(Attention-Deficit Hyperactivity Disorder)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Merchant Marine Training Centre วิชาการเป็นเลิศ เชิดชู คุณธรรม ผู้นำ.
Advertisements

Vilasinee Hirunpanich B. Pharm(Hon), MSc in Pharm (Pharmacology)
น.พ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล 23 มีนาคม 2552
โดย รศ.ประคอง อินทรสมบัติ
Adrenal Insufficiency and adrenal crisis
UNIT 8 ASKING ABOUT FAMILIES.
การพยาบาลผู้ที่ได้รับยาทางจิตเวช
องค์ความรู้โรคซึมเศร้า
Dip.Thai Broad Preventive Medicine
ปัญหา ในเด็กวัยเรียน สำหรับบุคลากรสาธารณสุข
Counseling Schizophrenia
The prevention of progression of arterial disease and diabetes (POPADAD) trial: factorial randomised placebo controlled trial of aspirin and antioxidants.
นศ.ภ. วิชุตา ถวิลวรรณ นศ.ภ.สลีลา เบ็ญจวิไลกุล
SEPSIS.
กลุ่ม rraid. What's your name. คุณชื่ออะไร = Miss Bangon Buntanoom How old are you. - คุณอายุเท่าไหร่ = Ages 36 Years What you have finished your course.
Diabetes mellitus By kraisorn inphiban.
สุขภาพช่อง ปาก : สุขภาพผู้สูงอายุ พญ. สิรินทร ฉันศิริกาญจน หน่วยเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ ภาควิชา อายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาล รามาธิบดี
Karoon Ramkaroon, Resident 2 nd year. Patient information  หญิงไทย คู่ อายุ 40 ปี  อาชีพ ค้าขาย  ภูมิลำเนา อ. รัษฎา จ. ตรัง  Chief complaint  แน่นหน้าอก.
การเปลี่ยนแปลงตามวัย ในผู้สูงอายุ อาจารย์มลฤดี โพธิ์พิจารย์ พย. ม. ( การพยาบาลผู้สูงอายุ ) กลุ่มวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุ
Septic shock part 1 Septic shock part 1 Septic shock part 2.
แนวคิดและรูปแบบการฟื้นฟูผู้ป่วยจิตเวช แบบการฟื้นคืนสู่สุขภาวะ สุชาดา สาครเสถียร BSc (PT), MOT. ที่ปรึกษาโรงพยาบาลศรีธัญญา.
ยาที่ใช้ในโรคไตเรื้อรัง (Pharmacotherapy in CKD) ประกอบการประชุมอบรมพัฒนาศักยภาพพยาบาล หน่วยปฐมภูมิ เขต 3 ภญ.จันทกานต์ อภิสิทธิ์ศักดิ์ กลุ่มงานเภสัชกรรม.
Siriporn Chitsungnoen
การพัฒนาระบบการจัดเก็บฐานข้อมูล สุขภาพจิต
พัฒนาการที่ต้องติดตามเฝ้าระวัง (Red Flags in Child Development)
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสุราและภาวะแทรกซ้อนทางกายในผู้ป่วยยาเสพติด
Dementia prevention สิรินทร ฉันศิริกาญจน สาขาวิชาเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ
intra-abdominal compartment syndrome (ACS )
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ ภาควิชาการพยาบาลจิตเวช
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
ANXIETY DISORDER & MOOD DISORDER
สัมมนาการตลาด (Seminar in Marketing)
วสันต์ ลิมปเจต กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
สมองเสื่อม พญ. สิรินทร ฉันศิริกาญจน สาขาวิชาเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ
แพทย์หญิง ฐนิตา สมตน เวชศาสตร์ครอบครัว โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี
โดย นางกองแก้ว ย้วนบุญหลิม หัวหน้าหน่วยวิชาการพยาบาล
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์
โครงการพัฒนาทีมจัดการระบบ การจัดการโรคเรื้อรัง ในระดับจังหวัดปี 2554
การพยาบาลผู้ป่วยจิตเวชจากสารเสพติด
ความสำคัญของการพัฒนาการและระบบบริการดูแลพัฒนาการเด็ก
การบำบัดรักษาทางสังคมจิตใจ สำหรับผู้ป่วยโรคซึมเศร้า ในการอบรมการบริการผู้ป่วยโรคซึมเศร้าสำหรับผู้ปฏิบัติ หลักสูตรกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.
บทบาทพยาบาลในการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
การส่งเสริมสุขภาพกายและโภชนาการ
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
Generic View of Process
แนวทางการพยาบาลผู้ป่วย โรคหลอดเลือดสมอง
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
Service Plan สุขภาพจิต จิตเวชและยาเสพติด
Review of the Literature)
ปัญหาสุขภาพจิตกับการใช้สุรา: แนวโน้มกับการป้องกัน
“การรักษาภาวะฉุกเฉินจากโรคมะเร็งเต้านมระยะแพร่กระจาย”
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
Delirium in critical patient
สารสื่อนำกระแสประสาท
โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ การจัดทำแนวทางการดูแลผู้ป่วยจิตเวช ในการรับประทานยาต่อเนื่องสำหรับโรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลจิตเวชนครราชสีมาราชนครินทร์ 19 มกราคม.
Geriatric Medicine for First Year Residents
Drug-Drug Interaction
กระบวนการเรียนรู้ของผู้บริโภค
บทที่ 8 กลยุทธ์ผลิตภัณฑ์ (Product Strategy)
ผลกระทบของความรุนแรงที่มีต่อ เด็กและวัยรุ่น
Public Health Nursing/Community Health Nursing
จำหน่าย มีไว้ในครอบครอง ใช้ หรือ เปลี่ยนแปลงสภาพ นำขนย้าย สารเคมี
พฤติกรรมผู้บริโภค (Consumer Behavior)
พญ. พิชญานันท์ คู่วัจนกุล กุมารแพทย์ สาขาโลหิตวิทยาและมะเร็ง
อุทธรณ์,ฎีกา.
狗隻的訓練 聖士提反女子中學附屬小學 孫晞庭.
ทบทวนกฎหมายรัฐธรรมนูญ บทบัญญัติที่สำคัญซี่งมีมิติในเชิงคดี
โดย จันทิมา อ่องประกฤษ ֆ คณะทำงานKPI
อาจารย์สิรินทร เลิศคูพินิจ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

