องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

เรื่อง แนวทางการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
เฉลยใบงานที่ 1 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
ซอฟแวร์ SOFTWARE น า ง ส า ว ฐ ิ ติ ม า น า ม ว ง ศ์ เ ล ข ที่ 4 3 ชั้ น ม. 4 / 7.
การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
การจัดทำเว็บไซต์สำเร็จรูปด้วยโปรแกรม Joomla!
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 ภาษาคำสั่งพื้นฐานที่ใช้เขียนโปรแกรม PLC
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
การสื่อสารข้อมูล การสื่อสารข้อมูล หมายถึง การรับส่งข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่ หนึ่งโดยผ่านสื่อกลาง เช่น สายโทรศัพท์ สายเคเบิลไฟเบอร์ออพติก, คลื่นไมโครเวฟ,
วิชา. การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในชีวิตประจำวัน บทที่ 2
รายชื่อผู้จัดทำ ด.ช.จิณณวัตร ทับจันทร์ เลขที่ 1 ม.1/3 ด.ช.ฐิติพงศ์ โลหะเวช เลขที่ 4 ม.1/3 ด.ช. พงศ์ภัค พุทธรักษ์ เลขที่9 ม.1/3 ด.ช.อริยะ แดงงาม เลขที่
Communication Software
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
การสื่อสารข้อมูล.
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
ประยุกต์ใช้ในงานด้านการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศที่นำมาใช้สำหรับการเรียนการสอน เป็นการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่หลายอย่าง สอนด้วยสื่อ อุปกรณ์ที่ทันสมัย ห้องเรียนสมัยใหม่
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ ( หน่วยเทคโนโลยี บริการ ) โครงการอบรมพัฒนาบุคลากร คณะแพทยศาสตร์ และ โรงพยาบาล มหาวิทยาลัยนเรศวร งานเทคโนโลยีสารสนเทศ ( หน่วยเทคโนโลยี
องค์ประกอบฮาร์ดแวร์ คุณลักษณะเฉพาะของเครื่อง คอมพิวเตอร์ ทำงานได้ด้วยชุดคำสั่งหรือโปรแกรม สามารถจำข้อมูลหรือชุดคำสั่งได้ ทำงานได้อย่างถูกต้อง ทำงานได้อย่างรวดเร็ว.
โปรแกรมสต๊อกสินค้า และ โปรแกรมขายหน้าร้าน Nanosoft Smart INV.NET วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปและการ ประยุกต์ใช้งาน อ. วิสุตร์ เพชรรัตน์
อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ หน่วยรับเข้า และ หน่วยส่งออก ( In put, Out put )
การใช้งาน Microsoft Word กลุ่ม 2T_PUK. โปรแกรม Microsoft Word เป็นโปรแกรมสำเร็จรูปที่เหมาะกับ งานพิมพ์ต่าง ๆ แทนเครื่องพิมพ์ดีดในสมัยก่อน ที่เวลาแก้ไข.
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ Introduction to Information.
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
งานวิชา เทคโนโลยี สารสนเทศ 4/3 เรื่อง INPUT และ OUTPUT จัดทำโดย นาย ชาญชัย ศรีน้อย เลขที่ 3 นาย ณัฐดนัย จันทมาศ เลขที่ 4 นาย อุดมศักดิ์ เกื้อนะ เลขที่
Input Output อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ เสนอ อ. อภิเดช จิตมุ่ง โดย นางสาว ผกาวดี ช่วงชุณส่อง เลขที่ 43 นางสาว ธนาภรณ์ คำเรือง เลขที่ 39 นางสาว ณัฐวรรณ ห่วงกลาง.
การเชื่อมต่ออุปกรณ์ต่างๆ การเชื่อมต่อเมาส์และ คีย์บอร์ด การเชื่อมต่อจอภาพ 1 2 ช่องเสียบหัวต่อ สายไฟ เข้ากับตัวเครื่อง และสายจอภาพ จอภ าพ คีย์บอ.
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
Material requirements planning (MRP) systems
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
บทที่ 3 ฮาร์ดแวร์.
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
การใช้ Social Media เพื่อการสื่อสาร
บทที่ 3 อุปกรณ์อินพุตและอุปกรณ์แสดงเอาต์พุต์
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
เรียนรู้การใช้งานโปรแกรม เพื่อจำลองระบบไมโครคอนโทรลเลอร์
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 โครงสร้างคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
Basic Input Output System
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ (Information System)
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
Slide PowerPoint_สื่อประกอบการสอน
บทที่ 8 การควบคุมระบบสารสนเทศทางการบัญชี : การควบคุมเฉพาะระบบงาน
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
โดย งานเทคโนโลยีสารสนเทศ ศูนย์การแพทย์ ฯ
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
แผ่นดินไหว.
บทที่ 6 แนวคิดเทคโนโลยีเสมือนจริง
สแกนเนอร์ (Scanner) สแกนเนอร์ คืออุปกรณ์จับภาพและเปลี่ยนแปลงรูปแบบของแอนาลอกเป็นดิจิตอล ซึ่งคอมพิวเตอร์ สามารถแสดง, เรียบเรียง, เก็บรักษาและผลิตออกมาได้
SMS News Distribute Service
บทที่ 2 เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
บรรยายครั้งที่ 8 - กราฟฟิกวิศวกรรม 1
บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part1.
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
การอนุรักษ์และสงวนรักษาทรัพยากรสารสนเทศ
เมนูหลัก ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ มีองค์ประกอบทั้งหมด 6 อย่าง คือ ฮาร์ดแวร์ Hardware ซอฟต์แวร์ Software บุคลากร Peopleware ข้อมูล Data ระเบียบ คู่มือมาตราฐาน (Procedure) ระบบสื่อสารข้อมูล (Data Communication)

