Lecture 19: Renewable Energy พลังงานหมุนเวียน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วิชา หลักการตลาด บทที่ 3
Advertisements

ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
เกษตรแบบผสมผสาน (Integrated Farming)
สรุปสถานการณ์การ ระบาดเพลี้ยแป้ง ระหว่างวันที่ สิงหาคม 2554.
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
Chapter I พฤติกรรมผู้บริโภค.
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
แหล่งน้ำธรรมชาติของโลก แหล่งน้ำในบรรยากาศ (Atmospheric Water) ได้แก่ สถานะไอน้ำ เช่น เมฆ หมอก สถานะของเหลว ได้แก่ ฝน และน้ำค้าง และสถานะของแข็ง ได้แก่
ดร. มานะ นิมิตรมงคล เลขาธิการ องค์กรต่อต้านคอร์รัปชันฯ 8 พฤษภาคม 2558
ชี้แจงเกณฑ์การประเมินผล ตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิภาพ 1.
องค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปา
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับทีม
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 3 ประจำเดือน มีนาคม 2558.
กลุ่ม 6 ผลการประชุมระดมความ คิดเห็น เพื่อกำหนดทิศทางก้าวใหม่ ในการให้บริการ : ฝึกอบรมนักวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบัติการ.
การคลังสุขภาพ การวัดประสิทธิภาพของสถานีอนามัย และเตรียมการถ่ายโอนสถานีอนามัย ให้ท้องถิ่น ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การประชุมสัมมนา.
สถาบันด้านปัจจัยการ ผลิตทางการเษตร ( ตลาดแรงงาน ) ศ.491 การวิเคราะห์การผลิต และนโยบายการผลิตสินค้าเกษตร รศ. ภราดร ปรีดาศักดิ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
งบประมาณและความช่วยเหลือ
ชุมชนปลอดภัย.
ไฟฟ้า.
การลงทุนโรงไฟฟ้าถ่านหิน
หลักการเลี้ยงสัตว์ คำบรรยาย โดย ครูสีกุน นุชชา
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
ไฟฟ้า.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
นางสาวอิศกฤตา โลหพรหม ผู้นำเสนอ นางสาวปาริชาด สุริยะวงศ์
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ระบบเศรษฐกิจ.
หมวดที่ 6 การจัดซื้อ และจัดจ้าง
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
การจัดลำดับความสำคัญของโครงการด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
การรายงานความคืบหน้าหรือสถานะ
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
กลุ่มเกษตรกร.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
MK201 Principles of Marketing
ขยะ/ของเสียเหลือศูนย์ (Zero Waste Management)
โดย นายอนุชา ศรีเริงหล้า นักอุตุนิยมวิทยาปฏิบัติการ
ดัชนีชี้วัดพลังงาน.
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
การวิเคราะห์ ข้อมูลขยะ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
สถานการณ์พลังงานปี 2560 และแนวโน้มปี 2561
ผู้นำเสนอ นางสาวปาริชาด สุริยะวงศ์
ภาพรวมการพัฒนาสู่สังคมคาร์บอนต่ำ ระดับโลก ระดับประเทศ ระดับท้องถิ่น ระดับโรงเรียน และตัวอย่างปฏิบัติการมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ โครงการพัฒนาการจัดการศึกษาโรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองทุ่งสง.
บทที่ 9 งบประมาณการลงทุน
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
ภาพรวมพลังงาน.
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
แผนงานบูรณาการพัฒนาการพัฒนาศักยภาพการผลิตภาคเกษตร
แนวทางการแก้ไขปัญหาก๊าซ LPG
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
นโยบายของรัฐด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม สมุดปกขาว BCG in Action การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมของประเทศไทย เพื่อเศรษฐกิจชีวภาพ.
รักษ์โลก ลดร้อน ด้วยสองมือ EENT.
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
02/08/62 การศึกษาพลังงานทางเลือกจากมูลช้างทำถ่านอัดแท่ง สู่ชุมชนท้องถิ่นในเขตจังหวัดสุรินทร์ The Study of Alternative Fuel From Elephant Dung Made Bar.
ตอนที่ 4.3 กรณีศึกษา : การสร้างเสริมประสิทธิภาพ งานส่งเสริมการเกษตร สำนักงานอำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ ตอนที่ กรณีศึกษา : การจัดการความรู้
4.2.3แผนการปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2561
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Lecture 19: Renewable Energy - 2553 พลังงานหมุนเวียน เศรษฐศาสตร์พลังงาน พลังงานหมุนเวียน อาจารย์ณัฐิดา จันหอม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา 1

เอกสารอ้างอิง พรายพล คุ้มทรัพย์, (2551), ‘สถานการณ์พลังงานโลก: วิกฤตการณ์น้ำมันครั้งที่ 3’, สัมมนาทางวิชาการประจำปี 2551 เรื่องสถานการณ์พลังงานโลกและการปรับตัวของไทย ชโลทร แก่นสันติสุขมงคล, (2551), ‘พลังงานหมุนเวียนและทางเลือกในองค์ประกอบพลังงานของไทย’, สัมมนาทางวิชาการประจำปี 2551 เรื่องสถานการณ์พลังงานโลกและการปรับตัวของไทย

