บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
สารบัญ ความหมายของคอมพิวเตอร์และฮาร์ดแวร์ องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์ภายในคอมพิวเตอร์ ประเภทของคอมพิวเตอร์ การหาข้อมูลและราคาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ เงื่อนไขในการเลือกซื้ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ การบำรุงรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์เบื้องต้น บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
ความหมายของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์คืออะไร คอมพิวเตอร์ คือ เครื่องจักรหรืออุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ที่ทำงานตามชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่กำหนดให้ เป็นเครื่องมือหรือเครื่องจักรที่มนุษย์ใช้ความรู้ความสามารถทางวิศวกรรมสร้างขึ้นมา เป็นเครื่องมือ ที่สามารถนำมาประยุกต์ ใช้งานด้านต่างๆ เพื่อช่วยให้งานนั้นๆ ถูกต้อง แม่นยำ และรวดเร็วยิ่งขึ้น บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ซึ่งหมายรวมถึงตัวคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์รอบข้าง ฮาร์ดแวร์ หมายถึง อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ที่ทำงานประสานกัน เพื่อให้เกิดการประมวลผล การจัดเก็บ และการแสดงผลข้อมูลและสารสนเทศ ซึ่งหมายรวมถึงตัวคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์รอบข้าง บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
ฮาร์ดแวร์ (Hardware) บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ CD/DVD Drive Floppy Disk Drive Hard Drive System Unit Monitor Speakers Flash Memory Card Reader CD/DVD Discs Floppy Disks Microphone Mouse Keyboard Printer บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ องค์ประกอบพื้นฐานของระบบคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็น 5 หน่วยหลักๆดังต่อไปนี้ หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) หน่วยแสดงผล (Output Unit) หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) หน่วยความจำหลัก (Main memory) หน่วยความจำรอง (Secondary Storage) บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
องค์ประกอบพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ Secondary Storage หน่วยความจำรอง Processing Unit หน่วยประมวลผลกลาง Input หน่วยรับข้อมูล Output หน่วยแสดงผล Main Memory หน่วยความจำหลัก บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
องค์ประกอบพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่รับคำสั่ง หรือ ข้อมูลจากผู้ใช้ในรูปแบบของสัญญาณข้อมูลแบบต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นคำสั่งที่เป็นตัวอักษร, ภาพ, เสียง ให้เป็นสัญญาณดิจิตอลที่คอมพิวเตอร์รู้จักและสามารถนำข้อมูลนั้นไปประมวลผลได้ ตัวอย่างอุปกรณ์ประเภทนี้ เช่น เมาส์ (Mouse), คีย์บอร์ด (Keyboard), กล้องถ่ายวิดีโอดิจิตอล (Digital Video หรือ DV), สแกนเนอร์ (Scanner) จอยสติก (Joy Stick), ไมโครโฟน (Microphone), ตัวอ่านบาร์โค้ด (Barcode Reader) ฯลฯ Input Unit หน่วย รับข้อมูล บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) (ต่อ) แป้นพิมพ์ (Keyboard) เป็นอุปกรณ์หลักในการรับข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึงการนำเข้าข้อมูลหรือคำสั่งจะใช้การพิมพ์ลงในแป้นพิมพ์ของคีย์บอร์ด นิยมใช้กันอยู่ในปัจจุบันมี 2 ประเภทคือแป้นพิมพ์ชนิด PS/2 และแป้นพิมพ์ชนิด USB บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) (ต่อ) เมาส์ (Mouse) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการสั่งงานโดยการคลิกที่ปุ่มของเมาส์ ปัจจุบันเมาส์ที่นิยมใช้จะมีอยู่ 2 ประเภท คือ เมาส์แบบใช้ลูกกลิ้ง(Wheel Mouse) และเม้าแบบใช้แสง (Optical Mouse) บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) (ต่อ) เครื่องสแกนภาพ (Scanner) เป็นอุปกรณ์สำหรับอ่านภาพถ่ายหรือเอกสารเพื่อนำเข้ามาใช้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยจะทำการอ่านภาพหรือเอกสารที่อยู่ในรูปของแผ่นกระดาษและทำการบันทึกแฟ้มภาพประเภทต่างๆ เช่น GIF JPG บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) (ต่อ) จอยสติก (Joystick) บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) (ต่อ) ไมโครโฟน (Microphone) บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) (ต่อ) เครื่องอ่านบาร์โค้ด (Bar Code Reader) บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) (ต่อ) กล้องถ่ายรูปดิจิทัล (Digital Camera)/กล้องวิดีโอ (Video Camera) บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
หน่วยแสดงผล (Output Unit) เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่นำข้อมูลสัญญาณดิจิทัล จากคอมพิวเตอร์ที่ประมวลผลแล้ว นำไปแสดงผลให้ผู้ใช้งาน เป็นตัวอักษร ภาพ หรือเสียง ฯลฯ ตัวอย่างอุปกรณ์ประเภทนี้ เช่น จอภาพ (Monitor), เครื่องพิมพ์ (Printer), ลำโพง (Speaker) ฯลฯ Output Unit หน่วย แสดงผล บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
หน่วยแสดงผล (Output Unit) (ต่อ) จอภาพ (Monitor) เป็นส่วนประกอบทีใช้แสดงผลลัพธ์และเป็นส่วนที่ผู้ใช้ใช้ในการมองเห็นเพื่อให้สามารถติดต่อสั่งงานกับเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ จอภาพที่นิยมใช้จะมีอยู่ 2 ประเภทคือ จอภาพชนิดหลอดภาพรังสี CRT (Cathode Ray Tube) จอภาพแบบ แอลซีดี (LCD Monitor) บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
หน่วยแสดงผล (Output Unit) (ต่อ) เครื่องพิมพ์ (Printer) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับพิมพ์ข้อมูลหรือผลลัพธ์ออกทางแผ่นกระดาษ แบ่งออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่ เลเซอร์(Laser) อิงค์เจ็ท(Inkjet) หัวเข็ม (Dot-Matrix) บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
หน่วยแสดงผล (Output Unit) (ต่อ) ลำโพง (Speaker) เป็นอุปกรณ์สำหรับแสดงผลลัพธ์ในรูปของเสียง ซึ่งจะใช้เชื่อมต่อกับอุปกรณ์กำเนิดเสียงหรือ Sound Card บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) หน่วยประมวลผลกลาง หรือ CPU เปรียบเสมือน สมองของคอมพิวเตอร์ ทำหน้าที่ในการตีความ ประมวลผล ตามชุดคำสั่ง ตัดสินใจหรือคำนวณ จากคำสั่งที่ได้รับมา เช่น การเปรียบเทียบ การกระทำการทางคณิตศาสตร์ตามชุดของคำสั่ง ประกอบด้วยส่วนย่อยๆ เรียกว่า Transistor วงจรภายในประกอบด้วยส่วนสำคัญ 2 ส่วน คือ หน่วยควบคุม (Control Unit : CU) หน่วยคำนวณทางตรรกะ (Arithmetic Logical Unit : ALU) หน่วยประมวลผลกลาง CU ALU บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
