มาตรฐานงานสุขศึกษา และการใช้โปรแกรมประเมินตนเอง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
การใช้โปรแกรมประเมินตนเอง
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
สำนักงานสหกรณ์ จังหวัดกระบี่ รายงาน แผน / ผลการ ปฏิบัติงาน ประจำเดือนเมษายน 2555 กลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
การติดตามประเมินผล และรายงาน.
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ โรงเรียนอนุบาลนาแกผดุงราชกิจเจริญ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครพนม เขต ๑ ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ภก.กิตติศักดิ์ ไท้ทอง
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แนวทางใหม่ในการบริหารงานบุคคล ลูกจ้างประจำเงินรายได้
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
แผนงานการพัฒนาองค์กรคุณภาพ
กิจกรรมหลัก ภาคกลาง 12กันยายน 2560
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ ตัวชี้วัดกรม ตัวชี้วัดตามภารกิจหน่วยงาน แบบวิเคราะห์การถ่ายทอดตัวชี้วัด ความเชื่อมโยงการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงานลงสู่ระดับกลุ่มงาน.
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
การสอนควบคู่กับการเรียน
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
กรณีศึกษา การจัดทำข้อเสนอโครงการที่ดี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

มาตรฐานงานสุขศึกษา และการใช้โปรแกรมประเมินตนเอง มาตรฐานงานสุขศึกษา และการใช้โปรแกรมประเมินตนเอง วิรัช มั่นในบุญธรรม นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ โรงพยาบาลขอนแก่น

มาตรฐานงานสุขศึกษา คือ แนวทางการพัฒนาคุณภาพงานสุขศึกษา และวัดความสำเร็จของการดำเนินงานของ สถานบริการสุขภาพทุกระดับ

มาตรฐานงานสุขศึกษา ประโยชน์ สถานบริการ : ดำเนินงานสุขศึกษา และพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ&สร้างสุขภาพประชาชนอย่างมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ บุคลากร : มีแนวทางการดำเนินงานพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพแก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมายต่างๆ

โครงสร้างของมาตรฐานงานสุขศึกษา หมวดที่ 1 การบริหารจัดการ องค์ประกอบ 1, 2, 3 หมวดที่ 2 กระบวนการดำเนินงาน องค์ประกอบ 4, 5, 6, 7 4 หมวด 10 องค์ประกอบ หมวดที่ 3 กระบวนการพัฒนาคุณภาพบริการ องค์ประกอบ 8, 9 หมวดที่ 4 ผลลัพธ์การดำเนินงาน องค์ประกอบ 10

หมวดที่ 1 การบริหารจัดการองค์กร องค์ประกอบที่ 1 นโยบายการดำเนินงานสุขศึกษาและ พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ องค์ประกอบที่ 2 ทรัพยากรการดำเนินงานสุขศึกษาและ พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ องค์ประกอบที่ 3 ระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขศึกษา และพฤติกรรมสุขภาพ

หมวดที่ 2 กระบวนการดำเนินงาน หมวดที่ 2 กระบวนการดำเนินงาน องค์ประกอบที่ 4 แผนการดำเนินงานสุขศึกษาและพัฒนา พฤติกรรมสุขภาพ องค์ประกอบที่ 5 กิจกรรมสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ องค์ประกอบที่ 6 การติดตามสนับสนุนการดำเนินงาน สุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ องค์ประกอบที่ 7 การประเมินผลการดำเนินงานสุขศึกษาและ พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ

หมวดที่ 3 การพัฒนาคุณภาพงาน องค์ประกอบที่ 8 การเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ องค์ประกอบที่ 9 การวิจัยเกี่ยวกับสุขศึกษาและ พฤติกรรมสุขภาพ

หมวดที่ 4 ผลลัพธ์การดำเนินงาน หมวดที่ 4 ผลลัพธ์การดำเนินงาน องค์ประกอบที่ 10 ผลลัพธ์การดำเนินงานสุขศึกษา และพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ ผลลัพธ์ด้านผู้รับบริการ ผลลัพธ์ด้านชุมชน ผลลัพธ์ด้านพัฒนาคุณภาพบริการ

HOW TO ? สู่มาตรฐานงานสุขศึกษา 1. ศึกษาทำความเข้าใจกับกระบวนการ 2. สร้างความรู้สึกที่ดี 3. ตระหนักถึงการแก้ไขปัญหาในพื้นที่ 4. มองที่เป้าหมาย 5. แสดงผลงานที่มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