องค์ประกอบทางด้านฮาร์ดแวร์ หมายถึง องค์ประกอบของตัวเครื่องที่สามารถจับต้องได้ แบ่งเป็น 5 หน่วยที่สำคัญ ดังนี้ หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) หน่วยความจำ (Memory Unit) หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit :CPU) หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (Secondary Storage) หน่วยแสดงผลข้อมูล (Output Unit)

ความสัมพันธ์องค์ประกอบ ทางด้านฮาร์ดแวร์ ความสัมพันธ์องค์ประกอบ ทางด้านฮาร์ดแวร์

องค์ประกอบทางด้านซอฟต์แวร์ หมายถึง โปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่ถูกเขียนขึ้นเพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงาน เปรียบเสมือนตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์สำหรับระบบ (System Software) ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) ซอฟต์แวร์สำเร็จรูป (Package)

ซอฟต์แวร์สำหรับระบบ (System Software) โปรแกรมควบคุมระบบปฏิบัติการ (Operating System:OS) เป็นโปรแกรมควบคุมระบบการปฏิบัติการของเครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งระบบ

ซอฟต์แวร์สำหรับระบบ (System Software) IPL (Initial Program Loader) เป็นโปรแกรมที่ทำหน้าที่ในการอ่านโปรแกรมที่ต้องการใช้งานเข้าไปในหน่วยความจำของเครื่องคอมพิวเตอร์ IPL ROM (Read Only Memory)

ซอฟต์แวร์สำหรับระบบ (System Software) โปรแกรมแปลภาษาคอมพิวเตอร์ (Translation Program) เป็นโปรแกรมแปลคำสั่งที่เขียนในภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง จัดว่าเป็นภาษาระดับต่ำเป็นภาษาเดียวเท่านั้นที่คอมพิวเตอร์รู้จัก เช่น คอมไพเลอร์ (Compiler) อินเตอร์พรีเตอร์ (Interpreter)

ซอฟต์แวร์สำหรับระบบ (System Software) โปรแกรมตรวจสอบระบบเครื่อง (Diagnostic Program) เป็นโปรแกรมที่ตรวจสอบความบกพร่องของเครื่องคอมพิวเตอร์

ซอฟต์แวร์สำหรับระบบ (System Software) ยูทิลิตี้โปรแกรม (Utility Program) เป็นโปรแกรมที่ช่วยอำนวยความสะดวกให้กับผู้ใช้ ช่วยลดขั้นตอนที่ยุ่งยากของการเขียนโปรแกรมและลดเวลาในการทำงาน รวมทั้งยังช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน

ซอฟต์แวร์สำเร็จรูป (Package) เป็นซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมประยุกต์ที่มีผู้จัดทำไว้ เพื่อใช้ในการทำงานประเภทต่าง ๆ โดยผู้ใช้คนอื่น ๆ สามารถนำโปรแกรมนี้ ไปใช้กับข้อมูลของตนได้แต่ไม่สามารถทำการดัดแปลงหรือแก้ไขโปรแกรมได้ ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องเขียนโปรแกรมเอง

ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) เป็นซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่เขียนขึ้นเพื่อทำงานเฉพาะอย่างที่เราต้องการซึ่งแต่ละโปรแกรมจะมีเงื่อนไข และฟอร์มที่ต่างกัน

ซอฟต์แวร์สำเร็จรูป (Package) ซอฟต์แวร์ระบบฐานข้อมูล (Database Management Software)

ซอฟต์แวร์สำเร็จรูป (Package) ซอฟต์แวร์ทำการคำนวณ (spreadsheet Software)

ซอฟต์แวร์สำเร็จรูป (Package) ซอฟต์แวร์จัดพิมพ์รายงานหรือประมวลผลคำ (Word Processing Software)

ซอฟต์แวร์สำเร็จรูป (Package) ซอฟต์แวร์สำหรับนำเสนอ (Presentation Software)

ซอฟต์แวร์สำเร็จรูป (Package) ซอฟต์แวร์เกมส์ (Game)

องค์ประกอบด้านบุคลากร ด้านระบบ (System) ผู้วิเคราะห์และออกแบบระบบ ผู้เขียนโปรแกรมระบบ ทางด้านโปรแกรมมิ่ง (Programming) Application Programming Maintenance Programming ดีบีเอ (DBA:Database Administrator) ผู้ปฏิบัติการ (Operator) ผู้ใช้ (User)

องค์ประกอบด้านข้อมูล ข้อมูลที่จะนำเข้าระบบคอมพิวเตอร์ จะมีหน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุดได้แก่ตัวอักขระ (Character) เมื่อนำมาประกอบกันเป็นหน่วยของข้อมูลจะได้เป็นฟิลด์ (Field) เมื่อนำหลาย ๆ ฟิลด์มาประกอบกันเป็นหน่วยของข้อมูลจะได้เป็นเรคอร์ด (Record) และเมื่อนำหลาย ๆ เรคอร์ดมาประกอบกันก็จะได้เป็นไฟล์ (File) File ข้อมูลพนักงาน

องค์ประกอบด้านด้านระเบียบ คู่มือ และมาตราฐาน องค์ประกอบด้านด้านระเบียบ คู่มือ และมาตราฐาน ระเบียบปฏิบัติ ระเบียบในด้านสถานที่ติดตั้งคอมพิวเตอร์ ระเบียบเกี่ยวกับการเข้าไปใช้ห้องคอมพิวเตอร์ ระเบียบด้านการจัดหาการติดตั้ง ระเบียบด้านการดูแลซ่อมบำรุง ระเบียบด้านการบันทึก การใช้ การปรับปรุงการเก็บรักษาข้อมูล ระเบียบด้านการส่งเอกสาร

องค์ประกอบด้านด้านระเบียบ คู่มือ และมาตราฐาน คู่มือฮาร์ดแวร์ คู่มือซอฟต์แวร์

องค์ประกอบด้านด้านระเบียบ คู่มือ และมาตราฐาน องค์ประกอบด้านด้านระเบียบ คู่มือ และมาตราฐาน มาตรฐาน มาตรฐานรหัสภาษาไทย มาตรฐานด้านรหัสคำ มาตรฐานด้านวิธีการปฏิบัติงาน

องค์ประกอบด้านการสื่อสารข้อมูล การจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ คอมพิวเตอร์กับคอมพิวเตอร์ การรับและส่งผ่านสารสนเทศ การแบ่งเวลาเครื่อง ติดต่อสื่อสารสารสนเทศกับผู้ใช้ทางไกล ตอบรับทันทีที่ผู้ใช้ปลายทางร้องขอ บริการผู้ใช้หลายคนในเวลาเดี่ยวกัน อนุญาตให้ผู้ใช้ปลายทางใช้โปรแกรมต่างกันได้

องค์ประกอบด้านด้านระเบียบ คู่มือ และมาตราฐาน การสื่อสารข้อมูล เป็นกระบวนการส่งผ่านและรับสารสนเทศระยะไกลในรูปแบบของสัญญาณ แล้วแพร่กระจายผ่านช่องทางการสื่อสารต่างๆ ซึ่งมีองค์ประกอบดังนี้ อุปกรณ์แสดงสารสนเทศ อุปกรณ์ส่งผ่านสารสนเทศ อุปกรณ์สื่อสารข้อมูล

