โรคจากยุงพาหะ โรคไข้เลือดออก ยุงพาหะนำโรค การป้องกันควบคุมโรค รุจิรา เลิศพร้อม นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สำนักงานป้องกันควบคุมโรค จังหวัดสระบุรี กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
การแพร่เชื้อ Dengue virus ยุงมีเชื้อตลอด 1- 2 เดือน ไวรัสในกระแสโลหิต ระยะฟักตัวในยุง 8 -12 วัน กัดเด็กหรือผู้ใหญ่ คนไข้ ขณะมีไข้สูง ระยะฟักตัวในคน 5 - 8 วัน (3-15 วัน)
Transmission of Dengue Virus by Aedes aegypti Mosquito feeds / Mosquito refeeds / acquires virus transmits virus Extrinsic incubation period Intrinsic incubation period Viremia Viremia 5 8 12 16 20 24 28 Days Illness Illness Human #1 Human #2 5
กลุ่มอาการจากการติดเชื้อไวรัสเด็งกี่
Disease Spectrum Donald S. Shepard Vaccine 22 (2004) 1275–1280
อาการไข้เลือดออก (1) ไข้สูงเฉียบพลันและสูงลอย 2-7 วัน ส่วนใหญ่สูงเกิน 38.5 เซลเซียส ปวดเมื่อยตามตัว ปวดหัว ปวดหลัง หน้าแดง ซึม คลื่นไส้ เบื่ออาหาร มักไม่มีไอ จาม น้ำมูกไหล (ช่วยแยกจากไข้หวัดใหญ่ได้บ้าง)
อาการไข้เลือดออก (2) มีเลือดออกผิดปกติ เช่น จุดเลือดออกสีแดงที่ผิวหนัง ตามตัว/แขน/ขา อาจอาเจียนเป็นเลือดหรืออุจจาระเป็นสีดำ ตับโต พบได้ในวันที่ 3 หรือ 4 นับจากเริ่มป่วย ตับจะนุ่ม และกดเจ็บ ตัวเย็น ช็อก ถึงเสียชีวิตได้ (ช็อก หมายถึง การไหลเวียนโลหิตล้มเหลว)
การรักษาโรคไข้เลือดออก ไม่มียาต้านไวรัส หากมีอาการสงสัยว่าเป็นโรคไข้เลือดออก ต้องรีบไปโรงพยาบาลทันที “ห้ามให้ยาลดไข้ แอสไพริน, ไอบรูโพเฟน เพราะจะไปทำให้มีอาการเลือดออกเพิ่มมากขึ้น”
X โรคจากพาหะยุงลาย มียุงลายเป็นพาหะนำโรค วัคซีนป้องกันโรคไข้เลือดออก ยังอยู่ระหว่างการพัฒนา ไม่มียาต้านไวรัส X ควบคุมยุงลายและลูกน้ำ
ชีวนิสัยของยุงลาย หลังกินเลือด 2-3 วัน วางไข่ ชอบวางไข่ในตอนบ่ายๆ ออกหากินในเวลากลางวัน 8.00-17.00 น. หากินไม่ไกลจากแหล่งเพาะพันธุ์ บินไปไม่เกิน 50 เมตร ชอบเกาะพักตามสิ่งห้อยแขวนต่างๆ ยุงลายตัวเมียกินเลือดประมาณ 3-4 วัน/ครั้ง หลังกินเลือด 2-3 วัน วางไข่ ชอบวางไข่ในตอนบ่ายๆ ไม่ชอบแสงและลมแรง ยุงลายบ้านชอบกัดคนในบ้าน ยุงลายสวนชอบกินเลือดสัตว์ และคนนอกบ้าน มีอายุประมาณ 1-2 เดือน
วงจรชีวิตของยุงลาย ไข่ยุงลาย ยุงลาย ลูกน้ำ ตัวโม่ง ใช้เวลาย่อยเลือด 1-2 วัน ใช้เวลาย่อยเลือด 4-5 วัน ลูกน้ำ 7-10 วัน ยุงลาย ตัวโม่ง 1-2 วัน อายุขัยของยุง ตัวผู้ 1 สัปดาห์ ตัวเมีย 4-6 สัปดาห์
การควบคุมยุงพาหะนำโรค ป้องกันตนเอง -ใช้มุ้ง -ติดมุ้งลวด -สวมเสื้อผ้า -ยาจุด -ทากันยุง ควบคุมตัวยุง -พ่นสารเคมี -ชุบมุ้ง ตัวแก่ ควบคุมระยะที่อยู่ในน้ำ - ลดแหล่งเพาะพันธุ์ - กับดัก - สารเคมี - ตัวห้ำ - ตัวเบียน ตัวโม่ง ลูกน้ำ ไข่