หน่วยควบคุม (Control Unit) เป็นส่วนหนึ่งของหน่วยประมวลผลกลาง ทำหน้าที่ ในการควบคุมอุปกรณ์ต่างๆ ที่ต่อกับคอมพิวเตอร์ รวมไปถึงโปรแกรมต่างๆ ที่จะเข้าไปทำงานในหน่วยประมวลผลกลาง มีหน้าที่ 4 อย่างดังต่อไปนี้ Fetch คือ การอ่านคำสั่งถัดไปในโปรแกรมจากหน่วยความจำหลัก Decode คือ การแปลความหมายของคำสั่ง ว่าจะให้คอมพิวเตอร์ทำอะไร Execute คือ การทำงานตามคำสั่งนั้น Write-back คือ การเขียนผลลัพธ์กลับไปยังหน่วยความจะหลัก และวนกลับไปทำขั้นตอน Fetch จนกว่าคำสั่งจะหมด บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
หน่วยคำนวณเปรียบเทียบ (Arithmetic & Logic Unit) เป็นอีกส่วนหนึ่งของหน่วยประมวลผลกลาง ทำหน้าที่ในการคำนวณทางคณิตศาสตร์ เช่น การบวก การลบ การคูณ และการหาร และการเปรียบเทียบทางตรรกะ เช่น มากกว่า น้อยกว่า และเท่ากับ บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
หน่วยประมวลผลกลาง (ต่อ) CPU Memory CU ALU Decode Execute Fetch WriteBack บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
ความเร็วของ CPU ปัจจุบัน CPU ถูกย่อหน่วยนี้ลงบนแผ่นวงจรเล็ก ๆ (Chip) และเรียกว่า ไมโครโปรเซสเซอร์ ถ้า CPU ทำงานได้เร็วเท่าไร ก็จะทำให้การทำงานของคอมพิวเตอร์เครื่องนั้นมีความเร็วสูงด้วย โดยการทำงานของ CPU นี้จะมีจังหวะเวลาที่แน่นอน เรียกว่าความเร็วของ CPU ซึ่งหมายถึงจำนวนครั้งในการเคาะสัญญาณนาฬิกาใน 1 วินาที ในการเคาะสัญญาณนาฬิกา 1 ครั้ง จะมีคำสั่งภาษาเครื่องถูกประมวลผล 1 คำสั่ง เรียกหน่วยความเร็วของ CPU ว่า “เฮิร์ตซ์” (Hertz) ตัวย่อคือ Hz บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
หน่วยความจำหลัก (Main memory) หน่วยความจำหลัก ทำหน้าที่จัดเก็บข้อมูลหรือคำสั่ง ทั้งก่อนและหลังการประมวลผล ดังนั้นก่อนที่ CPU จะทำการประมวลผล ข้อมูลหรือคำสั่งจะต้องถูกนำมาไว้ในหน่วยความจำก่อนเสมอ ประเภทของหน่วยความจำหลัก แบ่งออกเป็น ROM (Read Only Memory) RAM (Random Access Memory) CACHE Main Memory หน่วยความจำหลัก บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
หน่วยความจำหลัก (Main memory) (ต่อ) ประเภทของหน่วยความจำหลัก ROM (Read Only Memory) ใช้บันทึกคำสั่งไว้อย่างถาวร อ่านได้อย่างเดียวไม่สามารถแก้ไขได้ RAM (Random Access Memory) ใช้บันทึกข้อมูล และคำสั่งขณะที่เราทำงานสามารถอ่านหรือเขียนข้อมูลได้ แต่ข้อมูลเหล่านี้จะหายไป เมื่อมีการรับข้อมูลใหม่ หรือปิดเครื่อง ถ้ามี RAM มากก็จะทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานได้เร็ว ปัจจุบันคอมพิวเตอร์ควรมีหน่วยความจำอย่างน้อย 512 เมกกะไบต์ Cache เป็นหน่วยความจำที่ใช้บันทึกเก็บข้อมูลชั่วคราวก่อนส่งให้คอมพิวเตอร์ใช้และช่วยให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้เร็ว บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
หน่วยความจำหลัก (Main memory) (ต่อ) แรม (RAM) บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
ความจุข้อมูลในหน่วยความจำ หน่วยวัดความจุของข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์เรียก ตามลักษณะการเก็บข้อมูลโดยจะมีค่าเป็นหน่วยตามขนาดของเลขฐานสอง เลขฐานสอง 1 หลักจะมีค่าเป็น 1 บิต (Bit) เมื่อนำเลขฐานสองมาเรียงกัน 8 หลัก จะมีขนาด 8 บิต ซึ่งเท่ากับ 1 ไบต์(Byte) โดยที่ 1 ไบต์ (Byte) = 1 ตัวอักษร 1024 Bytes = Kilobyte (KB) 1024 Kilobytes = Megabyte (MB) 1024 Megabytes = