งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

อาจารย์สิรินทร เลิศคูพินิจ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "อาจารย์สิรินทร เลิศคูพินิจ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 อาจารย์สิรินทร เลิศคูพินิจ
โครงการการพัฒนาการรับรู้ความสามารถของตนเองฯ ของเยาวชน งบแผ่นดินวิจัย วช 61 ดร. ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ อาจารย์สิรินทร เลิศคูพินิจ วิทยาลัยพยาบาลและสุขภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา และโรงพยาบาลชลบุรี

2 โครงการการพัฒนาการรับรู้ความสามารถของตนเองฯของเยาวชน 61
วันที่ 10-11 11-12 12-13 13-14 14-15 15-16 วันแรก -ลงทะเบียน /ตรวจปัสสาวะ -พิธีเปิด -สร้างสัมพันธภาพ -pre-test -แผนที่ 1 บรรยายความรู้เรื่องชนิด สารเสพติด -ปัญหา/ผลกระทบ ตนเอง/ครอบครัว/ ชุมชน -แบ่งกลุ่มอภิปรายเรื่องโทษของสารเสพติดและ Present หน้าชั้น Lunch -แผนที่ 2 บรรยาย สมองติดยาได้อย่างไร -เปิดVCD เรื่อง เส้นตาย -เส้นทางการติดสารเสพติด -แผนที่ 3 การรับรู้ความสามารถของตนเองเพื่อหลีกเลี่ยง การใช้ -ถนนชีวิต -ตัวกระตุ้นภายใน ตัวกระตุ้นภายนอกในการใช้ -ความคิด อารมณ์ พฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับ -แบ่งกลุ่ม กิจกรรม วันที่ 2 ศึกษาดูงาน -แผนที่ 4 5 -การตั้งเป้าหมายและวิธีการบรรลุถึงเป้าหมายของการหลีกเลี่ยงการใช้สารเสพติด -ดูงานที่เรือนจำ -ตัวแบบจริง/ VCDที่เคยใช้สารเสพติด -ตัวแบบที่เคยใช้สารเสพติดและสามารถเลิกได้ โรงพยาบาล -ตัวแบบผู้ที่ประสบความสำเร็จ -กิจกรรมเพิ่ม -เกมส์การประสบความสำเร็จ ด้วยเอง -การพับเรือ ด้วยตนเอง -ร้องเพลง lunch -แบ่งกลุ่มกิจกรรม -แบ่งกลุ่มฝึกทักษะ การควบคุมตนเองและการปฎิเสธ -ตั้งสัจจะและบันทึกตนเอง -กิจกรรมเขียน จดหมายถึง คนที่รัก เพื่อเพิ่ม การรับรู้ความสามารถของตนเอง -สรุป ชื่นชมให้กำลังใจ -พิธีรับ ประกาศนียบัตร Post-test -ปิดการฝึกอบรม

3 โครงการการพัฒนาการรับรู้ความสามารถของตนเองฯของเยาวชน 61
แผนที่ 1 เรื่อง ความรู้เรื่องชนิดโทษ ภัยสารเสพติด จุดประสงค์การอบรม 1) ผู้รับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับ ชนิดโทษ ภัยสารเสพติดและกำหนดวิธีการที่เหมาะสมเพื่อการแก้ปัญหาของตนเองได้ 2) ผู้รับการอบรมตระหนักถึงความสำคัญของการไม่ใช้สารเสพติด

4 สมองติดสารเสพติด

5 สมองติดสารเสพติด โรคจิตเภท
สมองติดสารเสพติด โรคจิตเภท 11/9/2019 งานการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต ภ.พยาบาลศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ รพ.รามาธิบดี

6 สารเสพติดที่มีฤทธิ์ต่อจิตประสาทมี 4 ประเภท

7 สารเสพติดที่มีฤทธิ์ต่อจิตประสาทมี 4 ประเภท
๑. ยาระงับประสาท ยากล่อมประสาท ฝิ่น มอร์ฟีน เฮโรอีน ยานอนหลับ สุรา เครื่องดื่มมึนเมา สารระเหย เช่น ทินเนอร์ แล็กเกอร์ น้ำมันเบนซิน กาว มักพบว่าผู้เสพติดมี ร่างกายซูบซีด ผอมเหลือง อ่อนเพลีย ฟุ้งซ่าน อารมณ์ เปลี่ยนแปลงง่าย