รายละเอียดองค์ประกอบด้านฮาร์ดแวร์ของ ระบบคอมพิวเตอร์ หน่วยควบคุม หน่วยคำนวณทาง คณิตศาสตร์และตรรกศาสตร์ หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยความจำหลัก หน่วยนำ ข้อมูลออก หน่วยนำ ข้อมูลเข้า หน่วยเก็บ ข้อมูลสำรอง

หน่วยประมวลผลกลาง Central Processing Unit / CPU ประมวลผลตามคำสั่งที่เขียนไว้ในโปรแกรม รับส่งข้อมูลโดยติดต่อกับหน่วยความจำภายในเครื่อง ติดต่อรับส่งข้อมูลกับผู้ใช้ โดยผ่านหน่วยรับข้อมูลและหน่วยแสดงผล ย้ายข้อมูลและคำสั่งจากหน่วยงานหนึ่งไปยังอีกหน่วยงานหนึ่ง

ส่วนประกอบของหน่วยประมวลผลกลาง หน่วยควบคุม ควบคุมอุปกรณ์นำเข้าและแสดงผลข้อมูล ตัดสินใจในการเอาข่าวสารเข้าออกจากหน่วยความจำ กำหนดเส้นทางการส่งข้อมูลจากหน่วยความจำไปยัง AUL ทำหน้าที่ในการถอดรหัส ควบคุมการถอดรหัสให้เป็นไปตามขั้นตอน หน่วยคำนวณทางเรขาคณิตและตรรกศาสตร์ (Arithmetic and Logical Unit / ALU) การดำเนินงานทางเชิงเลขคณิต (Arithmetic Operation) การดำเนินงานเชิงตรรกวิทยา (Logical Operation)

การปฏิบัติงานของหน่วยควบคุม (CU) 1. รับคำสั่ง ในจังหวะแรกนี้ ชุดคำสั่งจะถูกดึงจากส่วนความจำเข้าสู่ส่วนควบคุมแล้วแยกออกเป็นสองส่วน คือ ส่วนที่เป็นรหัสคำสั่ง เรียกว่า วงจรสร้างสัญญาณ (decoder) เพื่อเตรียมทำงานในจังหวะที่สอง และส่วนที่เป็นออเพอแรนด์ จะแยกออกไปยังวงจรอีกส่วนหนึ่ง เพื่อปฎิบัติให้เสร็จสิ้น 2. ปฎิบัติ วงจรควบคุมจะสร้างสัญญาณขึ้นเพื่อส่งไปควบคุมส่วนต่าง ๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ตามรหัสคำสั่งที่ได้รับมา เช่น การบวก ลบ คูณ หาร หรือย้ายข้อมูล เครื่องคอมพิวเตอร์หลายแบบใช้วงจรควบคุมที่เป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่สร้างเสร็จเรียบร้อยติดไว้ในเครื่อง เครื่องคำนวณ จะเก็บสัญญาณควบคุมเหล่านี้ไว้ในส่วนความจำพิเศษที่เรียกว่า รอม (ROM)

การปฏิบัติงานของหน่วยคำนวณทาง คณิตศาสตร์และตรรกศาสตร์ (ALU) ส่วนคำนวณทำหน้าที่ใหญ่ ๆ สองประการ คือ ประการแรกทำการบวก ลบ คูณ และหาร ประการที่สองคือ ทำหน้าที่ตัดสินใจว่าข้อมูลส่วนใหญ่หรือเล็กกว่าอีกข้อมูลหนึ่ง หน้าที่ทั้งสองประการนี้สามารถปฎิบัติการเป็นผลสำเร็จได้โดยอาศัยวงจรตรรกอันเป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ นอกจากนี้ ส่วนคำนวณสามารถเลื่อนข้อมูลไปทางซ้าย หรือทางขวา เก็บหรือย้ายข้อมูลไปยังส่วนอื่น ๆ ของส่วนควบคุมกลางได้

วงจรตรรก Logic Circuits เป็นวงจรทางอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ส่วนประกอบ เช่น ตัวความต้านทาน ตัวเก็บ ประจุ ไดโอด ทรานซิสเตอร์ ฯลฯ มาจัดให้สามารถทำงานแทนการคำนวณทางตรรกได้ โดยใช้ "การมีสัญญาณไฟฟ้า" และ "ไม่มีสัญญาณไฟฟ้า" แทนสภาวะตรรก "จริง" และ "เท็จ" หรือ "1" กับ "0" ทำให้สามารถสร้างวงจรขึ้นได้ 2 ชนิดใหญ่ ๆ คือ 1. วงจรตรรกจัดหมู่ (combination logic) 2. วงจรตรรกจัดลำดับ (sequential logic)

