HOMEWORK #5 5406021620108 นายวิทยา ศรีอุดร SEC A.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบบัตรประจำตัวประชาชน โครงการขยายการจัดทำบัตรประจำตัวประชาชนแบบใหม่
Advertisements

RFID Application Acentech(Thailand).
A Batteryless RFID Remote Control System
Spectrofluorimeter และ Spectrophosphorimeter.
นายกรวิษณ์ จั่นทอง นายพันธาวุฒิ ภูครองจิต อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ
แผ่นป้ายประชาสัมพันธ์อัจริยะ Smart Advertising
รู้จักกับเทคโนโลยี RFID เบื้องต้น
นายกรวิษณ์ จั่นทอง นายพันธาวุฒิ ภูครองจิต อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ
ชุดที่ 2 Hardware.
เทคโนโลยีสารสนเทศในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ
Unity card S&V Communication Service Network Co., Ltd. Tel:
Warehouse and Material Handling
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ RFID
บทที่ 9 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ ในอนาคต
Assignment 2010/ คลังสินค้าและการขนถ่ายวัสดุ
งานวิชาการ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
อิเล็กทรอนิกส์กับสื่อการสอนและ วิทยาการก้าวหน้าในวงการอิเล็กทรอนิกส์
มาตรฐานและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับ ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ
..เทคโนโลยีการใช้RFIDกับงานในห้องสมุด
เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับ ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ
SECURITY DOOR USING RFID Present by นาย ณัฐพงศ์ จรูญเรือง KMUTNB นาย มหาณพ ภัทรภากร PSU.
1 Security Door using RFID Present by Mr.Mahannop Pattarapakorn PSU Mr.Nattapong Jaroonruang KMUTNB.
RFID Technology.
ผลผลิตที่ 1 สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการตรวจสอบบัญชี
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต คัดเลือกโรงเรียนนำร่องรุ่นที่ 1 จำนวน ร้อยละ 10 ของโรงเรียนในสังกัด (43 โรงเรียน ) จำนวน 4 โรงเรียน -
นวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศทางการศึกษา “ กระดานอัจฉริยะ ”
วิชา ฮาร์ดแวร์ และการซ่อมบำรุงคอมพิวเตอร์ ง33222
รายชื่อกลุ่ม 1.นางสาว ศลัญญากรณ์ ศิลป์มณีโชค (พลอย) ปวส. 2/6 รหัส สาขาโลจิสติกส์ 2.นางสาว พรพรรณ หมอนสวัสดิ์ (มุก) ปวส. 2/6 รหัส สาขาโลจิสติกส์
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
รหัสบ่งชี้โดยใช้ความถี่ของคลื่นวิทยุ
เทคโนโลยีสารพัดประโยชน์
ระบบ RIFD.
The supply chain management system at
การประชุมทบทวนบริหาร
พื้นฐานการอินเตอร์เฟส
เทคโนโลยีสารสนเทศในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ
โดย ดร.ธนิต โสรัตน์ ประธานบริษัทในเครือวี-เซิร์ฟ กรุ๊ป
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 1 : Introduction to Data Communication and Computer Network สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
การติดต่อสื่อสารของคอมพิวเตอร์
การติดต่อสื่อสารของคอมพิวเตอร์
ระบบบ่งชี้อัตโนมัติ Automatic ldentificatoin สมาชิกกลุ่ม นางสาว วรีพร เพ็ชรประเสริฐ เลขที่ 4.
ประชุมเตรียมการรับตรวจ การควบคุมภายใน ทร. ประจำปี งป.๖๑
การพัฒนาศูนย์พึ่งได้ (OSCC)
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
Seminar 4-6.
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์ ตัวชี้วัดปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ 1/61
ยินดีต้อนรับ ผู้มาเยี่ยมเยียนทุกท่าน
บทที่ 7 ระบบสารสนเทศทางการตลาด
ลูกรัก เก่ง ฉลาด ด้วย 3 ดี
แนวทางการดำเนินงานเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพองค์กรเกษตรกร ปี 2559
การมีส่วนร่วมในระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของบุคลากร
สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
ลงพื้นที่ตรวจราชการจังหวัดสุโขทัย รอบที่ ๒/๒๕๖๑
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา มาตรา ๒๐๙-๒๘๗/๒, ๓๖๗-๓๙๘
การฟื้นฟูกิจการของลูกหนี้
พระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จำเลยในคดีอาญา พ.ศ.2544 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ
Thailand 4.0 บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ (Software).
ระบบรับสมัครสอบแบบออนไลน์
นวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศในอนาคต
ด้านสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง กำหนดแบบและวิธีการรายงานผลการฝึกซ้อมดับเพลิงและฝึกซ้อมอพยพหนีไฟทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
โครงการบัตร SMART CARD อสม.
การขยายพันธุ์พืช.
ประชุมเพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่การยกเลิกสำเนาบัตรประชาชน และการบันทึกข้อมูลอัตโนมัติ ผ่าน Digital form โดยเครื่องอ่านบัตรประจำตัวประชาชน แบบอเนกประสงค์
การจัดการสินค้าคงคลัง
กลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์
แปลงใหญ่ทั่วไป (ข้าว) ตำบลสองห้อง อำเภอบ้านแพรก จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
แปลงใหญ่ทั่วไป ข้าว ตำบลหันสัง อ.บางปะหัน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
บทที่ 2 อุปกรณ์รับข้อมูลและอุปกรณ์แสดงผล (Input & Output Devices)
ตัวอย่างการนำ AI ไปใช้ในระบบสุขภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