8 ยาระงับประสาท ยากล่อมประสาท ฝิ่น  มอร์ฟีน  เฮโรอีน ยานอนหลับ สุรา เครื่องดื่มมึนเมา สารระเหย เช่น ทินเนอร์ แล็กเกอร์ น้ำมันเบนซิน กาว

9 ๒. ประเภทกระตุ้นประสาท ยาบ้า ยาอี ไอซ์ กระท่อม โคเคน บุหรี่ ไฟฟ้า
สารเสพติดที่มีฤทธิ์ต่อจิตประสาท ๒. ประเภทกระตุ้นประสาท ยาบ้า  ยาอี ไอซ์ กระท่อม  โคเคน บุหรี่ ไฟฟ้า มักพบว่าผู้เสพติดจะมีอาการ หงุดหงิด กระวนกระวาย จิตสับสนหวาดระแวง บางครั้งมีอาการคลุ้มคลั่ง หรือทำในสิ่งที่คนปกติ ไม่กล้าทำ เช่น ทำร้ายตนเอง หรือฆ่าผู้อื่น เป็นต้น

10 ๒. ประเภทกระตุ้นประสาท

11 ๓. ประเภทหลอนประสาท แอลเอสดี ต้นลำโพง เห็ดขี้ควาย เป็นต้น
 ๓. ประเภทหลอนประสาท แอลเอสดี ต้นลำโพง   เห็ดขี้ควาย เป็นต้น ผู้เสพติดจะมีอาการประสาทหลอน ฝันเฟื่องเห็นแสงสีวิจิตรพิสดาร หูแว่ว ได้ยินเสียง ประหลาดหรือเห็นภาพหลอนที่น่าเกลียดน่ากลัว ควบคุมตนเองไม่ได้ ในที่สุดมักป่วยเป็นโรคจิต

12 ๔. ประเภทออกฤทธิ์ผสมผสาน
กัญชา ทั้งกระตุ้นกดและหลอนประสาทร่วมกันได้แก่ ผู้เสพติดมักมี อาการหวาดระแวง ความคิดสับสนเห็นภาพลวงตา หูแว่ว ควบคุมตนเองไม่ได้และป่วยเป็นโรคจิตได้

13 ลักษณะของสารเสพติด Intoxication Tolerance Dependence Loss of control

14 โครงการการพัฒนาการรับรู้ความสามารถของตนเองฯของเยาวชน 61
ข่าวจากหนังสือพิมพ์ เรื่อง”จับ 2 สาววัยทองขนยาบ้าเข้าเมือง” นสพ.ไทยรัฐ 2 ม.ค 61 (ขั้นนำ) มีหญิงไทยอายุ 43 ปี จำนวน 2 คน ถูก ตำรวจ สภอ.โป่งน้ำร้อน ตรวจค้นขณะขับรถกลับจาก จุดผ่านแดนถาวรบ้านผักกาด อ.โป่งน้ำร้อน จ.จันทบุรี พบยาบ้าสีส้ม บรรจุในถุงซ่อนอยู่ในถุงยางอนามัย จำนวน 800 เม็ด เงินจำนวน 66,740 บาท ได้ควบคุมตัวพร้อมส่งของกลาง ดำเนินคดี

15 โครงการการพัฒนาการรับรู้ความสามารถของตนเองฯของเยาวชน 61
เฉลยกิจกรรม ที่ 1 สิ่งที่จะสังเกต ลักษณะ 1. พฤติกรรม 1. ไม่มีความรับผิดชอบ 2. ไม่มีระเบียบวินัย 3. อภัยให้กับตนเองเสมอ/ โกหก 2. ความคิด 1.มีความคิดเชิงลบเกี่ยวกับตนเอง 2. วนเวียนในขอบเขตจำกัด 3. ไม่กล้าเผชิญปัญหา 3. ความรู้สึก 1. รู้สึกด้อยค่า ท้อแท้และน้อยใจ 2.รู้สึกไม่มั่นใจไม่เชื่อมั่น/ขาดการรับรู้ความสามารถของตนเอง 3.บางคนรู้สึกชอบโชว์ ทำให้เป็นที่สนใจแก่คนอื่น 4. บุคลิกภาพ 1. อ่อนไหว ก้าวร้าว 2. ติดเพื่อน ไม่มั่นใจตนเอง 3.แยกตัว ซึมเศร้า 5. จิตใจและกำลังใจ 1. ขาดกำลังใจ 2. ขาดสิ่งยึดเหนี่ยว 3. ไม่มีกำลังใจ

