งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ การจัดทำแนวทางการดูแลผู้ป่วยจิตเวช ในการรับประทานยาต่อเนื่องสำหรับโรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลจิตเวชนครราชสีมาราชนครินทร์ 19 มกราคม.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ การจัดทำแนวทางการดูแลผู้ป่วยจิตเวช ในการรับประทานยาต่อเนื่องสำหรับโรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลจิตเวชนครราชสีมาราชนครินทร์ 19 มกราคม."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ การจัดทำแนวทางการดูแลผู้ป่วยจิตเวช ในการรับประทานยาต่อเนื่องสำหรับโรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลจิตเวชนครราชสีมาราชนครินทร์ 19 มกราคม พ.ศ. 2561

2 ประเด็นสำคัญ แลกเปลี่ยน เรียนรู้
- ระบบการส่งต่อ (ขั้นตอน, ข้อมูล, การ สื่อสาร, ) - แนวทางการดูแลผู้ป่วยในการรับประทานยา/ บริหารยาอย่างต่อเนื่อง - การบริหารจัดการเรื่องความปลอดภัยด้านยา ทั้งกลุ่ม HAD และยาจิตเวชทั่วไป (Medication Safety) - ระบบ Medication reconciliation (ยาทาง จิตเวช, ยาโรคประจำตัวฝ่ายกายอื่นๆ ) อื่นๆ

3 Service Model: Mental Health Service Nakhonchaiburin
Psychosis Depression Alcohol ADHD

4 ระบบบริการรับ-ส่งผู้ป่วยจิตเวช เขตบริการสุขภาพจิตที่ 9
ผู้ป่วย + ใบส่งตัวจาก รพ.ใกล้บ้าน >> รพจิตเวชนครราชสีมาฯ รพ.จิตเวชนครราชสีมาฯ คัดกรองผู้ป่วย ประเมินอาการแทรกซ้อนทางกาย ใบส่งตัว รพช.

5 ระบบบริการรับ-ส่งผู้ป่วยจิตเวช เขตบริการสุขภาพจิตที่ 9
ผู้ป่วย + ใบส่งตัวจาก รพ.ใกล้บ้าน >> รพจิตเวชนครราชสีมาฯ กรณีผู้ป่วยในเขต อ.เมือง นครราชสีมา รพ.มหาราชนครราชสีมา รพ.เทพรัตน์ (ขึ้นกับหน่วยบริการหลัก) ใบส่งตัว รพ.สต. ใบส่งตัว รพ.จิตเวชนครราชสีมา (โปรแกรม Thai refer)

6 การติดตามและประสานข้อมูลเรื่องยา

7 Medication Reconciliation แบบฟอร์ม Med Reconcillation ใน OPD CARD

8 Medication Reconciliation (ผู้ป่วยใน)

9 การดูแลผู้ป่วยที่ใช้ยาความเสี่ยงสูง
HAD Lithium Sodium Valproate Clozapine Phenytoin Carbamazepine Potassium chloride inj (KCl inj)

10 อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา (ADR)

11

12 การดูแลผู้ป่วยที่ใช้ยาความเสี่ยงสูง
1. เฝ้าระวังอาการไม่พึงประสงค์ ตามยาที่ผู้ป่วยใช้ และตามอาการสำคัญ

13 การดูแลผู้ป่วยที่ใช้ยาความเสี่ยงสูง
2. แบบฟอร์มเฝ้าระวังอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา กลุ่ม HAD ในเวชระเบียน

14 การดูแลผู้ป่วยที่ใช้ยาความเสี่ยงสูง
3. ระบบ Auto Lab ยา ได้รับยาครั้งแรก/ ปรับขนาดยา/ Admit ได้รับยาต่อเนื่อง กรณีสงสัยพิษจากยา Lithium Baseline : CBC, BUN, Creatinine, Electrolytes, Thyroid Function, EKG(กรณีอายุ > 60 ปี หรือมีประวัติโรคหัวใจ Renal function, Thyroid function, BMI หรือวัดรอบเอว ทุก 1 ปี Blood Lithium หลังมื้อสุดท้าย 12 ชม. Blood Lithium : เจาะหลังจากรับยาครั้งแรก/ปรับ dose ใหม่ 5 วัน (เจาะหลังรับประทานยาครั้งสุดท้าย 12 ชั่วโมง) Blood Lithium ทุก 6 เดือน **** สามารถส่ง Lab on call เจาะ lithium นอกเวลาราชการ Clozapine Baseline : CBC ครั้งแรก จากนั้นทุก 1 สัปดาห์ เป็นเวลา 18 สัปดาห์ CBC ทุก 1 เดือน Baseline : Lipid profile และตรวจ BMI Lipid profile และ BMI ทุก 1 ปี Phenytoin อาการดี สงบ พูดรู้เรื่อง พยาบาลแจ้งห้องฟัน เพื่อนำผู้ป่วยไปตรวจสุขภาพฟัน พบทันตแพทย์เพื่อตรวจเหงือกและช่องปาก ทุก 1 ปี