HOMEWORK #5 5406021620108 นายวิทยา ศรีอุดร SEC A

(ระบบการชี้เฉพาะด้วยคลื่นความถี่วิทยุ) RFID คืออะไร R = Radio F = Frequency ID = Identification RFID = Radio Frequency Identification (ระบบการชี้เฉพาะด้วยคลื่นความถี่วิทยุ)

RFID ย่อมาจาก Radio Frequency Identification หรือ ระบบชี้เฉพาะ อัตโนมัติ (Automatic Identification) แบบไร้สาย (Wireless) เป็นระบบระบุ เอกลักษณ์ของวัตถุด้วยคลื่นความถี่วิทยุ แนวความคิดในการนำคลื่นวิทยุมาใช้ เพื่อ แสดงตำแหน่ง หรือ แสดงตนเองได้เกิดขึ้นตั้งแต่ราวประมาณปลายสงครามโลกครั้ง ที่สอง โดยการนำข้อมูลที่ต้องการส่ง มาทำการมอดูเลต (Modulation) กับคลื่นวิทยุ แล้วส่งออกผ่านทางสายอากาศที่อยู่ในตัวรับข้อมูล ซึ่งตั้งแต่ปี ค.ศ. 1980 เป็นต้นมา RFID ได้ถูกพัฒนาเพื่อวัตถุประสงค์หลัก คือ การนำไปใช้แทนระบบบาร์โค้ด (Barcode) และเนื่องจากอุปกรณ์ RFID ในขณะนั้นไม่สะดวกที่จะนำมาใช้งาน เพราะ มีขนาดใหญ่ นอกจากนั้นยังมีราคาแพง จึงไม่ได้รับความนิยมมากเพียงพอที่จะ นำมาใช้ในเชิงพาณิชยกรรม บริหาร และเชิงราชการ ต่อมาจึงได้มีการพัฒนา RFID อย่างต่อเนื่อง จนสามารถลดขนาดให้เป็นแผ่นเล็กๆ (Chip) ได้ดังในปัจจุบัน

โดยจุดเด่นของระบบ RFID อยู่ที่การอ่านข้อมูลจากแท็ก (Tag) ได้ หลายๆแท็กแบบไร้สัมผัส (Contactless) และสามารถที่จะอ่านค่าได้แม้ใน สภาพที่ทัศนวิสัยไม่ดี ทนต่อความเปียกชื้น แรงสั่นสะเทือน การกระทบ กระแทก และสามารถอ่านค่าได้ด้วยความเร็วสูง โดยข้อมูลจะถูกเก็บในไม โครชิปที่อยู่ในแท็ก ในปัจจุบันได้มีการนำ RFID ไปประยุกต์ใช้งานด้านอื่นๆนอกเหนือจาก การนำมาใช้ในระบบบาร์โค้ดแบบเดิม เช่น ใช้ในบัตรชนิดต่างๆ (บัตรสำหรับเข้า ออกตามหอพัก บัตรจอดรถตามศูนย์การค้า) บางครั้งอาจพบอยู่ในรูปของแท็กสินค้า ซึ่งมีขนาดเล็กจนสามารถแทรกลงระหว่างชั้นของเนื้อกระดาษได้ หรือาจจะเป็น แคปซูลขนาดเล็กฝังอยู่ในตัวสัตว์ เพื่อบันทึกประวัติต่างๆ เป็นต้น