16

17 สมองติดสารเสพติด รูปภาพเปรียบเทียบสมองของมนุษย์ปรกติและที่ติดยา
การเสพยาบ้าจะกระตุ้นให้สมองทำงานมากกว่าปกติ เมื่อเสพไปเรื่อย ๆ จนกระทั่งติด สมองจะถูกทำลาย การทำงานก็จะเสื่อมถอยลง

18 การรักษาโดยการใช้ยา

19 หอผู้ป่วยพิเศษชาย 8 โรงพยาบาลศรีธัญญา

20 ความหมายของโรคจิตเภท
สิ่งที่มีหน้าที่รู้ คิด และนึก การแยก แตกออก ผู้ที่มีอาการ ความคิดแตกแยก ไม่อยู่ในโลกของความเป็นจริง

21 โรคจิตเภท อาการของโรคจิต โรคจิตชนิดชั่วคราว โรคจิตจาก โรคอารมณ์แปรปรวน
สารเสพติด โรคอารมณ์แปรปรวน โรคจิตชนิดชั่วคราว โรคจิตหวาดระแวง โรคจิตที่เกิดใน โรคทางกาย

22 และกลับไปรักษาตัวที่บ้าน
ประวัติการเจ็บป่วย Dx. F20.0 Schizophrenia paranoid type. Admit ครั้งแรก ด้วยอาการสำคัญ นอนไม่หลับ หูแว่ว รับการรักษาถึงปี 2553 และกลับไปรักษาตัวที่บ้าน ปี 2552 รับยากินตามนัดสม่ำเสมอ 4-5 เดือนก่อนมาโรงพยาบาล ขาดยา มารับยาตามนัดแต่ไม่รับประทานยา (พี่สาวให้ประวัติ) ปี 2560 (มีอาการ SJS แพ้ยา Carbamazepine) เข้ารับการรักษาครั้งที่ 2 Dx. F20.0 Schizophrenia paranoid type. ที่โรงพยาบาลศรีธัญญา มีอาการโวยวาย พกมีด นอนไม่หลับ เดินไปเดินมา 2 วันก่อนมาโรงพยาบาล

23 การซักประวัติและตรวจร่างกาย
T = 36.1 oC P = 75 /min. R = 20 bpm. BP = 123/75 mmHg. สัญญาณชีพแรกรับ General Appearance ผู้ป่วยชายไทย อายุ 36 ปี ผิวสีดำแดง แต่งกายเหมาะสม สีหน้าท่าทางไม่เป็นมิตร แยกตนเอง และเงียบขรึม เมื่อนักศึกษาเข้าไปพูดคุยกับผู้ป่วย ให้ความร่วมมือดี ไม่มีลุกเดินหนีระหว่างสนทนา ไม่ก้าวร้าว พูดไม่ปะติดปะต่อ ลักษณะการเคลื่อนไหว ไม่มีการเดินเซ หรือกล้ามเนื้อกระตุก

24 ICD 10 มีความผิดปกติทางความคิดและการรับรู้เป็นหลัก ร่วมกับอารมณ์ไม่เหมาะสมหรือเฉยเมย ความสามารถทางสติปัญญา และสติสัมปชัญญะยังคงอยู่เป็นปกติแต่มีความเสื่อมของ Cognitiveจะมากขึ้นตามระยะเวลาที่เป็นโรค F 20 Paranoid Schizophrenia F 20.0 อาการ Paranoid Delusion เป็นอาการเด่นร่วมกับอาการอื่นๆ ของ Schizophrenia Paraphrenic Schizophrenia

25 การวินิจฉัยตาม DSM-IV
มีอาการต่อไปนี้ตั้งแต่ 2 อาการขึ้นไป นาน 1 เดือน 1. อาการหลงผิด 2. อาการประสาทหลอน 3. disorganized speech 4. grossly disorganized behavior หรือ catatonic behavior 5. อาการด้านลบ ได้แก่ flat affect, alogia หรือ avolition - ผู้ป่วยมีอาการหลงผิดและประสาทหลอนเป็นมานานประมาณ 5 ปี (ตั้งแต่ พ.ศ.2552) - ผู้ป่วยมีอาการพูดไม่รู้เรื่อง นอนไม่หลับ และมีอาการหูแว่ว เป็นประมาณ 5 ปี เป็นสาเหตุแรกที่ผู้ป่วยเข้ารับการรักษาอาการทางจิตที่โรงพยาบาลศรีธัญญา

26 แผนผังครอบครัว

27 เส้นทางกราฟชีวิต 2544 ( 5 ปี) 2552 ( 13 ปี) 2555 ( 16ปี) 2556 (17ปี )
เริ่มสูบบุหรี่ 1-2 มวน/วัน เริ่มดื่มสุรา ใช้เงินมากขึ้น ติดเพื่อน บิดามารดา แยกทางกัน ย้ายไปเรียน ม.4 ที่ประเทศอินเดีย (แต่เรียนไม่จบ) กลับมาประเทศไทย เริ่มเสพยาไอซ์ 1 g/week ไม่ค่อยกลับบ้าน

28 เส้นทางกราฟชีวิต (ต่อ)
(8เมษายน) ก้าวร้าว ต่อยพ่อ ขู่ ทำร้ายแฟน (admit ครั้งที่ 3) (25ตุลาคม) เสพยาไอซ์ ทะเลาะกับบิดา ขับ รถชนประตูบ้าน (admit ครั้งที่ 4) เสพยาเพิ่มขึ้น เป็น 4-5 g/week 2558 ( 19ปี ) 2557 ( 18ปี ) (2กันยายน) เสพยาไอซ์ อารมณ์รุนแรง หงุดหงิด อาระวาด (admit ครั้งที่ 1) (20พฤศจิกายน) เสพยาไอซ์ ทำร้าย ตัวเอง (admit ครั้งที่ 2) เสพยาเพิ่มขึ้น เป็น 3 g/week

29 เส้นทางกราฟชีวิต (ต่อ)
(9มิถุนายน) เสพยาไอซ์ ขับรถ ชนคนตาย (admit ครั้งที่ 5) 2559 ( 20ปี ) (8มกราคม) เสพยาไอซ์ มี พฤติกรรมรุนแรง ใช้ มีดแทงคนอื่น (admit ครั้งที่ 6) 2560 ( 21ปี )

30 Predisposing factor ปัจจัยเสี่ยงที่มีมาก่อนเจ็บป่วย
- ครอบครัวตามใจ พ่อให้เงินใช้เฉลี่ย 2500 – บาท/วัน - สังคมเพื่อนที่ชวนกันไปเสพยา - เริ่มเสพยาไอซ์ตอนอายุ 17 ปี เริ่มครั้งแรกประมาณ 1 กรัม/สัปดาห์ ตอนนี้เพิ่มขึ้นเป็น 3 กรัม/สัปดาห์ - เริ่มสูบบุหรี่ดื่มสุราอายุ 14 ปี เริ่มต้นที่ 1-2 มวน/วัน ปัจจุบัน 10 มวน/วัน - พ่อแม่แยกทางกันตอนอายุ 5 ปี Precipitating factor ปัจจัยกระตุ้นให้เกิดอาการ - ปัจจุบันเสพไอซ์จำนวน 3 กรัม/สัปดาห์ - แฟนทำแท้งแล้วโทษว่าเป็นเพราะตนเอง Perpetuating factors ปัจจัยส่งเสริมให้อาการไม่หาย - ยังคบเพื่อนกลุ่มที่ขายยาและเสพยา - ไม่สามารถเผชิญปัญหาได้อย่างเหมาะสมเนื่องจากไม่กล้าปฎิเสธคำชักชวนในกลุ่มเพื่อนที่เสพยา Defense Mechanism Repression การเก็บกด เนื่องจากตอนเด็กมีแต่เพื่อนแกล้งและตบหัวเลยเก็บความรู้สึกโกรธ Denial ปฎิเสธการติดยาผู้ป่วยบอกว่าเสพยาไอซ์จริงแต่ไม่ได้ติดยาไม่เสพก็อยู่ได้

