่วนเกิน/ส่วนต่ำมูลค่าหุ้น -ส่วนเกินทุนอื่น -กำไร(ขาดทุน)สะสม

67 สรุปขั้นตอนทางบัญชีกิจการผลิตกรรม แบบต่อเนื่อง (Perpetual Inventory)
ขั้นที่ 1 โอนบัญชีวัตถุทางตรง (DM) เข้าบัญชีสินค้าระหว่างผลิต GIP ขั้นที่ 2 โอนบัญชีค่าแรงงานทางตรง (DL) เข้าบัญชีสินค้าระหว่างผลิต GIP ขั้นที่ 3 โอนชีค่าใช้จ่ายในการผลิต (OH) เข้าบัญชีสินค้าระหว่างผลิต GIP ขั้นที่ 4 โอนบัญชีสินค้าระหว่างผลิต (GIP) ที่ผลิตเสร็จเข้าบัญชี FG ขั้นที่ 5 โอนบัญชีสินค้าสำเร็จรูป (FG) ที่ขายไปเข้าบัญชี COGS ขั้นที่ 6 โอนบัญชีต้นทุนขาย (COGS) เข้าบัญชีกำไรขาดทุน (PL) ขั้นที่ 7 โอนบัญชีกำไร/ขาดทุน (PL) เข้าบัญชีกำไรสะสม (RE)

68 สรุปขั้นตอนทางบัญชีกิจการผลิตกรรม
ขั้นที่ 1 โอนบัญชีวัตถุทางตรง (DM) เข้าบัญชีสินค้าระหว่างผลิต (GIP) Dr. สินค้าระหว่างผลิต 1,000 Cr. วัตถุดิบทางตรง ,000

69 สรุปขั้นตอนทางบัญชีกิจการผลิตกรรม
ขั้นที่ 2 โอนบัญชีค่าแรงงานทางตรง (DL) เข้าบัญชีสินค้าระหว่างผลิต (GIP/WIP) Dr. สินค้าระหว่างผลิต ,000 Cr. ค่าแรงงานทางตรง 2,000

70 สรุปขั้นตอนทางบัญชีกิจการผลิตกรรม
ขั้นที่ 3 โอนบัญชีค่าใช้จ่ายในการผลิต (OH) เข้าบัญชีสินค้าระหว่างผลิต (GIP/WIP) Dr. สินค้าระหว่างผลิต ,110 Cr. ค่าใช้จ่ายในการผลิต 1,110

71 สรุปขั้นตอนทางบัญชีกิจการผลิตกรรม
ขั้นที่ 4 โอนบัญชีสินค้าระหว่างผลิต (GIP) ที่ผลิตเสร็จเข้าบัญชีสินค้าสำเร็จรูป (FG) Dr. สินค้าสำเร็จรูป ,310 Cr. สินค้าระหว่างผลิต 4,310

72 สรุปขั้นตอนทางบัญชีกิจการผลิตกรรม
ขั้นที่ 5 โอนบัญชีสินค้าสำเร็จรูป (FG) ที่ขายไปเข้าบัญชีต้นทุนขาย (COGS) Dr. ต้นทุนขาย ,200 Cr. สินค้าสำเร็จรูป 4,200

73 สรุปขั้นตอนทางบัญชีกิจการผลิตกรรม
ขั้นที่ 6 โอนบัญชีต้นทุนขาย (COGS) บัญชีค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน และบัญชีรายได้ต่าง ๆ เข้าบัญชีกำไรขาดทุน (PL) กรณีมีกำไร Dr. ขายสินค้า 6,000 Cr. ต้นทุนขาย 4,200 ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน 1,200 กำไรขาดทุน(ผลต่าง)

74 สรุปขั้นตอนทางบัญชีกิจการผลิตกรรม
ขั้นที่ 6 โอนบัญชีต้นทุนขาย (COGS) และค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน และบัญชีรายได้ต่าง ๆ เข้าบัญชีกำไรขาดทุน (PL) กรณีขาดทุน Dr. ขายสินค้า ,000 กำไรขาดทุน Cr. ต้นทุนขาย ,200 ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน ,000

75 สรุปขั้นตอนทางบัญชีกิจการผลิตกรรม
ขั้นที่ 7 โอนบัญชีกำไร/ขาดทุน (PL) เข้าบัญชีกำไรสะสม (RE) กรณี มีกำไร Dr. กำไรขาดทุน Cr. กำไรสะสม กรณี ขาดทุน Dr. กำไรสะสม Cr. กำไรขาดทุน