วัตถุประสงค์ของการพัฒนา RFID โครงการ RFID เป็นโครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์วงจรรวม Chip เดี่ยว เพื่อใช้ในบัตรอัจฉริยะ (Smart Card Chip) ชนิดไร้สัมผัส (Contactless) เพื่อ สร้างต้นแบบให้กับผู้ประกอบการ RFID และ Smart Card ในประเทศไทย นำไปพัฒนาต่อในเชิงพาณิชย์ เป็นการยกระดับขีดความสามารถในการพัฒนา ออกแบบ และผลิตอุปกรณ์ด้านวงจรรวม และสนับสนุนให้เกิดผลผลิต ทางการออกแบบวงจรรวมของสถาบันวิจัยในประเทศ ซึ่งเป็นฐานสำหรับการ พัฒนาบุคลากรทางด้านไมโครอิเล็กทรอนิกส์ชั้นสูง ทั้งยังสร้างมูลค่าเพิ่มอย่าง มากให้กับผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์

องค์ประกอบของระบบ RFID ระบบ RFID จะมีองค์ประกอบหลักอยู่ สองส่วน โดยส่วนแรกคือ ทรานสปอนเดอร์หรือแท็ก (Transponder / Tag) ที่ใช้ติดกับวัตถุต่างๆที่ ต้องการ โดยแท็กจะบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับวัตถุชิ้นนั้นๆไว้ ส่วนที่สอง คือ เครื่องสำหรับอ่านหรือเขียนข้อมูลภายในแท็กด้วยคลื่นความถี่วิทยุ (Interrogator / Reader) โดยการทำงานนั้นเครื่องอ่านจะทำหน้าที่จ่ายกำลังงาน ในรูปคลื่นความถี่วิทยุให้กับตัวบัตรยังผลให้วงจรอิเล็กทรอนิกส์ภายใน สามารถส่งข้อมูลจำเพาะที่แสดงถึง "Identity" กลับมาประมวลผลที่ตัวอ่านได้

หากนำมาเปรียบเทียบกับระบบบาร์โค้ด เพื่อให้เห็นภาพชัดเจน แท็ก ในระบบ RFID ก็คือ เครื่องอ่านบาร์โค้ด (Scanner) โดยข้อแตกต่างของทั้ง สองระบบ คือ ระบบ RFID จะใช้คลื่นความถี่วิทยุในการอ่านหรือเขียน ส่วน ระบบบาร์โค้ดจะใช้แสงเลเซอร์ในการอ่าน ซึ่งข้อเสียของระบบบาร์โค้ด คือ หลักการอ่านเป็นการใช้แสงในการอ่านแท็กบาร์โค้ด ทำให้ต้องอ่านแท็กที่ไม่ มีอะไรปกปิดตัวบาร์โค้ดอยู่ หรือ ต้องอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกับลำแสงที่ยิง ออกมาจากเครื่องสแกนเท่านั้น และสามารถอ่านได้เพียงครั้งละ 1 แท็ก ใน ระยะใกล้ๆ แต่ระบบ RFID จะมีความแตกต่างออกไป โดยสามารถอ่านแท็ก ได้โดยไม่จำเป็นต้องเห็นแท็กหรือแท็กนั้นอาจจะซ่อนอยู่ในวัตถุอื่นๆ ก็ สามารถที่จะอ่านได้ และ แท็กไม่จำเป็นต้องอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกันกับ คลื่นความถี่ เพียงแค่อยู่ในบริเวณที่สามารถรับคลื่นวิทยุได้ ก็สามารถอ่าน ข้อมูลได้ และการอ่านแท็กในระบบ RFID ยังสามารถอ่านได้ครั้งละหลายๆ แท็กในเวลาเดียวกัน โดยระยะการอ่านข้อมูลนั้น สามารถอ่านได้ไกลกว่า ระบบบาร์โค้ดอีกด้วย

รูปที่ 1 แสดงภาพการทำงานรวมของระบบ RFID

สรุป RFID ในปัจจุบัน การใช้บัตรอัจฉริยะ (Smart Card) และระบบตรวจสอบ รหัสโดยใช้ความถี่วิทยุ (RFID) เป็นที่ยอมรับอย่างสูงว่า เป็นเทคโนโลยีที่ เอื้ออำนวยต่อการใช้งานที่ต้องการการบ่งบอกความแตกต่างหรือข้อมูลจำเพาะ ของแต่ละบุคคล ที่สามารถทำงานได้ถูกต้องแม่นยำ รวดเร็ว และมีความเป็น อัตโนมัติกว่าระบบตรวจสอบรหัสในระบบอื่นๆ เช่น Barcode การใช้งานที่ ง่ายและยังเพิ่มขีดความสามารถในการให้บริการเสริมในเชิงพาณิชย์ด้านต่างๆ อีกทั้งยังสอดคล้องกับเทคโนโลยีทางการเก็บข้อมูลคอมพิวเตอร์ ยังผลให้การ ขยายตัวของการใช้งาน RFID และ Smart Card สูงขึ้นอย่างรวดเร็ว