สถานบริการสุขภาพใดบ้าง ? ที่ควรดำเนินงานตามมาตรฐานงานสุขศึกษา

ต้องดำเนินงานผ่านเกณฑ์มาตรฐานงานสุขศึกษา ครบทุกองค์ประกอบหรือไม่

ความเชื่อมโยงขององค์ประกอบ 1. นโยบาย 8. เฝ้าระวัง 2. ทรัพยากร 3. ระบบข้อมูลสารสน เทศ 9. วิจัย 4. วางแผน 5. ดำเนินงาน 6. การติดตามสนับสนุน 7. ประเมินผล 10. ผลลัพธ์

ระดับผลการประเมินตนเองของมาตรฐานงานสุขศึกษา ระดับที่ 3 ระดับดีมาก ระดับที่ 2 ระดับดี ระดับที่ 1 ระดับพอใช้ องค์ 1 - 10 องค์ 1 - 7 องค์ 3, 4, 5 และ 7 หากดำเนินงานผ่านบางเกณฑ์ /บางตัวชี้วัด / บางองค์ประกอบ แต่ยังไม่เข้าตามระดับ เรียก “ ระยะพัฒนา”

องค์ประกอบของมาตรฐานงานสุขศึกษา ประกอบด้วยตัวชี้วัด และเกณฑ์อะไรบ้าง

ใช้ตัวชี้วัดเดียวกัน แต่เกณฑ์แตกต่าง ตามระดับสถานบริการสุขภาพ โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป 41 เกณฑ์ โรงพยาบาลชุมชน 41 เกณฑ์ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 36 เกณฑ์

1.1.1 1.1.2 1.1.3 องค์ 1 นโยบายการดำเนินงานสุขศึกษา และพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ 1.1 ลักษณะของนโยบายการดำเนินงานสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ มีนโยบายฯของรพ.เป็นลายลักษณ์อักษร 1.1.1 เกิดจากการมีส่วนร่วมของภาครัฐ และภาคประชาชนที่เกี่ยวข้องกับปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ 1.1.2 เป็นที่รับรู้ของผู้เกี่ยวข้องในรพ. ภาครัฐ และภาคประชาชนในพื้นที่ 1.1.3

องค์ 2 ทรัพยากรการดำเนินงานสุขศึกษาฯ 2.1 บุคลากรที่รับผิดชอบงานสุขศึกษา มีการมอบหมายเป็นลายลักษณ์อักษร มีวุฒิหรือมีประสบการณ์ด้านสุขศึกษา ได้รับการพัฒนาด้านสุขศึกษาอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 2.2 งบประมาณหรือทรัพยากร ได้รับงบประมาณหรือทรัพยากรจาก รพ. ภาครัฐ หรือ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ตามกิจกรรมในแผน

องค์ 3 ระบบข้อมูลสารสนเทศด้านการดำเนินงานฯ 3.1 ฐานข้อมูลด้านพฤติกรรมสุขภาพ จำแนกประเภทข้อมูลสอดคล้องกับปัญหา -วิธีการรวบรวมข้อมูลพฤติกรรมที่เชื่อถือ และตรวจสอบได้ -ปรับข้อมูลเป็นปัจจุบัน ปีละ 1 ครั้ง -เชื่อมโยงกับเครือข่ายทั้งใน/นอกรพ. 3.2 ฐานข้อมูลด้านสื่อสุขศึกษา จำแนกประเภทข้อมูลสื่อสุขศึกษา -มีข้อมูลความต้องการใช้สื่อสุขศึกษา -มีการประเมินคุณภาพสื่อที่ใช้และแจ้งผลการประเมินสื่อ หรือนำมาปรับปรุงพัฒนาสื่อ -เผยแพร่ข้อมูลสื่อ 3.3 ฐานข้อมูลเครือข่ายสุขศึกษา จำแนกประเภทข้อมูลเครือข่าย -ปรับข้อมูลเครือข่ายเป็นปัจจุบัน ปีละ 1 ครั้ง -เชื่อมโยงข้อมูลเครือข่ายทั้งใน/นอกรพ.