เอกสารอ้างอิง แผนพัฒนาพลังงานทดแทน 15 ปี โดยกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน 2551 โครงการจัดทำยุทธศาสตร์พลังงานของประเทศไทย ระยะที่ 1 โดยสถาบันปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย 2550 อ่านบทที่ 4 และ 5

โลกใช้พลังงานประเภทใดบ้าง โลกใช้น้ำมันในสัดส่วนมากที่สุด รองลงไปคือถ่านหินและก๊าซธรรมชาติ อื่นๆ คือนิวเคลียร์ พลังน้ำ และพลังงานหมุนเวียนอื่นๆ 4

สัดส่วนการใช้พลังงานของโลกในปี ค.ศ. 2000

ประเทศยิ่งรวย ยิ่งใช้พลังงานต่อหัวมาก

ปัญหาพลังงานของโลก โลกใช้น้ำมันมากและจะมากขึ้น ในขณะที่น้ำมันจะแพง และหาได้ยากขึ้น 7

โลกยังมีน้ำมันเหลืออยู่ แต่ยังไม่ได้พัฒนาขึ้นมาใช้

ปัญหาพลังงานของโลก โลกใช้พลังงานฟอสซิลมาก ทำให้เกิดก๊าซเรือนกระจก และปัญหาภาวะโลกร้อน 10

ประเทศปล่อยก๊าซไม่เท่ากัน

ปัญหาพลังงานของโลก พลังงานที่สะอาดก็มี แต่ยังแพงและมีข้อจำกัด เป้าประสงค์สูงสุด “ใช้พลังงานอย่างสะอาด โดยไม่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ” 15

ตัวอย่างของพลังงานสะอาด แสงอาทิตย์ (ผลิตไฟฟ้า และความร้อน) กังหันลม (ผลิตไฟฟ้า) วัสดุเกษตรเพื่อผลิตไฟฟ้า และน้ำมัน พลังน้ำ (ผลิตไฟฟ้า) คลื่น ความร้อนใต้พิภพ 16

พลังงานทดแทน (พลังงานฟอสซิล) ของไทย พลังงานหมุนเวียน (Renewable energy) ก๊าซธรรมชาติในรถยนต์ (NGV หรือ CNG) ไฟฟ้านิวเคลียร์

พลังงานหมุนเวียน พลังงานหมุนเวียน (Renewable energy) คือพลังงานที่ใช้ได้อย่างไม่มีวันหมดสิ้น ประกอบด้วยพลังงานที่ได้จากแหล่งธรรมชาติ เช่น พลังน้ำ แสงอาทิตย์ คลื่น ลม และความร้อนใต้พิภพ รวมทั้งพลังงานชีวมวล (Biomass) ที่ได้จากวัสดุจากพืช/สัตว์ และขยะ/น้ำเสีย

พลังงานหมุนเวียน พลังงานขั้นสุดท้ายที่ได้จากพลังงานหมุนเวียนแบ่งได้เป็นสองกลุ่มใหญ่ ๆ ไฟฟ้า น้ำมัน/เชื้อเพลิงชีวภาพ (Biofuel) พลังงานหมุนเวียนส่วนใหญ่สามารถใช้ในการผลิตไฟฟ้า

พลังงานหมุนเวียน น้ำมันชีวมวลมักจะผลิตจากพืช Ethanol ผลิตจากอ้อย ข้าวโพดและมันสำปะหลัง Biodiesel ผลิตจากพืชประเภทน้ำมัน เช่น ปาล์มน้ำมัน มะพร้าว ถั่วเหลือง สบู่ดำ รวมทั้งน้ำมันพืชใช้แล้ว

พลังงานหมุนเวียน คาดว่าในอนาคตน้ำมันชีวมวลจะผลิตจากวัตถุดิบที่หลากหลายมาขึ้น เช่น Biodiesel จากสาหร่ายเซลล์เดียว และ Ethanol จากข้าวฟ่าง เศษหญ้า และเศษไม้

พลังงานหมุนเวียน พลังงานชีวมวล พลังงานหมุนเวียนที่ใช้กันมากที่สุดในประเทศ ได้จากวัสดุเกษตร เช่น กาก/ชานอ้อย แกลบ เศษ/เปลือกไม้ ซังข้าวโพด เหง้ามันสำปะหลัง (+ขยะ) ใช้เป็นเชื้อเพลิงทั้งในการผลิตไฟฟ้าและให้ความร้อน (ไอน้ำ อบแห้ง)

พลังงานหมุนเวียน ข้อดีคือ เป็นพลังงานที่สะอาด เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ใช้วัตถุดิบในประเทศ ทำให้ลดการพึ่งพาการนำเข้าพลังงานจากต่างประเทศ