สรุปวงจรการทำงานของ CPU หน่วยควบคุม CU หน่วยคำนวณ - ตรรกศาสตร์ ALU เก็บคำสั่งชั่วคราว Instruction Resister วงจรแปลคำสั่ง Instruction Decoder เก็บข้อมูลชั่วคราว Storage Resister การคำนวณ ตรรกศาสตร์ คำสั่งที่ดึงจาก หน่วยความจำหลัก สัญญาณถูกส่ง ไปหน่วยอื่น ๆ ข้อมูลที่ส่งไปและส่งกลับ จากหน่วยความจำหลัก

หน่วยความจำ Memory Unit เป็นแหล่งเก็บข้อมูลและโปรแกรมต่าง ๆ ที่จะต้องถูกในมาใช้ ในการประมวลผล และเมื่อประมวลผลเสร็จก็จะนำไปเก็บหน่วยความจำ สิ่งที่ใช้ในการผลิตหน่วยความจำ ขดลวดแม่เหล็ก Magnetic Core สารกึ่งตัวนำ Semiconductor Memory วงจรไฟฟ้าขนาดเล็ก Monolithic Memory Chip วงจรรวม Integrated Circuit or IC

ประเภทของหน่วยความจำ 1.หน่วยความจำแบบลบเลือนได้ (Volatile memory) เป็นหน่วยความจำที่เก็บข้อมูลได้เมื่อมีไฟฟ้าหล่อเลี้ยง ถ้าไฟดับข้อมูลก็จะหายไป ได้แก่หน่วยความจำประเภท RAM (Random Access Memory) เป็นหน่วยความจำที่ต่อเชื่อมกับ CPU SD RAM DDR RAM

ประเภทของหน่วยความจำ 2.หน่วยความจำแบบไม่ลบเลือน (Nonvolatile memory) เป็นอุปกรณ์ที่ต่อเชื่อมกับ CPU จะบันทึกข้อมูลมาจากโรงงานไม่สามารถลบ หรือแก้ไขข้อมูลได้ อ่านได้อย่างเดียวเรามักเรียกว่า ROM (Read Only memory)

เทปแม่เหล็ก (Magnetic Tape) ลักษณะของเทปแม่เหล็กจะเป็นแผ่นทำจากพลาสติกที่เรียกว่า ไมลาร์ (Mylar) ฉาบด้วยออกไซด์ของเหล็ก (Iron Oxide) ใช้สำหรับการ บันทึกข้อมูล และสามารถบันทึกซ้ำได้ แบ่งออกเป็น 2 ชนิด 1. เทปม้วน (Reel tape) 2. เทปตลับ (Tape cassette and cartridges)

หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (Secondary Storage) เป็นที่เก็บข้อมูลหรือโปรแกรมที่ยังไม่ถูกเรียกใช้โดย CPU เพื่อเตรียมเข้าสู่หน่วยความจำในเครื่อง แบ่งได้เป็น 2 ประเภท 1. แบบเข้าถึงแบบลำดับ (Sequential access media) 2. แบบเข้าถึงโดยตรง (Direct access media)

ข้อดี - ข้อเสีย ของเทปแม่เหล็ก สะดวกต่อการโยกย้าย เหมาะกับงานสำรองข้อมูล (Backup Data) ในหน่วยงาน เหมาะกับงานที่มีการเข้าถึงข้อมูลแบบลำดับ Sequential file เรคอร์ดมีความยาวได้ไม่จำกัด ไม่สามารถมองเห็นข้อมูลที่บันทึก การเข้าถึงข้อมูลแบบลำดับ

จานแม่เหล็ก (Magnetic Disk) เป็นแผ่นโลหะบางคล้ายแผ่นเสียง ทำด้วยพลาสติกฉาบด้วยออกไซด์ของเหล็ก สามารถเหนี่ยวนำให้เป็นสารแม่เหล็กไฟฟ้าได้ เข้าถึงข้อมูลแบบ Random มีร่องบันทึกข้อมูลเรียกว่า track เรียงเป็นชั้นมีจุดศูนย์กลางร่วมกันอาจมีชุดจานแม่เหล็กวางซ้อนกัน Disk Pack มีแกนหมุนรวมกัน