76 การปิดบัญชีในวันสิ้นงวด แบบสิ้นงวด (Periodic Inventory)
ขั้นที่ 1 โอนปิดบัญชีที่เกี่ยวข้องกับวัตถุดิบใช้ไปและ โอนบัญชี ค่าแรงงานทางตรงและค่าใช้จ่ายในการผลิตเข้า บัญชีสินค้าระหว่างผลิต ขั้นที่ 2 โอนปิดบัญชีต้นทุนการผลิตเข้าบัญชีสินค้าสำเร็จรูป ขั้นที่ 3 โอนบัญชีสินค้าสำเร็จรูป (FG) ค่าใช้จ่ายในการขายและ บริหารค่าใช้จ่ายอื่น เข้าบัญชีกำไรขาดทุน (PL) ขั้นที่ 4 โอนบัญชีกำไร/ขาดทุน (PL) เข้าบัญชีกำไรสะสม (RE) Principles of Accounting II

77 Principles of Accounting II
ปิดบัญชี-Periodic ขั้นที่ 1 โอนปิดบัญชีที่เกี่ยวข้องกับการผลิตเข้าบัญชีต้นทุนการผลิต Dr. วัตถุดิบปลายงวด ,000 ส่งคืนวัตถุดิบ ,000 ส่วนลดรับวัตถุดิบ ,000 ต้นทุนการผลิต** ,285,000 Cr. วัตถุดิบต้นงวด ,000 ซื้อวัตถุดิบ ,000 ค่าขนส่งเข้า ,000 ค่าแรงงานทางตรง ,000 ค่าใช้จ่ายในการผลิต(ระบุชื่อ) ,000 Principles of Accounting II

78 Principles of Accounting II
ปิดบัญชี-Periodic ขั้นที่ 2 ปิดบัญชีต้นทุนการผลิตเข้าบัญชีสินค้าสำเร็จรูป Dr. งานระหว่างทำปลายงวด ,000 ต้นทุนสินค้าสำเร็จรูป** ,200,000 Cr. งานระหว่างทำต้นงวด ,000 ต้นทุนการผลิต**(จากขั้นที่ 1) ,285,000 Principles of Accounting II

79 Principles of Accounting II
ปิดบัญชี-Periodic ขั้นที่ 3 ปิดบัญชีที่เกี่ยวข้องกับการขาย ต้นทุนขาย และค่าใช้จ่ายเข้าบัญชี กำไรขาดทุน (ไม่ผ่านบัญชีต้นทุนขาย) Dr. สินค้าสำเร็จรูปปลายงวด ,000 ขายสินค้า ,210,000 Cr. สินค้าสำเร็จรูปต้นงวด ,000 ต้นทุนสินค้าสำเร็จรูป(จากขั้น 2) ,200,000 ค่าใช้จ่ายในการขาย(ระบุชื่อ) 300,000 ค่าใช้จ่ายในการบริหาร(ระบุชื่อ) 500,000 ดอกเบี้ยจ่าย ,000 ภาษีเงินได้ ,000 กำไรขาดทุน(กำไร) ,260,000 Principles of Accounting II

80 Principles of Accounting II
ปิดบัญชี-Periodic ขั้นที่ 3.1 ปิดบัญชีที่เกี่ยวข้องกับต้นทุนขาย ผ่านต้นทุนขาย Dr. สินค้าสำเร็จรูปปลายงวด 300,000 ต้นทุนขาย*** ,000 Cr. สินค้าสำเร็จรูปต้นงวด ,000 ต้นทุนสินค้าสำเร็จรูป** 1,200,000 Principles of Accounting II

81 Principles of Accounting II
ปิดบัญชี-Periodic ขั้นที่ 3.2 ปิดบัญชีที่เกี่ยวข้องกับการขาย ต้นทุนขาย และค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน เข้ากำไรขาดทุน Dr. ขายสินค้า 3,210,000 Cr. ต้นทุนขาย (จากขั้นที่ 3) ,000 ค่าใช้จ่ายในการขาย 500,000 ค่าใช้จ่ายในการบริหาร 300,000 ดอกเบี้ยจ่าย ,000 ภาษีเงินได้ ,000 กำไรขาดทุน ,260,000 Principles of Accounting II

82 Principles of Accounting II
ปิดบัญชี-Periodic ขั้นที่ 4 ปิดบัญชีที่เกี่ยวข้องกับการขาย ต้นทุนขาย และค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน เข้ากำไรขาดทุน Dr. กำไรขาดทุน ,260,000 Cr. กำไรสะสม 1,260,000 Principles of Accounting II

83 The End Thank you for your Attention Q & A Principles of Accounting II


ดาวน์โหลด ppt Principles of Accounting II

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google