อย่าติดกับดักการเรียนรู้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทเรียนคอมพิวเตอร์แบบมัลติมีเดีย
Advertisements

Structure and Concept of Interactive lecture
หลักสูตร eLearning สำหรับ มทรก เม.ย.09
การสร้างสื่อด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE MODAL
แนวทางการพัฒนา e-Learning ให้ประสบผลสำเร็จ
ระบบการสอนของดิคและคาเรย์
ระบบการสอนของดิคและคาเรย์
ในอุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิช กรรมการบริหารสถาบันคลังสมองฯ นำเสนอในการประชุมเพื่อนําเสนอผลจากการดําเนินงานตามโครงการปฎิบัตกิ าร ภายใต้หลักสูตรคณบดีเพื่อการเปลี่ยนแปลงรุ่น.
ADDIE Model.
Virtual Learning Environment
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ADDIE DESIGN Sumai Binbai.
โครงงานคืออะไร หลักการของการเรียนรู้ของ โครงงาน จุดมุ่งหมายของการจัดการเรียนรู้ ด้วยโครงงาน โครงงานกับการเรียนรู้แบบต่างๆ ลักษณะเด่นของการเรียนรู้ด้วย.
พงษ์ศักดิ์ วรรณไกรโรจน์ บรรยายในการอบรม “ การจัดทำแผนการสอนใน คลินิกสำหรับอาจารย์แพทย์ ” กรมอนามัย 8-9 ก. ย การจัดการเรียนการสอน 1.
การเขียนแผนการสอน Media Base learning. รายละเอียดแผนการเรียนรู้ 1. สาระสำคัญ (Concept) เป็นความคิดรวบยอด หรือหลักการของเรื่องหนึ่งที่ต้องการให้เกิดกับ.
Testing & Assessment Plan Central College Network I.
ารวัดและประเมินผลการเรียนรู้ระดับอุดมศึกษา
การฝึกอบรมคืออะไร.
นวัตกรรมและเทคโนโลยีการเรียนการสอน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษา
การเรียนรู้โดยใช้โครงการเป็นฐาน (Project based Learning : PBL)
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
รูปแบบและแนวทางการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
รายวิชา คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
การอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี (DVE : Dual Vocational Education)
การออกแบบอีเลิร์นนิง
Educational Technology & Instructional Technology
Learning Theory Dr. Sumai Binbai.
การวัดและประเมินการปฏิบัติ
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์
(Instructional Media)
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
Project based Learning
การพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐPMQA สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลำพูน
เทคนิคการสอนยุค IT ตอนที่ 2
Educational Information Technology
วันนี้เรียนอะไร การออกแบบสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน สื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนคืออะไร ประเภทของสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หลักการออกแบบสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน.
สื่อ การเรียนการสอน โดย อาจารย์สุวิสาข์ เหล่าเกิด
วัฒนธรรมองค์กร กรมอนามัย
ดร.ณัฐวัฒน์ นิปกากร, DMS. Excellence Training Institution
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 12 มกราคม 2550
ดร.จันทร์ ติยะวงศ์ คณะศึกษาศาสตร์และศิลปศาสตร์ วิทยาลัยนครราชสีมา
แนะนำรายวิชา การออกแบบระบบการจัดการเรียนรู้บนเครือข่าย
การบริหารผลการปฏิบัติงาน
เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการศึกษา โดย อาจารย์สุวิสาข์ เหล่าเกิด
ดร.จันทร์ ติยะวงศ์ คณะศึกษาศาสตร์และศิลปศาสตร์ วิทยาลัยนครราชสีมา
Learning Assessment and Evaluation
การติดตามและการประเมินผลโครงการ
ความหมายและความสำคัญ ของการประเมินภาคปฏิบัติ (Performance Assessment)
บุคลากร (Workforce) หมวด 5 หน้า 1.
ความสำคัญและประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ของ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน
4.8 พัฒนาการเด็กวัยเรียน
การประเมินผลการเรียนรู้
การประเมินการเรียนการสอน
รายละเอียดตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร
การสร้างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร
การออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์
การพัฒนาหลักสูตรในรูปแบบ Productive Learning
สาธารณสุขยุคใหม่ สร้างสังคมสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ (SBAC)
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เชิงกลยุทธ์
หลักสูตร ครูฝึกใหม่ รุ่น 63
การประเมินประสิทธิภาพสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ด้านผลงานที่เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ในด้านเรียนการสอน
การเขียนรายงานการออกแบบสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
ส่วนของ ผู้ดูแลระบบ. ระบบการเรียนการสอนแบบ Interactive Model สำหรับ CSMA ด้วยเทคโนโลยี m-Learning.
การออกแบบและพัฒนาสื่อ CAI
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อย่าติดกับดักการเรียนรู้ เพราะไม่ว่าจะเรียนมากเท่าไหร่ หากไม่ได้ลงมือทำไม่มีวันสำเร็จได้ “ประสบการณ์” สำคัญมากกว่าเนื้อหาวิชา ยิ่งมีประสบการณ์มาก ยิ่งเรียนรู้ได้ทั้งลึกและกว้าง ยิ่งมีประสบการณ์มากเท่าใดยิ่งทำงานได้ “ประสบความสำเร็จ” มากเท่านั้น Sumai Binbai

