ตัวอย่าง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ยุทธศาสตร์ที่ 1 ด้านความมั่นคง ยุทธศาสตร์ที่ 4 ด้านการสร้างความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านความสามารถในการแข่งขัน ยุทธศาสตร์ที่ 5 ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม แผนฯ 12 5. การเสริมสร้างความมั่นคงแห่งชาติ เพื่อการพัฒนาประเทศสู่ความมั่งคั่งและยั่งยืน 2. การสร้างความเป็นธรรมและ ลดความเหลื่อมล้ำในสังคม 3. ยุทธศาสตร์การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน 7. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ 8. การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม 9. การพัฒนาภาคเมือง และพื้นที่เศรษฐกิจ 4. การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อ การพัฒนาที่ยั่งยืน 7. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ เป้าหมายแผนฯ 12 เป้าหมายที่ 3 ประชาชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินมีโอกาสในการศึกษาและประกอบอาชีพที่สร้างรายได้เพิ่มขึ้น เป้าหมายที่ 4 ประเทศไทยมีความสัมพันธ์และความร่วมมือด้านความมั่นงคงในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเชี่ยน มิตรประเทศ และนานาประเทศในการป้องกันภัยคุกคามในรูปแบบต่างๆ เป้าหมายที่ 2 ลดปัญหาความเหลื่อมล้ำด้านรายได้ของกลุ่มคนที่มีฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมที่แตกต่างกันและแก้ปัญหาความยากจน เป้าหมายที่ 3 เพิ่มศักยภาพชุมชนและเศรษฐกิจฐานรากให้มีความเข้มแข็ง เพื่อให้ชุมชนพึ่งพาตนเองและได้ส่วนแบ่งประโยชน์ทางเศรฐกิจมากขึ้น เป้าหมายที่ 1 เศรษฐกิจรายสาขาเติบโตอย่างเข้มแข็ง และเป็นฐานในการสร้างความเจริญ เติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ เป้าหมายที่ 2 เกษตรกรมีรายได้เงินสดสุทธิทางการเกษตรเพิ่มขึ้นและพื้นที่การทำเกษตรกรรมยั่งยืนเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง เป้าหมายที่ 3 การพัฒนาระบบ โลจิสติกส์ เป้าหมายที่ 5 การพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล เป้าหมายที่ 1 เพิ่มความเข้มแข็งด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศ เป้าหมายที่ 2 เพิ่มขีดความสามารถในการประยุกต์ใช้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อยกระดับความสามารถการแข่งขันของภาคการผลิตและบริการและคุณภาพชีวิตของประชาชน เป้าหมายที่ 1 ลดช่องว่างระหว่างรายได้ระหว่างภาคและมีการกระจายรายได้ที่เป็นธรรมมากขึ้น เป้าหมายที่ 4 เพิ่มมูลค่าการลงทุนในพื้นที่เศรษฐกิจใหม่บริเวณชายแดน เป้าหมายที่ 2 สร้างความมั่นคงด้านน้ำและบริหารทรัพยากรน้ำทั้งน้ำผิวดินและน้ำใต้ดิน ให้มีประสิทธิภาพ เป้าหมายที่ 4 การพัฒนาด้านพลังงาน ตัวชี้วัดเป้าหมาย แผนฯ 12 3.2 รายได้ครัวเรือน จำนวนปีการศึกษาเฉลี่ย และอัตราการว่างงานในพื้นที่ 3 จชต. 4.3 จำนวนเหตุการณ์การกระทำผิดกฎหมายทางทะเลลดลง 2.1 รายได้เฉลี่ย ต่อหัวของ กลุ่มประชากร ร้อยละ 40 ที่มีรายได้ต่ำสุดเพิ่มขึ้นไม่ต่ำกว่าร้อยละ 35 ต่อปี 3.1 สัดส่วนครัวเรือนที่เข้าถึงแหล่งเงินทุนเพิ่มขึ้น 1.1 อัตราการขยายตัวของภาคเกษตร อุตสาหกรรม และบริการ (นอกเหนือจากบริการภาครัฐ) ขยายตัวไม่ต่ำกว่าร้อยละ 3 , 4.5 และ 6 ต่อปี ตามลำดับ 2.1 รายได้เงินสดสุทธิทางการเกษตรเพิ่มขึ้นเป็น 59,460 บาทต่อครัวเรือน ในปี 2564 2.2 พื้นที่การทำเกษตรกรรมยั่งยืนเพิ่มขึ้นเป็น 5,000,000 ไร่ ในปี 2564 3.2 จำนวนธุรกรรมให้บริการการนำเข้าและส่งออกด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์เป็นร้อยละ 