องค์ 4 แผนการดำเนินงานสุขศึกษาฯ 4.1 มีแผนสุขศึกษาฯบูรณาการในแผนงาน/โครงการ ที่เป็นปัญหาสาธารณสุข มีวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดพฤติกรรมสุขภาพในแผนงาน/โครงการในรพ. และในชุมชน 4.2 ลักษณะแผนการดำเนินงานสุขศึกษา ใช้ข้อมูลจากฐานข้อมูลพฤติกรรม ,สื่อและเครือข่าย ครอบคลุมการเรียนรู้ การพัฒนาทักษะ และพัฒนาปัจจัยแวดล้อม จัดทำโดยการ มีส่วนร่วมกับทีมสหวิชาชีพ หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องและประชาชน มีการถ่ายทอดสู่ผู้ปฏิบัติงาน

องค์ 5 กิจกรรมสุขศึกษาฯ องค์ 5 กิจกรรมสุขศึกษาฯ 5.1 ลักษณะของการจัดกิจกรรม 5.1.1 มีการจัดกิจกรรมในรพ.และในชุมชนหรือบูรณาการในงานบริการที่กำหนด ตามแผนงาน/โครงการ 5.1.2 มีการจัดกิจกรรมที่มุ่งการเรียนรู้ พัฒนาทักษะ พัฒนาปัจจัยแวดล้อม 5.1.3 มีการจัดกิจกรรมในรพ.และในชุมชนที่ประกอบด้วยทีมสหวิชาชีพ หรือ ภาคีเครือข่าย

องค์ 6 การติดตามสนับสนุนงานสุขศึกษาฯ 6.1 กระบวนการติดตามสนับสนุนฯ 6.1.1 ติดตามสนับสนุนฯ ตามที่กำหนดในแผนงาน/โครงการ 6.1.2 นำข้อมูลจากการติดตามสนับสนุนฯไปใช้ปรับปรุงแก้ไขปัญหา

องค์ 7 การประเมินผลการดำเนินงานสุขศึกษา 7.1 กระบวนการประเมินผลฯ 7.1.1 มีแนวทางการประเมินผลการดำเนินงานสุขศึกษาที่ระบุตัวชี้วัดพฤติกรรมสุขภาพ เครื่องมือ ระยะเวลา และกลุ่มเป้าหมายตามแผนงานหรือโครงการที่กำหนด 7.1.2 มีการประเมินผลและรายงานผลเป็นลายลักษณ์อักษร 7.1.3 นำผลประเมินไปใช้ปรับปรุงการดำเนินงานสุขศึกษา

องค์ 8 การเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ 8.1 กระบวนการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ 8.1.1 มีแผนเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยงตามปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ 8.1.2 มีการสร้าง และหรือพัฒนาและหรือใช้เครื่องมือสนับสนุนให้เครือข่ายปฐมภูมิทุติยภูมิ ของรพ. 8.1.3 มีการแก้ไขพฤติกรรมเสี่ยงและรายงานผลเป็นลายลักษณ์อักษร 8.1.4 นำผลเฝ้าระวังพฤติกรรมไปใช้ปรับปรุงการดำเนินงานสุขศึกษา

องค์ 9 วิจัยที่เกี่ยวกับสุขศึกษาฯ 9.1 กระบวนการวิจัยฯ 9.1.1 มีการวิจัยสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพที่สอดคล้องกับปัญหาสาธารณสุขหรือเกี่ยวกับกระบวนการดำเนินงานสุขศึกษา ปีละ 1 เรื่อง 9.1.2 มีรายงานผลวิจัยเป็นลายลักษณ์อักษร

องค์ 10 ผลลัพธ์การดำเนินงานฯ 10.1 ผลลัพธ์ด้านผู้รับบริการ 10.1.1 ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมสุขภาพในปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ถูกต้องเพิ่มขึ้น 10.1.2 ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจต่อกระบวนการสุขศึกษาตามแผนงาน/โครงการ 10.2 ผลลัพธ์ด้านชุมชน 10.2.1 ระดับการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดกิจกรรมสุขศึกษา 10.3 ผลลัพธ์ด้านพัฒนาคุณภาพบริการ 10.3.1 มีนวัตกรรมหรือผลงานเด่นที่ได้รับรางวัลระดับจังหวัด หรือเขต หรือประเทศ หรือผลงานที่ประสบความสำเร็จในการดำเนินงานด้านสุขศึกษา ปีละ 1 เรื่อง

Question ?