การออกแบบระบบการเรียนการสอน วัตถุประสงค์การเรียนรู้ นักศึกษาสามารถอธิบายรูปแบบของระบบการเรียนการสอนได้ นักศึกษาสามารถนำรูปแบบระบบการเรียนการสอนไปใช้ในการออกแบบสื่อการเรียนการสอนได้

การออกแบบระบบการเรียนการสอน การสร้างสรรค์ประสบการณ์การเรียนการสอนที่ทำให้ผู้เรียนได้รับความรู้และทักษะอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและดึงดูดความสนใจได้มากขึ้น

การออกแบบระบบการเรียนการสอน องค์ประกอบของการออกแบบระบบการเรียนการสอน - Instructional Theory - Instructional Design Process - Tools

การออกแบบระบบการเรียนการสอน ขั้นตอนพื้นฐานของ ISD วัตถุประสงค์ ผู้เรียน วิธีการและกิจกรรม การวัดและประเมินผล ต้องใช้ - ทฤษฎี - กระบวนการ

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ วัตถุประสงค์ หมายถึง ข้อความที่ระบุคุณลักษณะการเรียนรู้และความสามารถ ที่ครูต้องการให้เกิดขึ้นกับนักเรียน หลังจากที่นักเรียนได้ผ่านกิจกรรมการเรียนการสอน ในเรื่อง หรือบทหนึ่ง ๆ แล้ว

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 1.จุดประสงค์ทั่วไป เป็นจุดประสงค์ที่มีความหมายกว้าง ไม่เฉพาะเจาะจง เป็นผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1. จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม/จุดประสงค์นำทาง เป็นจุดประสงค์ที่มีความหมายเฉพาะเจาะจงสามารถแสดงออกมาเป็นพฤติกรรมและสามารถวัดได้

ผู้เรียน แตกต่างกัน นักเรียน/ผู้เรียน หมายถึง ผู้ที่ได้รับการศึกษาในสถานศึกษาระดับก่อนประถมศึกษา ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และที่เทียบเท่าทั้งนี้รวมถึงการศึกษานอกระบบโรงเรียน (สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา) แตกต่างกัน แตกต่างกัน

วิธีการและกิจกรรม เป็นการจัดกิจกรรมโดยวิธีต่าง ๆ อย่างหลากหลายที่มุ่งให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างแท้จริงเกิดการพัฒนาตนและสั่งสมคุณลักษณะที่จำเป็นสำหรับการเป็นสมาชิกที่ดีของสังคมของประเทศชาติต่อไป การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่มุ่งพัฒนาผู้เรียน จึงต้องใช้เทคนิควิธีการเรียนรู้รูปแบบการสอนหรือกระบวนการเรียนการสอนในหลากหลายวิธี (คณะอนุกรรมการปฏิรูปการเรียนรู้, 2543)

Formative Assessment Summative Assessment Authentic Assessment การวัดและประเมินผล Formative Assessment Summative Assessment Authentic Assessment

Instructional System Design: Model ADDIE MODEL

Dick & Carey Model

Garlach & Ely

Kemp & Others

Brown & Others

Gagne’ 1. เร่งเร้าความสนใจ (Gain attention of the students) 2. แจ้งวัตถุประสงค์ (Inform students of the objectives) 3. ทบทวนความรู้เดิม (Simulate recall of prior learning)

Gagne’ 4. นำเสนอเนื้อหา (Present the content) 5. ชี้แนะแนวทางการเรียนรู้ (Provide learning guidance) 6. กระตุ้นให้ผู้เรียนตอบสนองโดยการทำกิจกรรม (Elicit performance)

Gagne’ 7. ให้ข้อมูลย้อนกลับ (Provide Feedback) 8. ทดสอบความรู้/ความสามารถ (Assess performance) 9. สรุปและนำไปสู่การประยุกต์ใช้ความรู้ (Enhance retention and transfer to the job)

กิจกรรมของนักศึกษา ให้นักศึกษาออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนของตนเอง (กลุ่มละ 3 คน) โดยเลือกระบบการเรียนการสอน 1 รูปแบบ และเลือกเรื่องที่จะทำบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 1 เรื่อง