(Attention-Deficit Hyperactivity Disorder) โรคสมาธิสั้น (Attention-Deficit Hyperactivity Disorder)

โรคสมาธิสั้น คือ ความผิดปกติทางพฤติกรรมชนิดหนึ่ง ที่ประกอบไปด้วยรูปแบบพฤติกรรมที่แสดงออกบ่อยๆซ้ำๆ ซึ่งเป็นพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมกับอายุหรือระดับพัฒนาการ และได้แสดงออกต่อเนื่องยาวนานพอสมควร

ประวัติความเป็นมา ก่อนปี คศ.1900 มีการรายงานถึงความผิดปกติด้านพฤติกรรมและ การเรียนรู้ เกิดในเด็กที่ ระบบ ประสาทส่วนกลางได้รับอันตราย เช่น อุบัติเหตุ ,การติดเชื้อ

ประวัติความเป็นมา คศ.1900-1960 - เด็กที่มีอาการถูกเรียกว่า “brain -damaged child” - ต่อมามีการเปลี่ยนเป็น minimal brain damage (MBD), minimal brain dysfunction

ประวัติความเป็นมา คศ.1960-1969 เป็นช่วงเวลาที่ใช้คำว่า Hyperactivity / Hyperkinesisเพราะพบว่าเด็กที่มีสมองถูกกระทบกระเทือน ไม่ทุกคนที่จะแสดงอาการ

ประวัติความเป็นมา คศ.1970-1979 พบว่าอาการขาดสมาธิ และความหุนหันพลันแล่นเป็นอาการสำคัญ จึงตั้งชื่อว่า “Attention Deficit Hyperactivity Disorder “ และยังพบว่า ยากลุ่มPsychostimulant ทำให้อาการดีขึ้นอย่างชัดเจน

ประวัติความเป็นมา คศ.1980-1994 สมาคมจิตแพทย์อเมริกัน (American Psychiatric Association) ได้จัดทำ Diagnosic and statistical Manual of Mental disorder (DSM)

อาการทางคลินิก 1. Inattention 2. Hyperactivity 3. Impulsivity

Inattention เป็นความบกพร่องในการควบคุมสมาธิ ไม่สามารถจดจำรายละเอียดของงานได้ ไม่มีสมาธิจดจ่อกับงานหรือการเล่น เปลี่ยนงานไปเรื่อย เสียสมาธิง่าย ไม่สามารถทำงานที่เป็นระบบได้