วัตถุประสงค์ของการควบคุมยุงพาหะนำโรค ลดประชากรพาหะ ลดอายุขัยพาหะ ลดการสัมผัสระหว่างยุงพาหะกับคน ลดการแพร่เชื้อโรค
วางไข่ตามภาชนะที่มีน้ำสะอาด ยุงลายชอบวางไข่ที่ใด น้ำสะอาด ยุงลายบ้านร้อยละ 49 - 97 วางไข่ตามภาชนะที่มีน้ำสะอาด น้ำสกปรก
แหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลาย
แหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลาย
แหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลาย
แหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลาย
แหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลาย
มาตรการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก 1. สร้างระบบเฝ้าระวังโรคให้เข้มแข็งในพื้นที่ - เตรียมคน อุปกรณ์ (สารเคมี, เครื่องพ่น) - การค้นหาและรักษาผู้ป่วยอย่างฉับไว - ระบบรายงาน/สอบสวน/ควบคุมโรค ที่รวดเร็วมีประสิทธิภาพ - เร่งรัดในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย 2. สร้างระบบการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายและชุมชน 2.1 การสนับสนุนการป้องกันโรคไข้เลือดออกผ่านกระบวนการจัดการพาหะนำโรคแบบบูรณาการ (IVM- Integrate vector management) 2.2. การใช้ประชาคม เพื่อสร้างความเข้มแข็งการป้องกันโรค /บ้านปลอดลูกน้ำยุงลายอย่างจริงจังต่อเนื่อง - รณรงค์กำจัดภาชนะที่มีศักยภาพในการขังน้ำอันจะเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายใน/นอกบ้าน ชุมชน เช่น สนับสนุนให้มีโครงการบ้านสะอาดน่าอยู่ทุกสัปดาห์หรือทุกเดือน - รวมทั้งสนับสนุนให้หน่วยงานท้องถิ่นเกิดความตระหนักในการเก็บกวาดล้างวัสดุ และกองขยะที่อาจเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย 3. มีระบบติดตามกำกับประเมินผลในพื้นที่
ปัจจัยในความสำเร็จในการควบคุมโรคไข้เลือดออก (พ่นสารเคมี) ขนาดเม็ดน้ำยา จำนวนเม็ดน้ำยา คุณสมบัติสารเคมี เครื่องพ่นสารเคมี เทคนิคการพ่นสารเคมี พาหะ ความไวสารเคมี เวลาหากิน % ความสำเร็จ เวลาและโอกาสในการสัมผัสสารเคมี สิ่งแวดล้อม - ลม - อุณหภูมิ % การลดจำนวนป่วย
ทบทวนมาตรการควบคุมยุงพาหะนำโรคไข้เลือดออก การควบคุมยุงตัวเต็มวัย ยุงลายบ้านต้านทานต่อไพรีทรอยด์ชนิด Permethrin ระดับสูงทุกภูมิภาคของประเทศไทย ควรหลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีชนิดนี้เพื่อควบคุมยุงลาย สารเคมีไพรีทรอยด์ชนิด อื่น เช่น Deltamethrin, cyfluthrin, lambdacyhalothrin ยุงลายบ้านมีการต้านทานระดับต่ำหรือระดับปานกลาง สารกำจัดแมลงชนิดอื่น เช่น กลุ่มออร์การ์โนฟอสเฟต และคาร์บาเมต ยุงลายบ้านมีการต้านทานระดับต่ำหรือระดับปานกลาง นอกจากนั้นผลข้างเคียงขณะพ่นประชาชนมักบ่นว่ากลิ่นเหม็นรุนแรง การใช้มาตรการเสริม เช่น สารซักล้าง ปีบดักยุง