15 การดูแลผู้ป่วยที่ใช้ยาจิตเวชทั่วไป
ADR NMS ADR ทั่วไป เช่น EPS ปัสสาวะขัด ง่วงนอน

16 การดูแลผู้ป่วยที่ใช้ยาจิตเวชทั่วไป
1. เฝ้าระวังอาการไม่พึงประสงค์ ตามยาที่ผู้ป่วยใช้ และตามอาการ สำคัญ โดยดำเนินการตามที่ระบุในตาราง

17 การดูแลผู้ป่วยที่ใช้ยาจิตเวชทั่วไป
2. เฝ้าระวังอาการไม่พึงประสงค์ ตามยาที่ผู้ป่วยใช้ และตามอาการ สำคัญ (แบบฟอร์มเฝ้าระวังอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยากลุ่ม จิตเวชทั่วไป ในเวชระเบียน

18 การดูแลผู้ป่วยที่ใช้ยาจิตเวชทั่วไป
3. การดูแลผู้ป่วย NMS !!!! NMS ลดการเกิด NMS - เฝ้าระวังในคนไข้กลุ่มเสี่ยง การป้องกันการเกิด NMS ที่รุนแรง - Early detection การป้องกันการเกิด NMS ซ้ำ - ระบบแพ้ยา

19 การดูแลผู้ป่วยที่ใช้ยาจิตเวชทั่วไป
3. การดูแลผู้ป่วย NMS !!!! การป้องกันการเกิด NMS (ลดการเกิด NMS) ระวังเกิด NMS ในผู้ป่วยที่เกิด EPS ง่าย (สูงอายุ/ น้ำหนักน้อย/เคยเกิด EPSรุนแรง) ใช้ยาจิตเวชขนาดที่สูง (max dose) โดยเฉพาะยาฉีด (prn หลาย dose) การหยุด Antiparkinson อย่างกระทันหัน การเพิ่มขนาดยา หรือลดขนาดยาอย่างรวดเร็ว ผู้ป่วยมีภาวะ Dehydration Alcoholism, organic brain syndrome, Extrapyramidal disorder (Parkinson disease, Huntington disease) iron deficiency, catatonia, multiple trauma, operation, ปัจจัยทางพันธุกรรม

20 การดูแลผู้ป่วยที่ใช้ยาจิตเวชทั่วไป
3. การดูแลผู้ป่วย NMS !!!! การป้องกันการเกิด NMS ที่รุนแรง Early Detection คือ สามารถวินิจฉัย และรักษาก่อนเกิด อาการที่รุนแรง แข็งเกร็ง, มีไข้, ลิ้นแข็ง, พูดไม่ได้, กินอาหารไม่ได้, bp ขึ้นๆลงๆ ให้สงสัย NMSรายงานแพทย์ด่วน ควรเจาะ CPK , off ยาจิตเวช, ให้ IV, ให้ยา Bromocriptine, Refer การป้องกันการเกิด NMS ซ้ำ ทำเหมือนระบบป้องกันการแพ้ยาซ้ำ คือ ติดสติกเกอร์แพ้ ยา, ออกบัตรแพ้ยา, บันทึกในเวชระเบียน, บันทึกในฐาน ข้อมูลคอมพิวเตอร์ พยาบาลดำเนินการเหมือนระบบป้องกันแพ้ยา คือ ประทับตราแพ้ยาทุกหน้า

21 การดูแลผู้ป่วยที่ใช้ยาจิตเวชทั่วไป
4. เฝ้าระวังอาการไม่พึงประสงค์ จากการใช้ยาฉีด long acting

22 การดูแลผู้ป่วยที่ใช้ยาจิตเวชทั่วไป
5. เฝ้าระวังอาการไม่พึงประสงค์ จากการใช้ยาฉีด short acting ต้องจำให้ได้

23

24 Drug Induced weight gain
ยาที่มีผลทำให้เกิดน้ำหนักตัวเพิ่มได้มาก Clozapine Olanzapine Risperidone Quetiapine Valproic acid Lithium


ดาวน์โหลด ppt โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ การจัดทำแนวทางการดูแลผู้ป่วยจิตเวช ในการรับประทานยาต่อเนื่องสำหรับโรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลจิตเวชนครราชสีมาราชนครินทร์ 19 มกราคม.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google