Inattention หลีกเลี่ยงการทำงานที่ต้องใช้สมาธิ ลืมกิจวัตรประจำวัน

Hyperacticity เด็กมีลักษณะอยู่ไม่นิ่ง ซุกซน เด็กมีลักษณะอยู่ไม่นิ่ง ซุกซน ไม่สามารถอยู่นิ่งๆ เคลื่อนไหวตลอดเวลา วิ่งไปมา ปีนป่ายสถานที่ต่างๆ ไม่สามารถเล่นหรือทำกิจกรรมเงียบๆ พูดมาก

Impulsivity ความยากลำบากในการควบคุมพฤติกรรม รอคอยตามระเบียบไม่เป็น ก้าวร้าว , หยิบฉวยสิ่งของผู้อื่น ไม่สามารถเรียบเรียงคำพูดได้ มีการพูด หรือแสดงท่าทางขบขันประหลาด

ระบาดวิทยา พบปัญหานี้ทุกเชื้อชาติ พบในเด็กชายมากกว่าเด็กหญิง 3-9 เท่า 20-30% ของเด็กที่เป็นโรคนี้มีประวัติครอบครัวเป็นด้วย อายุที่เริ่มเป็น 3 ปี แต่มักพบแพทย์เมื่อเด็กอายุ 5-10 ปี

สาเหตุของโรคสมาธิสั้น สาเหตุของโรคที่แน่นอนยังไม่ทราบ แต่ปัจจัยที่สันนิษฐานว่าน่าจะเป็นสาเหตุได้แก่ 1. พันธุกรรม โดยพบลักษณะต่อไปนี้ 1.1 พบในคู่แฝดไข่ใบเดียวกันมากกว่าในคู่แฝดไข่คนละใบ 1.2 บิดามารดาแท้ๆเป็นโรคมากกว่าบิดามารดาบุญธรรม 1.3 ญาติผู้ป่วยมีโอกาสเป็นโรคมากกว่าคนทั่วไป 1.4 บุตรของผู้ที่เคยเป็นโรคมีความเสี่ยงสูงที่จะเป็นโรคด้วย

สาเหตุของโรคสมาธิสั้น 2. สารสื่อประสาท 2.1 Dopamine 2.2 Serotonin 2.3 Norepinephrine 3. สมองส่วน Frontal lobe ทำงานน้อยกว่าปกติ 4. สมองถูกกระทำให้เสียหาย

สาเหตุของโรคสมาธิสั้น 5. ภาวะตื่นตัวของระบบประสาทผิดปกติ 6. การไหลเวียนของโลหิตในสมองผิดปกติ 7. ปัจจัยทางจิตสังคม 8. อาหาร

การวินิจฉัย ใช้ระบบของ DSM (Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorder) ของประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งใน DSM-V ระบุรายละเอียดดังนี้ 1. มีอาการในข้อ ก) หรือ ข) ก) มีอย่างน้อย 6 อาการของสมาธิสั้น (Inattention) นานเกิน 6 เดือน และมีการปรับตัวไม่เหมาะสมและไม่สอดคล้องกับพัฒนาการ ข) มีอย่างน้อย 6 อาการของHyperactivity-impulsivity นานเกิน 6 เดือนและมีการปรับตัวที่ไม่เหมาะสมและไม่สอดคล้องกับพัฒนาการ

การวินิจฉัย 2. อาการเกิดก่อนอายุ 7 ปี 3. มีความเสียหายจากอาการเหล่านี้เกิดขึ้นอย่างน้อย 2 สถานการณ์ 4. มีผลเสียต่อการเข้าสังคม การเรียน การงานอย่าง ชัดเจน 5. ผู้ป่วยไม่ได้เป็นโรคทางจิตเวชอย่างอื่น

INATTENTION ได้แก่ 1. มักละเลยในรายละเอียดหรือทำผิดด้วยความเลินเล่อ ในการทำงานหรือกิจกรรมต่างๆ 2. มักไม่มีสมาธิในการทำงานหรือการเล่น 3. มักดูเหมือนไม่ฟังเวลาคนอื่นพูดด้วย 4. ไม่สามารถทำตามคำแนะนำ และทำงานไม่ค่อยสำเร็จ