100 ในปี 2564 5.1 อันดับความพร้อมของเทคโนโลยีสารสนเทศแลการสื่อสาร (network Readiness Index : NRI) ดีขึ้น 5.2 จำนวนหมู่บ้านที่มีอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงเข้าถึง เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 30 เป็นมากกว่า ร้อยละ 85 ในปี 2564 5.3 จำนวนผู้ประกอบการธุรกิจดิจิทัลเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 1,000 ราย ในปี 2564 5.4 จำนวนหน่วยงานภาครัฐมีระบบ ความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์ เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 47 เป็นมากกว่าร้อยละ 80 ในปี 2564 1.3 สัดส่วนการลงทุนวิจัยและพัฒนาในอุตสาหกรรมยุทธศาสตร์และเป้าหมายของประเทศ : งานวิจัยพื้นฐานเพื่อสร้าง/สะสมองค์ความรู้ : ระบบโครงสร้างพื้นฐาน บุคลากร และระบบมาตรฐาน เพื่มเป็น 55:25:20 2.1 อันดับความสามารถการแข่งขันโครงสร้างพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี จัดโดย IMD อยู่ในลำดับ 1 ใน 30 2.2 ผลงานวิจัยและเทคโนโลยีพร้อมใช้ที่ถูกนำไปใช้ ในการสร้างมูลค่าเชิงพาณิชย์ให้กับภาคการผลิตและบริการ และภาคธุรกิจ มีจำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของผลงานทั้งหมด 2.3 มูลค่าการลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลสำหรับค่าใช้จ่ายวิจัยและพัฒนามีจำนวนเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า ร้อยละ 20 ต่อปี 2.4 นวัตกรรมทางสังคมและนวัตกรรมสำหรับผู้สูงอายุและผู้พิการที่ผลิตเองได้ภายในประเทศ เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 1 เท่าตัว 1.1 ผลิตภัณฑ์ภาคต่อหัวระหว่างภาคลดลง 1.2 สัมประสิทธิ์การกระจายรายได้ระดับภาคลดลง 4.1 มูลค่าการลงทุนในพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษชายแดนเพิ่มขึ้น ร้อยละ 20 2.3 ประสิทธิภาพการใช้น้ำ ในพื้นที่ชลประทานเพิ่มขึ้น 2.5 พื้นที่และมูลค่าความเสียหายจากอุทกภัยและภัยแล้งมีแนวโน้มลดลง 2.6 พื้นที่ชลประทานเพิ่มขึ้นปีละ 350,000 ไร่ 4.1 สัดส่วนการใช้พลังงานทดแทนต่อปริมาณการใช้พลังงานขันสุดท้ายเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 12.94 เป็นร้อยละ 17.34 ในปี 2564 ยุทธศาสตร์จัดสรร ยุทธศาสตร์ที่ 1 ด้านความมั่นคง ยุทธศาสตร์ที่ 4 ด้านการแก้ไข ปัญหาความยากจน ลดความเหลื่อมล้ำและสร้างการเติบโตจากภายใน ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ยุทธศาสตร์ที่ 5 ด้านการจัดการน้ำและสร้าง การเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ตัวชี้วัดเป้าหมายเชิงยุทธ์ เศรษฐกิจในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ มีอัตราการเติบโตขยายตัวต่อเนื่อง และประชาชนมีรายได้เพิ่มขึ้น 1. รายได้เฉลี่ยต่อหัวของกลุ่มประชำกรร้อยละ 40 ที่มีรายได้ต่ำสุด เพิ่มขึ้นไม่ต่ำกว่าร้อยละ 15 ต่อปี 2.สัดส่วนครัวเรือน และกลุ่มอาชีพ เข้าถึงแหล่งทุนเพิ่มขึ้น อัตราการขยายตัวของภาคเกษตรขยายตัวไม่ต่ำกว่าร้อยละ 3 ต่อปี พื้นที่ที่รับประโยชน์จากแหล่งน้ำเพิ่มขึ้น 952,665 ไร่ ปริมาตรการเก็บกักน้ำ/ปริมาณน้ำต้นทุนเพิ่มขึ้น 522 ล้านลูกบาศก์เมตร ผลสัมฤทธิ์กระทรวง 1. เกษตรกรได้รับการส่งเสริมพัฒนาให้มีความเข้มแข็งสามารถพึ่งพาตนเองได้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมีรายได้เพิ่มขึ้น หนี้สินลดลงและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สามารถประกอบอาชีพเกษตรกรรมได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน 3. สินค้าเกษตรได้รับการยกระดับคุณภาพมาตรฐานและสร้างมูลค่าเพิ่ม สามารถลดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต เพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน ของประเทศ 4. ทรัพยากรการเกษตรมีการบริหารจัดการอย่างเหมาะสม รวมทั้งได้รับการอนุรักษ์ ปรับปรุงและฟื้นฟูให้เกิดความสมดุลและยั่งยืน 2. สถาบันเกษตรกรได้รับการยกระดับความสามารถในการดำเนินธุรกิจ เป็นกลไกที่มีประสิทธิภาพในการสร้างความเข้มแข็งให้กับเกษตรกร เป้าหมายกระทรวง/บูรณาการ 1.