การใช้โปรแกรมประเมินตนเอง

เข้าเว็บไซต์กองสุขศึกษา http://www.hed.go.th คลิกแบนเนอร์ มาตรฐานงานสุขศึกษา

เลือกประเมินตนเอง ตามระดับสถานบริการ

หน่วยบริการ บันทึกข้อมูล 1.) รหัสหน่วยบริการสุขภาพ 5 หลัก 2.) Password (ใช้รหัสหน่วยบริการสุขภาพ 5 หลัก) 3.) เลือกปีงบประมาณที่ต้องการประเมิน 4.) กดปุ่ม ขอประเมินตนเอง

ตรวจสอบความถูกต้องของชื่อสถานบริการ ก่อนทำแบบประเมิน

โปรดอ่าน * เงื่อนไขการประเมินตนเอง (ตัวสีแดง)ให้เข้าใจ

เข้าสู่กระบวนการประเมินฯ ตามองค์ประกอบที่ 1-10 คลิกเลือกบันทึกให้ ครบทุกเกณฑ์ ใส่หลักฐานหรือ ข้อมูลยืนยัน กดปุ่ม บันทึก ด้วยทุกครั้ง เสร็จสิ้นการประเมินตามตัวชี้วัดในแต่ละองค์ประกอบ

สั่งพิมพ์หลักฐานการบันทึกข้อมูล เลือก ส่งแบบประเมินตนเอง ยืนยันการส่งแบบประเมิน สั่งพิมพ์หลักฐานการบันทึกข้อมูล เพื่อเก็บเป็นหลักฐาน ระบบจะแสดง ผลการประเมินตนเอง

ตัวอย่างการแสดง ผลการประเมินตนเอง

ตารางแสดงผลการวิเคราะห์ฯ ที่ผ่านการประมวลผลโดยระบบอัตโนมัติของโปรแกรมหลังเสร็จสิ้นการบันทึกข้อมูล

แบบสรุปผลการประเมินภาพรวม แสดงระดับการประเมินของสถานบริการสุขภาพว่าอยู่ในระดับใด

การขอรับรองมาตรฐานงานสุขศึกษา ดำเนินการตรวจประเมินเพื่อรับรองโดยองค์กรภายนอก ดำเนินการโดยความสมัครใจของสถานบริการ ขั้นตอน/กระบวนการขอรับรองมาตรฐาน.......

จัดทำฐานข้อมูล การตรวจประเมินภายในองค์กร กระบวนการ รับรองมาตรฐานงานสุขศึกษา สถานบริการสุขภาพ คณะกรรมการตรวจสอบ ระดับจังหวัด สถานบริการสุขภาพดำเนินการ และประเมินตนเอง ผลประเมินอยู่ในระดับ 3 ดีมาก จัดทำฐานข้อมูล ติดตามผลการดำเนินงาน 3 3 รายงานผลการพัฒนาคุณภาพ 1 การตรวจประเมินภายในองค์กร กองสุขศึกษา ผลการพิจารณาจาก คกก. ระดับจังหวัด 2 ถูกต้อง ไม่ผ่านความเห็นชอบ A 4 น คณะอำนวยการรับรองมาตรฐานงานสุขศึกษา สมาคมวิชาชีพสุขศึกษา ตรวจสอบ ความถูกต้องของเอกสาร 8 5 ประกาศผล/เผยแพร่ มอบใบรับรอง ฯ การตรวจประเมินรับรองโดยองค์กรภายนอก ถูกต้อง 9 ผลการรับรอง รายงานผลการตรวจประเมินให้สมาคมฯ ทราบ 6 ผ่าน มอบ คณะกรรมกาดำเนินการตรวจประเมินเพื่อรับรอง ไม่ผ่าน 7 A กองสุขศึกษา

การขอรับรองผ่านองค์กรภายนอก ดำเนินการได้เมื่อไร ? สถานบริการสุขภาพที่ประสงค์ขอรับรองมาตรฐาน ส่งเอกสารแบบสรุปผลการพัฒนา(มส.4) ผ่านสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด...ตามขั้นตอนเดิม ได้ตั้งแต่.............(ขึ้นกับแต่ละจังหวัด)

อัตราค่าตรวจประเมิน ปี 2557 จำนวนสถานบริการในจังหวัด อัตราค่าตรวจประเมินต่อแห่ง ปี 2556 ปี 2557 1-4 แห่ง 14,500 บาท 5-9 แห่ง 12,500 บาท 10-20 แห่ง 10,900 บาท 21-30 แห่ง 9,900 บาท 31 แห่งขึ้นไป 9,000 บาท

ส่งเอกสารเพื่อขอรับการประเมินรับรอง..ได้ที่ สมาคมวิชาชีพสุขศึกษา คณะสาธารณสุขศาสตร์ อาคาร 3 ชั้น 7 420/1 ถ.ราชวิถี เขตราชเทวี กทม. 10400

Question ?

Thank You !