31 โครงการการพัฒนาการรับรู้ความสามารถของตนเองฯของเยาวชน 61
แผนที่ 2

32 แผนที่ 3 จุดประสงค์ของการอบรม หลังจากเข้ารับการอบรมแล้ว เยาวชนที่เข้ารับการอบรมควรมีพฤติกรรมดังนี้ 1) มีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องการรับรู้ความสามารถของตนเองเพื่อหลีกเลี่ยงการใช้ สารเสพติดเรื่องถนนชีวิตของตนเอง 2) มีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องตัวกระตุ้นภายในและภายนอกในการ ใช้สารเสพติด 3) มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องความคิด อารมณ์ ความเครียดที่เกี่ยวข้องกับการใช้ สารเสพติด 4) มีความสามารถหยุดความคิด เพื่อที่หลีกเลี่ยงการใช้สารเสพติด

33 แผนที่ 3 “ เราเป็นคนดี เราเป็นคนเก่ง เราเป็นคนมีความสามารถ เราทำได้ เราไม่ใช้สารเสพติด” ทำเพื่อใคร 5. พูดสอนตนเอง 21 ครั้ง/วัน

34 ตัวกระตุ้น คิดถึงยา อาการอยากยา เสพยา/ปฏิเสธ
ตัวกระตุ้น คิดถึงยา อาการอยากยา เสพยา/ปฏิเสธ ออกจากเหตุการณ์ วันนี้ไม่ดื่ม เพื่อใคร กำลังใจจากใคร ในยามที่ท้อแท้ขอเพียงแค่คนหนึ่งจะคิดถึงและคอยห่วงใยในยามที่ชีวิตหม่นหมองร้องไห้ ขอเพียงมีใครปลอบใจสักคน ในวันที่โลกร้างความหวังให้วาด มันขาดมันหาย ใครจะช่วยเติมเพิ่มพลังใจให้ฉันได้เริ่มต่อสู้อีกครั้ง บนหนทางไกล (ร้องรับ) กำลังใจจากใครหนอขอเป็นทานให้ฝันให้ใฝ่ให้ชีวิตได้มีแรงให้ดวงใจลุกโชนความหวัง กำลังใจจากใครหนอขอเป็นทานให้ฉันได้ไหมดั่งหยาดฝนบนฟากฟ้าที่หยาดรินสู่ผืนดินแห้งผาก

35 Reference จินตนา ยูนิพันธ์. การพยาบาลจิตเวช เล่ม 2 .กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538 ฉวีวรรณ สัตยธรรม. การพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต. กรุงเทพมหานคร : โครงการสวัสดิการ วิชาการ สถาบัน พระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข .ยุทธรินทร์ การพิมพ์ จำกัด , 2541 มาโนช หล่อตระกูล . การสัมภาษณ์และการตรวจทางจิตเวช . กรุงเทพมหานคร : โฮลิสติค พลับ ลิสชิ่ง, 2538 ฐิตวันต์หงษ์กิตติยานนท์. (2559).การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช ในศตวรรษที่ ๒๑.กรุงเทพ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. ดาราณี วันวา. ผลของกลุ่มสนับสนุนครอบครัวต่อการทำหน้าที่ของครอบครัวตามการรับรู้ของ ผู้ดูแลในครอบครัวผู้ป่วยจิตเวช . สาขาวิชาการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช . คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2555

36   กิตติกรรมประกาศ ขอขอบพระคุณ ดร.พรพรรณ วรสีหะ คณบดีวิทยาลัยพยาบาลและสุขภาพ ขอขอบพระคุณ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ที่ให้งบประมาณปี 2561 ที่สนับสนุนงานวิจัยในเรื่องนี้ ขอขอบคุณ คณะกรรมการวิจัยในคนของสถาบันวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ที่พิจารณาจริยธรรมวิจัย และขอขอบคุณกลุ่มเยาวชนและผู้ที่เกี่ยวข้อง

37 ทำแบบประเมินความรู้สึก เขียนทุกอันประทับใจ รับรางวัล
การบ้าน ทำแบบประเมินความรู้สึก เขียนทุกอันประทับใจ รับรางวัล

38 The End คำถาม


ดาวน์โหลด ppt อาจารย์สิรินทร เลิศคูพินิจ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google