เสริมสร้างความมั่นคงด้านการเกษตร 2.ยกระดับคุณภาพชีวิตเกษตรกร 3.เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตภาคเกษตร 4.บริหารจัดการทรัพยากรทางการเกษตร ตัวชี้วัด เป้าหมายกระทรวง/บูรณาการ พื้นฐาน+ยุทธศาสตร์ ครัวเรือนเกษตรกรในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ ที่เข้าร่วมโครงการ มีรายได้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 5 2. บูรณาการตรวจร่วมเรือประมงและแรงงาน ในภาคประมงได้ตามเป้าหมาย 144 ครั้ง แผนงานบูรณาการ 2 แผน 1. แผนงานบูรณาการขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ 2.แผนงานบูรณาการจัดการปัญหาแรงงานต่างด้าวและการค้ามนุษย์ พื้นฐาน+ยุทธศาสตร์ 1.จำนวนเกษตรกรที่ได้รับการส่งเสริมตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 222,870 ราย 2.จำนวนสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมพัฒนา 13,136 แห่ง 3.จำนวนประชาชน ผู้ประกอบการ กลุ่มอาชีพองค์กรเกษตร สหกรณ์ สามารถเข้าถึงแหล่งทุนดอกเบี้ยต่ำ 457,617 ราย 4.จำนวนผู้ยากไร้ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ 8,000 ราย แผนงานบูรณาการ 2 แผน 1.แผนงานบูรณาการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและชุมชนเข้มแข็ง 2. แผนงานบูรณาการจัดการปัญหาที่ดิน ทำกิน พื้นฐาน+ยุทธศาสตร์ 1. มูลค่าสินค้าเกษตรเพิ่มขึ้นร้อยละ 3 2. รายได้ทางการเกษตรของครัวเรือนเกษตรกร เพิ่มขึ้นร้อยละ 5 3. พื้นที่เกษตรกรรมยั่งยืนเพิ่มขึ้น 600,000 ไร่ 4. จำนวนเกษตรกรได้รับการพัฒนาศักยภาพในการผลิตสินค้าเกษตร 940,307 ราย แผนงานบูรณาการ 8 แผน 1.แผนงานบูรณาการพัฒนาพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ 2. แผนงานบูรณาการสร้างรายได้จากการท่องเที่ยวและบริการ 3.แผนงานบูรณาการพัฒนาศักยภาพการผลิตภาคเกษตร 4.แผนงานบูรณาการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม 5.แผนงานบูรณาการพัฒนาด้านคมนาคมและระบบโลจิสติกส์ 6.แผนงานบูรณาการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล 7.แผนงานบูรณาการวิจัยและนวัตกรรม 8.แผนงานบูรณาการเสริมสร้างความเข้มแข็งและยั่งยืนให้กับเศรษฐกิจภายในประเทศ พื้นฐาน+ยุทธศาสตร์ 1. จำนวนพื้นที่ชลประทานที่ได้รับการบริหารจัดการ 25.25 ล้านไร่ 2. จำนวนพื้นที่ชลประทานเพิ่มขึ้น 522,594 ไร่ 3. จำนวนแหล่งน้ำนอกเขตชลประทานเพิ่มขึ้น 45,280 แห่ง 4. จำนวนพื้นที่ประสบภัยแล้งได้รับการช่วยเหลือ ร้อยละ 72.5 แผนงานบูรณาการ 3 แผน 1.แผนงานบูรณาการบริหารจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม 2. แผนงานบูรณาการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ 3. แผนงานพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม หน่วยงานที่รับผิดชอบ สป.กษ. กข. ตส. กป. ปศ. พด. วก. กสก. กสส. มม. สป.กษ. กข. ตส. กป.ปศ. พด.วก. กสก. กสส. มม. ส.ป.ก. สวพส. พกฉ. กฟก. กพส. กองทุนฯ ยากจน สป.กษ. กข. ตส. กป. ปศ. พด. ฝล. วก. กสก. กสส. มม. ส.ป.ก. มกอช. สศก. ชป. อตก. กยท. อสป. กองทุนปรับโครงสร้างฯ ชป. ฝล. พด. ส.ป.ก. กสก. ปศ. กองทุนจัดรูปที่ดิน