งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Dip.Thai Broad Preventive Medicine

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Dip.Thai Broad Preventive Medicine"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Dip.Thai Broad Preventive Medicine
Eclampsia Dr.Pramote Srikaew MD. Dip.Thai Broad OB-GYN Dip.Thai Broad Preventive Medicine

2 Hypertensive disorder in pregnancy
Gestational hypertension Preeclampsia Eclampsia Chronic Hypertension Superimposed preeclampsia on Chronic HT

3

4 Eclampsia ภาวะครรภ์เป็นพิษร่วมกับมีการชัก
เกิดได้ทั้งใน mild และ severe preeclampsia ชักประมาณ วินาที เกิดขึ้นใน third trimester ทั้งในระยะ antepartum 53% , intrapartum 19% และpostpartum 28% Late eclampsia ชักได้ถึง 48 ชั่วโมงหลังคลอด

5 ความเสี่ยง รกรอกตัวก่อนกำหนด(abruptio placeta)
การทำงานของระบบประสาทผิดปกติ ปอดบวมน้ำ(pulmonary edema) ไตวาย Embolism Circulatory failure

6 ลักษณะทางคลินิก ถ้าชักบ่อย ทำให้ coma, brain edema
Generalized tonic-clonic seizure กล้ามเนื้อเกร็งสลับกับคลายประมาณนาที แล้วกล้าเนื้อคลายตัว ถ้าชักบ่อย ทำให้ coma, brain edema อัตราการหายใจเพิ่มขึ้น เขียว มีไข้ได้ ปัสสาวะออกน้อย อาการบวม ความดันโลหิตสูง proteinuria จะเป็นปกติภายใน 1-2 สัปดาห์

7 ลักษณะทางคลินิก หัวใจล้มเหลว ปอดบวมน้ำ
ตาบอด หรือ มองไม่ชัด 10% จาก retinal detachment หรือ occipital pole infarction Psychosis ตายจาก intracranial hemorrhage หรือ trantentorial herniation ทารก อาจมี fetal bradycardia ได้ในช่วงชัก แต่ถ้ามีตลอดให้ระวัง รกลอกตัวก่อนกำหนด

8 การรักษา Eclampsia การป้องกันชัก ลดความดันโลหิตสูง การให้สารน้ำ
การยุติการตั้งครรภ์

9 การป้องกันชัก Magnesium sulfate ตามตารางการให้ยา
ภาวะแทรกซ้อน ระดับในเลือด(meq/l) ระดับป้องกันชัก Deep tendon reflex หายไป กดการหายใจ(respiratory depression) >15 Cardiac arrest >25 Antidote ; calcium gluconate 10 cc. iv. push ช้า

10 ข้อควรระวังในการให้ MgSO4
ถ้าไตเสื่อม ไม่ต้องปรับ loading dose และแต่ให้ maintenance dose น้อยกว่า 1 กรัมต่อชั่วโมง ถ้าชักซ้ำ ให้ MgSO4 เพิ่มอีก 2 กรัม ในรายที่ให้ MgSO4 ไม่ได้ เช่นเป็นโรคไตรุนแรง myasthenia gravis หรือ PPH อาจพิจารณาให้ phenytoin diazepam5-10 mg.หรือ lorazepam 4 mg หรือ pentobarbital 125 mg. iv. 2-5 นาที

11 การให้ยาลดความดันโลหิต
ในรายที่ BP> 150/100 mmHg เพื่อให้ได้ เป้าหมาย DBP mmHg, SBP <150 mmHg. Antehypertensive drug เช่น Labeterol 20 mg iv. then mg iv. q 30 min. ( i.v. drip 1-2 mg/min) max 300 mg/day Hydralazine(C) 5mg.iv. or im. Then 5-10 mg iv. q min( iv. drip mg/hr.) Nifedipine (c ) mg oral prn q 45 min.

12 การควบคุมปริมาณสารน้ำในร่างกาย
จำกัดสารน้ำ ไม่เกิน 80 cc/hr. ยกเว้น ขาดน้ำหรือ ตกเลือด ไม่ควรให้ fluid expansion invasive hemodynamic monitoring ในราย pulmonary edema , severe kidney disease , refractory hypertension, ปัสสาวะออกน้อย

13 การยุติการตั้งครรภ์ เป็นข้อห้ามในการดูแลแบบประคับประคอง (expectant management) เลือกช่องทางคลอดให้เหมาะสมในแต่ละราย

14

15 การดูแลระยะหลังคลอด เฝ้าระวังอาการชักภายหลังคลอด
ในรายที่ไม่ได้ความยาลดความดันโลหิตช่วงตั้งครรภ์ ในรายที่ได้ยาลดความดันโลหิตขณะเจ็บครรภ์คลอด วัด BP ทุกวันอย่างน้อย 2 สัปดาห์ จนเป็นปกติ เริ่มให้ยาลดความดันโลหิต เมื่อ BP 150/100 mmHg ในรายที่ได้ยาลดความดันขณะตั้งครรภ์ ให้ยาลดความดันโลหิตต่อ เป้า BP<130/90 mmHg ให้เปลี่ยน methyldopa เป็น labeterol, nifedipine, enalapril, atenolol , metropolol ได้

16 การติดตามหลังคลอด กรณีใช้ยาลดความดันโลหิตต่อเกิน 6 สัปดาห์ ให้ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ นัดติดตามหลังคลอด 6-8 สัปดาห์


ดาวน์โหลด ppt Dip.Thai Broad Preventive Medicine

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google