INATTENTION ได้แก่ 5. มักมีความลำบากในการจัดระเบียบงานหรือ กิจกรรม 5. มักมีความลำบากในการจัดระเบียบงานหรือ กิจกรรม 6. มักหลีกเลี่ยงหรือไม่ชอบกิจกรรมที่ต้องใช้สมาธิ 7. มักทำของหายบ่อยๆ โดยเฉพาะของที่มีความจำเป็นต่องานหรือกิจกรรมต่างๆ 8. วอกแวกง่าย เมื่อถูกกระตุ้นจากสิ่งเร้าภายนอก 9. หลงลืมในเรื่องกิจวัตรประจำวัน

HYPERACTIVITY ได้แก่ 1. นั่งนิ่งๆไม่ได้ ต้องขยับมือและขาตลอดเวลา 2. มักลุกจากที่นั่งในห้องเรียน หรือในที่อื่นที่ต้องนั่ง 3. มักวิ่งไปมา ปีนป่ายในสถานการณ์ที่ไม่เหมาะสม(วัยรุ่นหรือผู้ใหญ่อาจมีอาการเพียงกระวนกระวาย)

HYPERACTIVITY ได้แก่ 4. มักไม่สามารถเล่นแบบเงียบๆ ได้ 5. มักเคลื่อนไหวตลอดเวลา 6. มักพูดมากเกินไป

IMPULSIVITY ได้แก่ 1. มักชิงตอบ ก่อนที่จะฟังคำถามจบ 2. มักไม่สามารถรอคอยในแถว 3. มักพูดแทรก ชอบขัดจังหวะผู้อื่น ทั้งในการสนทนา และการเล่น

DSM-IV(1994) ได้แบ่ง ADHD เป็น 3ชนิดย่อย 1. Combined Type คือ มีอาการในกลุ่มของสมาธิสั้น(inattention) อย่างน้อย 6 อาการ และ มีอาการในกลุ่มของHyperactivity-impulsivity อย่างน้อย 6 อาการ

DSM-IV(1994) ได้แบ่ง ADHD เป็น 3ชนิดย่อย 2. Predominantly Inattentive Type ชนิดนี้จะมีอาการของInattention ตั้งแต่ 6 อย่างขึ้นไป แต่มีอาการของ Hyperactivity-impulsivity น้อยกว่า 6 อย่าง

DSM-IV(1994) ได้แบ่ง ADHD เป็น 3ชนิดย่อย 3. Predominantly Hyperactive-Impulsive Type คือ มีอาการในกลุ่มของInattention น้อยกว่า 6 อย่าง แต่มีอาการของ Hyperactivity-impulsivity ตั้งแต่ 6 อย่างขึ้นไป

วิธีการที่ใช้อยู่ขณะนี้ 1.การรักษาด้วยยา(Pharmacotherapy) และสารเคมีอื่นที่ไม่ใช่ยา 2.พฤติกรรมบำบัด ( Behavior therapy ) 3. .การรักษาทางการศึกษา ( Educational remedication .) 4.การรักษาด้วยวิธีอื่น ๆ

การรักษาด้วยยา 1. Stimulants 1.1 Methylphenidate 1.2 Dextroamphetamine 1.3 Pemoline 2. Antidepressants 2.1 3-Cyclic antidepreassant 2.2 MAOI 2.3 SSRI

การรักษาด้วยยา 3. Clonidine 4.ยาอื่น ๆ 4.1 Fenfluramine 4.2 Antipsychotic 4.3 Anticonvulsants 4.4 Diphenhydramine 4.5 Buspirone 4.6 Lithium

Generic Name Brand Name Usual Daily Dose ( mg ) ( mg / Kg ) Stimulants Methyphenidate Rubifen 10-60 0.3-1.5 Dextroamphetamine Dexedrine 5-30 0.2-0.7 Pemoline Cylert 37.5-112.5 1-3 Antidepressants Imipramine(TCA) Tofranil 20-100 0.7-3 Desipramine(TCA) Norpramin 20-100 0.7-3 Amitriptyline(TCA) Elavil 20-100 0.7-3 Clomipramine(TCA) Anafranil 25-100 0.7-3 Bupropion Wellbutrin 50-100 Floxetine(SSRI) Prozac 10-40 Phenelzine(MAOI) Nardil