หรือเครื่องดักยุง ยังมีปัญหาในการนำมาปฏิบัติมาก การใช้ไม้ตียุงไฟฟ้า เพื่อกำจัดยุงในบ้านเรือนยังมีความเหมาะสมที่จะนำมาใช้ควบคุมตัวเต็มวัย ซึ่งได้ประโยชน์ทั้งการกำจัดยุงและป้องกันตนเอง ข้อเสนอ สมควรกำหนดแนวทางการใช้สารเคมีควบคุมตัวเต็มวัย ควรใช้สารไพรีทรอยด์ชนิดอื่นนอกเหนือจาก permethrin ผสมด้วยสารเสริมฤทธิ์ เช่น Piperonyl butoxide (PBO) เพื่อการควบคุมโรค สำหรับการใช้ไม้ตียุงไฟฟ้าควรสนับสนุนให้ประชาชนนำมาใช้กำจัดยุงในบ้านเรือน
ทบทวนมาตรการควบคุมยุงพาหะนำโรคไข้เลือดออก การควบคุมลูกน้ำ ทรายเทมีฟอส ยังมีประสิทธิภาพในการควบคุมลูกน้ำยุงลายบ้าน ยังไม่มีรายงานชัดเจนเกี่ยวกับการต้านทานของยุงลายต่อเทมีฟอส การใช้ pyriproxyfen เป็นสารที่มีความปลอดภัยต่อคนและสิ่งแวดล้อม แต่ฤทธิ์คงทนสั้นกว่าทรายเทมีฟอส ราคาสูง นอกจากนั้นจะไม่สามารถฆ่าลูกน้ำได้ทันทีอาจต้องใช้เวลาถีง 5 วันหากใช้กับลูกน้ำ ระยะเกิดใหม่ นอกจากนั้นการใช้เพื่อไม่ให้เกิดผลกระทบต่อน้ำใช้ ต้องใช้รูปแบบทราย ไม่ควรใช้ รูปแบบ Emulsifiable Concentrate (EC) การใช้ภูมิปัญญาชาวบ้าน ได้แก่ ปูนแดง อิฐมอญเผา พบว่าไม่มีประสิทธิภาพในการควบคุมลูกน้ำ การใช้ปลากินลูกน้ำ มีประสิทธิภาพในการกำจัดลูกน้ำได้ดี ต้นทุนต่ำ ควรมีการส่งเสริมเรื่องการยอมรับ การจัดการสิ่งแวดล้อม ในบ้านและรอบ ๆ บ้านไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ สามารถลดประชากรยุงลงได้ดี แต่ยังนำไปปฏิบัติค่อนข้างน้อย ต้องมีการกระตุ้นผ่าน รพ.สต. อปท. และ อสม. ทำความเข้าใจกับผู้นำท้องถิ่นและประชาชนในพื้นที่ ข้อเสนอ แนวทางการควบคุมลูกน้ำยังคงใช้การจัดการสิ่งแวดล้อมไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ การใช้ปลากินลูกน้ำ หากต้องใช้สารเคมีแนะนำให้ใช้ทรายกำจัดลูกน้ำเทมีฟอส
ทบทวนมาตรการควบคุมยุงพาหะนำโรคไข้เลือดออก การป้องกันตนเอง ยาทากันยุง DEET แนะนำให้ใช้ในเด็กตั้งแต่ 4ปีขึ้นไป ประสิทธิภาพในการป้องกันยุงดี ราคาถูก ยาทากันยุง (IR3535) แนะนำให้ใช้ในเด็กตั้งแต่ 2 ปีขึ้นไป ประสิทธิภาพในการป้องกันยุงดี ราคาแพง ยาทากันยุงที่เป็นสารสกัดจากพืช เช่น ตะไคร้หอม แนะนำให้ใช้ในเด็กตั้งแต่ 2 ปีขึ้นไป ประสิทธิภาพในการป้องกันยุงยังมีความแตกต่างแต่ละผลิตภัณฑ์ ราคาแพง ข้อเสนอควรใช้ยาทากันยุง DEET หรือ IR3535 สำหรับสารสกัดจากพืชควรเป็นทางเลือกสำหรับท้องถิ่น ข้อเสนอ การใช้ยาทากันยุง DEET ยังคงเป็นมาตรการป้องกันตนเองที่ต้องส่งเสริมให้ใช้ในกลุ่มผู้เสี่ยงต่อการสัมผัสยุงอายุ 4 ปีขึ้นไปได้นำไปใช้ หากอายุต่ำกว่า 4 ปีให้นอนในมุ้งหรืออยู่ในห้องที่มีมุ้งลวดและปราศจากยุงลาย
Thank you for your attention SAWASDEE แหล่งที่มา : โดย เพจ หมอหมึกดุ๋ย https://www.facebook.com/doctormu ekduii/