รูปแบบจานแม่เหล็ก 1. จานแม่เหล็กแบบอ่อน (Soft disk or Floppy disk) ลักษณะจะเคลื่อบด้วย Oxide ของโลหะมีลักษณะเป็นแผ่นบางๆ จะแบ่งพื้นที่ disk ออกเป็นวงรอบจุดศูนย์กลางเรียกว่า track แต่ละ track จะแบ่งออกเป็น sector และจะอ่านทีละ sector เสมอ ข้อดี ข้อเสีย หักงอง่าย การเขียนซอง อานทำให้ข้อมูลหาย หงิก งอ ถ้าวางในอุณหภูมิที่สูง ข้อมูลอาจหายถ้าโดยฝุ่น ถ้าอยู่ในสนามแม่เหล็กข้อมูลอาจหาย ราคาถูก การใช้งานง่าย บันทึกข้อมูลซ้ำได้หลายครั้ง

ซีดีรอม (CD-ROM) ย่อมาจากคำว่า Compact Disk-Read Only Memory ใช้แสงเลเซอร์ในการอ่านและการบันทึกข้อมูล เป็นสื่อประเภท Optical Media ในแผ่นจะมีการแบ่งเป็น track และ sector เหมือนกับดิสก์

รูปแบบจานแม่เหล็ก 2.จานแม่เหล็กแบบแข็ง (Magnetic Disk or Hard Disk) ประกอบด้วยแผ่นจานแม่เหล็ก(platters) สองแผ่นหรือมากกว่ามาจัดเรียงอยู่บนแกน เดียวกันเรียก Spindle ทำให้แผ่นแม่เหล็กหมุนไปพร้อม ๆ กัน จากการขับเคลื่อนของมอเตอร์ด้วย ความเร็ว 3600 รอบต่อนาที แต่ละหน้าของแผ่นจานจะมีหัวอ่านเขียนประจำเฉพาะ โดยหัวอ่านเขียนทุก หัวจะเชื่อมติดกันคล้ายหวี สามารถเคลื่อนเข้าออกระหว่างแทร็กต่าง ๆ อย่างรวดเร็ว

หน่วยนำข้อมูลเข้า (Input Unit) เป็นอุปกรณ์รับเข้า ทำหน้าที่รับโปรแกรมและข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รับเข้าที่ใช้กันเป็นส่วนใหญ่คือ แผงแป้นอักขระ (keyboard) และเมาส์ (mouse)

เทอร์มินัล (Terminal) ประกอบด้วยจอภาพและคีย์บอร์ดในการสั่งงานคอมพิวเตอร์ให้ผู้ใช้พิมพ์ข้อความผ่านคีย์บอร์ดแล้วไปปรากฏที่หน้าจอ คีย์บอร์ดจะมีลักษณะเป็นแป้นสี่เหลี่ยมผืนผ้าประกอบด้วยปุ่มแทนอักขระปัจจุบันมักใช้ 101 ปุ่ม เทอร์มินัลแบ่งเป็น 2 ประเภท 1. เทอร์มินัลแบบธรรมดา 2. เทอร์มินัลแบบเชิงปัญญา

เมาส์ (Mouse) เมาส์แบ่งได้เป็นสองแบบคือ แบบทางกลและแบบใช้เแสง แบบทางกลเป็นแบบที่ใช้ลูกกลิ้งกลม เมื่อเลื่อนเมาส์ไปในทิศทาง ใดจะทำให้ลูกกลิ้งเคลื่อนไปมาในทิศทางนั้น ลูกกลิ้งจะทำให้กลไก ซึ่งทำหน้าที่ปรับแกนหมุนในแกน X และแกน Y แล้วส่งผลไป เลื่อนตำแหน่งตัวชี้บนจอภาพ เมาส์แบบใช้แสงอาศัยหลักการส่ง แสงจากเมาส์ลงไปบนแผ่นรองเมาส์ (mouse pad)

แทร็กบอล (Track Ball) คล้ายเมาส์แต่หงายเอาลูกกลิ้งขึ้นมาไว้ข้างบน การใช้งานจะใช้มือกลิ้งลูกกลิ้ง ไม่ค่อนสะดวกในการใช้งาน มักจะใช้กับเครื่องในตระกูลแลปทอป เพื่อประหยัดเนื้อที่

จอแบบสัมผัส (Touch - Sensitive Screens) เป็นอุปกรณ์นำข้อมูลเข้าโดยการสัมผัสกับจอภาพ เพื่อเลือกสิ่งที่อยู่ บนจอภาพ จะใช้วิทยาการต่างๆ 4 วิทยาการ คือ จอที่ใช้เยื่อเชิงตัวนำ จอจานประจุ จอที่ใช้คลื่นคุณสมบัติของเสียง จอที่ใช้รังสีอินฟาเรด