พลังงานหมุนเวียน ข้อดีคือ ส่งเสริมการเกษตร สร้างงานและรายได้ในชนบท สามารถใช้ได้ในชนบทที่อยู่ห่างไกล ศักยภาพสูง เพราะ “ไม่มีวันหมดสิ้น”

พลังงานหมุนเวียน ข้อจำกัด ต้นทุนในการผลิตยังสูงอยู่ เทคโนโลยีการผลิตยังต้องพัฒนาอีก เช่น solar cell กังหันลม และโรงไฟฟ้าใช้วัสดุเกษตร

พลังงานหมุนเวียน ข้อจำกัด วัตถุดิบมีปริมาณจำกัด อยู่กระจัดกระจาย และมีปริมาณไม่สม่ำเสมอตลอดปี/วัน อาจทำให้ลดการผลิตอาหาร (ในกรณีที่ใช้พืชอาหารเป็นวัตถุดิบ) อาหารอาจแพงขึ้น

พลังงานหมุนเวียน อย่างไรก็ตาม มีแนวโน้มว่าต้นทุนจะลดลงและสามารถแข่งได้กับพลังงานฟอสซิล (ซึ่งแพงขึ้นมาก) การประหยัดจากขนาด ผลจากการเรียนรู้ รวมทั้งการพัฒนาและวิจัย

ตารางแสดงข้อมูลต้นทุนและสถานะของเทคโนโลยีพลังงานหมุนเวียน ณ สิ้นปี 2001 World Energy Assessment Overview: 2004 update

พลังงานหมุนเวียนในประเทศไทย พิจารณาประเด็นของพลังงานหมุนเวียน: ประเภท/ชนิด ศักยภาพและกำลังการผลิต แผนและมาตรการของรัฐในการส่งเสริม ความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจ

สัดส่วนการใช้พลังงานหมุนเวียนของไทยในปี 2550 ศ.478 ภูรี สิรสุนทร

แผนพัฒนาพลังงานทดแทน 15 ปี พ.ศ. 2551 - 2565

แผนพัฒนาพลังงานทดแทน 15 ปี พ.ศ. 2551 - 2565

แผนพัฒนาพลังงานทดแทน 15 ปี พ.ศ. 2551 - 2565 มาตรการส่งเสริมพลังงานทดแทนของรัฐ กำหนดราคาส่วนเพิ่มรับซื้อไฟฟ้า (adder) ที่ผลิตจากพลังงานหมุนเวียน โดย SPP และ VSPP เพื่อจ่ายเป็นรางวัลที่มีผลดีต่อสิ่งแวดล้อม และยังมีต้นทุนสูงกว่าเชื้อเพลิงฟอสซิล

แผนพัฒนาพลังงานทดแทน 15 ปี พ.ศ. 2551 - 2565 มาตรการส่งเสริมพลังงานทดแทนของรัฐ กำหนดราคาส่วนเพิ่มรับซื้อไฟฟ้า (adder) ที่ผลิตจากพลังงานหมุนเวียน โดย SPP และ VSPP เพิ่มขึ้นจากราคารับซื้อปกติ (คือปกติหน่วยละ 2.50 บาท)

ปรับ adder เพิ่มขึ้นอีก เมื่อมีนาคม 2552

แผนพัฒนาพลังงานทดแทน 15 ปี พ.ศ. 2551 - 2565 มาตรการส่งเสริมพลังงานทดแทนของรัฐ ลดภาษีกำไร (สิทธิประโยชน์ด้านภาษีจาก BOI) และให้สินเชื่อดอกเบี้ยต่ำ ถ่ายทอดความรู้ เช่น โครงการสาธิต สร้างมาตรฐานเทคโนโลยี

ความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจของพลังงานทดแทน เทียบกับการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล เงินลงทุนมักจะสูงกว่า (เช่น บาทต่อเมกะวัตต์) เชื้อเพลิงราคาถูกกว่ามาก บางชนิดไม่ใช้เชื้อเพลิงเลย ค่าดำเนินการอื่นๆ (เงินเดือน ค่าจ้าง ค่าบำรุงรักษา) ใกล้เคียงกัน

ความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจของพลังงานทดแทน เทียบกับการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล อัตราการใช้งานต่ำกว่า เช่น แผงโซลาร์ใช้ได้เฉพาะกลางวันที่มีแดด อายุใช้งานอาจสั้นกว่า ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยกว่า

ความคุ้มค่าทางการเงินต่ำ เมื่อไม่มี adder และ ไม่คำนึงถึงสิ่งแวดล้อม

ความคุ้มค่าทางการเงินสูงขึ้น เมื่อมี adder

ความคุ้มค่าทางการเงินสูงขึ้นมาก เมื่อมี adder และ คำนึงถึงสิ่งแวดล้อม แสดงว่าคุ้มค่าทางเศรษฐกิจ