Antipsychotic Haloperidol Haldol 0. 5-4 0. 02-0 Antipsychotic Haloperidol Haldol 0.5-4 0.02-0.07 thioridazine Mellaril 25-150 1-6 Precursors Deanol(of acetylcholine) Deaner 250-500 Tryptophan(of serotonin) 70-100 Tyrosine(of dopamine & noradrenalin) 100-140 Anticonvulsants Phenytoin Dilantin Carbamazepine Tegretol Serum level Valproate Depakene Serum level

Other Fenfluramine Pondimin 20-80 0. 5-1. 5 Clonidine Catapres 0. 05-0 Other Fenfluramine Pondimin 20-80 0.5-1.5 Clonidine Catapres 0.05-0.3 0.003-0.004 Diphenhydramine Benadryl 75-150 Buspirone BuSpar 5-30 0.2-0.6 Propanolol Inderal 10-200 Caffeine 100-450

Some side effects of drugs commonly used to treat ADHD ___________________________________________________________ Stimulants Antidepressants Clonidine ----------------------------------------------------------------------------------------- Appetite loss Sedation Sedation Sleep disturbance Blood pressure changes Hypotensive dizziness (if taken late in day) (dawn or up) (especially on standing up) Cramps (first few week) Dizziness(especially on standing up) Dry mouth Depression dry mouth Possible hypertension if Irritability Cardiac conduction block stopped suddenly Evening crash Constipation & urinary retention Amphetamine look ( rare in children ) Zombielike constriction of Headache (deserves evaluation) effect & spontaneity Overdose lethal Tics Hallucination (skin crawling or visions) Growth slowing (first 2 years)

การรักษาด้วยสารเคมีอื่นที่ไม่ใช่ยา 1.การกำจัดสารอาหารหรือสารบางอย่างในอาหาร เช่น salicylate ที่มีอยู่ตามธรรมชาติ หรือสารที่เติมไปในอาหาร เช่น สี สารกันบูด สารแต่งกลิ่นรส 2.การเพิ่มสารบางอย่าง - การให้ mutimegavitamin - การให้ single vitamin หรือ mineral - การให้ precursors ของ neurotransmitters -- การให้ caffeine เป็นสารกระตุ้นในADHD

พฤติกรรมบำบัด 1. การฝืกอบรมพ่อแม่ ( Parent training ) 1.1 How to track behavior 1.2 การจัดระบบการใหัรางวัล 1.3 การลงโทษ 1.4 ฝืกพ่อแม่ให้ใช้คำสั่งที่ชัดเจน 1.5 ฝืกพ่อแม่ให้จัดกฎระเบียบของบ้านให้ชัดเจน 1.6 ให้พ่อแม่ทำตัวเป็นแบบอย่างให้เด็ก 1.7 ปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อมในบ้าน 1.8 การใช้ใบรายงานประจำวัน

พฤติกรรมบำบัด 2. การให้คำปรึกษากับครู ( teacher consultation ) -- School-base intervention 3. Cognitive-behavioral skill training การรักษาทางการศืกษา (Educational Remediation ) การรักษาด้วยวิธีอื่นๆ -- จิตบำบัดรายบุคคล (individual psychotherapy ) -- ครอบครัวบำบัด ( family therapy ) -- Biofeedback

สรุปการรักษา ADHD หลักการป้องกันมี 3 ประการ คือ 1. ให้ป้องกันสิ่งที่สามารถได้ก่อนที่จะเกิดขื้น 2. ให้ขจัดหรือยับยั้งสิ่งที่สามารถจะขจัดหรือยับยั้งได้ ให้เร็ว ที่สุด เมื่อสิ่งนั้นได้เกิดขื้นแล้ว 3. ให้ลดความพิการที่เกิดจากโรคซื่งไม่ได้ป้องกัน ขจัดหรือยับยั้งแต่แรก

การป้องกันโรค แบ่งเป็น 3 ขั้นตอน ดังนี้ 1.Primary prevention ซื่งประกอบด้วยการส่งเสริมสุขภาพทั่วไป, การป้องกันเฉพาะเรื่อง เช่น การฉีดวัคซีน การหลีกเลี่ยงสถานการณ์ เสี่ยง 2. Secondary prevention คือการวินิจฉัยโรคให้ได้โดยเร็วและให้การ รักษาอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อขจัดหรือยับยั้งโรคให้เร็วที่สุด 3. Tertiary prevention คือการฟื้นฟูให้ความสามารถคืนมาให้ได้มาก ที่สุด เพื่อลดความพิการที่เกิดจากโรค

The end