จอยสติค (Joystick) เป็นอุปกรณ์นำเข้าข้อมูลประเภทกราฟฟิค มีลักษณะเป็นก้านหรือคานโผล่ มาจากด้านบนของกล่อง สามารถบิดไปในทิศทางต่างๆ ได้ ขึ้นอยู่กับผู้ควบคุม ขณะ ที่มีการบิดจะมี 2 Potentiometers โดยมี 1 ตัวทำหน้าที่รับรู้การเคลื่อนที่แนวทิศเหนือ/ ใต้ อีกตัวรับรู้ในแนวตะวันตก/ตะวันออก

ปากกาแสง (Light pens) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการทำงานด้านกราฟฟิค มีรูปร่างเหมือนปากกาและมี แสงตอนปลายใช้จิ้มที่จอภาพ เพื่อเลือกเมนูที่ต้องการ นิยมใช้ในการงานออกแบบที่ เรียกว่า Computer-Aided Design (CAD)

อุปกรณ์โอซีอาร์ (OCR-Optical Character Recognition) เป็นอุปกรณ์อ่านด้วยแสง Optical Device จะต้องทำการเข้ารหัสข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบหนึ่งก่อนที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถอ่านได้ เช่น ISBN และก็จะแปลงข้อมูลให้หน่วยประมวลผลทำการประมวลผลข้อมูลต่อป ประเภทของข้อมูลที่จะนำเข้าอุปกรณ์ OCR - รอยเครื่องหมายดินสอที่มีรูปแบบเฉพาะ (Optical Marks) - ข้อมูลอักขระพิเศษ (Optical Character) - ตัวอักษรที่เขียนด้วยมือ (HandWritten Characters) - รหัสแท่ง (Bar Codes)

อุปกรณ์โอเอ็มอาร์ (Optical Mark Readers) เป็นเครื่องอ่านรอยเครื่องหมายจากดินสอในกระดาษที่มีรูปแบบเฉพาะ ข้อมูลจะถูกอ่านเข้าไปเก็บโดยผ่าน OMR โดยการส่องไฟอ่านกระดาษที่อ่าน และ จะสะท้อนแสงที่เกิดจากเครื่องหมายที่ทำด้วยดินสอ เพราะดินสอมีปริมาณถ่าน กราไฟต์สูง

Wand Reader เป็นอุปกรณ์ที่ใช้มือควบคุม โดยนำอุปกรณ์ตัวนี้ยิงแสงไปยังตัวอักษร เพื่อทำการแปลงตัวอักษรนั้น ให้เป็นสัญญาณไฟฟ้าส่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ ประมวลผล ต้องเป็นตัวอักษรแบบ OCR-A

Hand Written Character Device เป็นอุปกรณ์ที่อ่านข้อมูลด้วยลายมือ เพื่อช่วยลดขั้นตอนในการคีย์ข้อมูล จะสามารถใช้อุปกรณ์ที่เรียกว่า Optical Scanner แต่ข้อมูลต้องมีรูปแบบที่อ่านง่าย ไม่กำกวม

Bar Code Reader สำหรับการอ่านรหัสแถบใช้หลักการที่ว่า พื้นสว่างจะสะท้อนได้มากกว่าพื้นมืด ดังนั้นเมื่อตัวอ่านถูกกวาดไปบนรหัสแถบ ลำแสงที่ถูกปล่อยออกมาจากหัวอ่านจะสะท้อนกลับมาหรือน้อย มันได้ตกกระทบแถบขาวหรือแถบดำ แสงสะท้อนกลับเหล่านี้จะถูกดัดแปลงเป็นสัญญาณไฟฟ้า องค์ประกอบสำคัญของตัวอ่านรหัสแถบก็คือ ขนาดของลำแสงที่ส่งออกมานั้น จะต้องสัมพันธ์กับความละเอียด (resolution) ของแถบ

หน่วยนำข้อมูลออก (Output Unit) เป็นอุปกรณ์ส่งออก (output device) ทำหน้าที่แสดงผลจากการ ประมวลผล โดยนำผลที่ได้ออกจากหน่วยความจำหลักแสดงให้ผู้ใช้ได้เห็น ทางอุปกรณ์ส่งออก อุปกรณ์ส่งออกที่นิยมใช้ส่วนใหญ่คือ จอภาพ และ เครื่องพิมพ์ อุปกรณ์แสดงผลลัพธ์ชั่วคราว เช่น จอภาพ อุปกรณ์แสดงผลลัพธ์ถาวร เช่น เครื่องพิมพ์ อุปกรณ์แสดงผลทางกราฟิค เช่น พลอตเตอร์

จอภาพ (Monitor) หลักการทำงานคล้ายจอโทรทัศน์ คือ คอมพิวเตอร์จะแปลงสัญญาณให้วิดีโอ แสดงผลยิงลำแสงอิเล็กตรอนไปยังพื้นผิวของจอภาพ ซึ่งฉาบไว้ด้วยฟอสฟอรัส แบ่งการแสดงผลออกเป็น 2 ประเภทคือ แสดงภาพด้วยการสร้างจุดภาพ (Pixel) แสดงภาพด้วยการใช้เส้น (Vector) จอภาพที่มีสีเดียว (Monochrome) จอภาพสี (Red,Green,Blue:RGB)

เครื่องพิมพ์ (Printer) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้แสดงผลลัพธ์โดยการพิมพ์ลงกระดาษ เรียกการพิมพ์ประเภทนี้ว่า Hard Copy สามารถแยกเครื่องพิมพ์ได้เป็น 3 ประเภทใหญ่ดังนี้ 1. Serial Printer 2. Line Printer 3. Page Printer

Serial Printer เป็นเครื่องพิมพ์ทีละตัวอักษร หัวพิมพ์วิ่งไปตามแนวนอนมีความเร็วในการพิมพ์ระหว่าง 40-450 cps (Character per second) 1.เครื่องพิมพ์ชนิดพิมพ์กระทบ (Impact Printer) เครื่องพิมพ์ดอตเมทริกซ์ (Dot matrix printer) เครื่องพิมพ์แบบวงล้อรูปดอกเดซี (Daisy Wheel Printer) 2.เครื่องพิมพ์ชนิดพิมพ์ไม่กระทบ (NonImpact Printer) เครื่องแบบใช้ความร้อน-ไฟฟ้า (Thermos-Electric Printer) เครื่องพิมพ์แบบพ่นละอองหมึก (Ink Jet Spray Printer)

Line Printer เป็นเครื่องพิมพ์แบบกระทบ พิมพ์ได้ทีละบรรทัด มีความเร็วอยู่ในช่วง 1000 - 5000 lpm (Line per minute) แบ่งได้เป็น 3 แบบ คือ 1. The Band Printer เป็นเครื่องพิมพ์ที่ใช้หลักการวิ่งของตัวอักษรตามแนวนอน หัวพิมพ์จะเคาะผ่านผ้าหมึกให้ตัวอักษรปรากฏอยู่บนกระดาษ 2.The Chain Printer เหมือนกับ Band Printer แต่จะใช้ห่วงโซ่แทน 3. The Drum Printer อักษรจะอยู่บน Drum ซึ่งจะหมุนตลอดเวลาเมื่อถึงจังหวะจะพิมพ์ตัวอักษรหัวพิมพ์ก็จะเคาะผ่านกระดาษและผ้าหมึกทันที

พลอตเตอร์ (Plotter) ถูกผลิตมาใช้ในงานการสร้างรูปภาพทางกราฟิค เช่น การออกแบบ แผนผัง แผนที่และชาร์ตต่างๆ หลักการทำงานจะรับสัญญาณจากเครื่องคอมพิวเตอร์ ควบคุมการเลื่อนปาก กาบนกระดาษ แบ่งเป็น 1.พลอตเตอร์แบบทรงกระบอก (Drum Plotter) 2.พลอตเตอร์แบบระนาบ (Flatbed Plotter) 3.อิเล็กโตรสแตติคพลอตเตอร์ (Electrostatic Plotter)

Page Printer เป็นเครื่องพิมพ์แบบไม่กระทบ โดยส่วนมากจะใช้เทคโนโลยีเลเซอร์ ได้แก่ เครื่องพิมพ์แบบเลเซอร์ (Laser Printer) เป็นเครื่องพิมพ์ความเร็วสูงมีความเร็วไม่ต่ำกว่า 6 หน้าต่อนาที จะใช้ผงหมึก (Toner) ในการพิมพ์

จบการนำเสนอ ข้อมูลเดิมจากมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ปรับปรุงรุปแบบการนำเสนอใหม่โดยครูวิจักษณ์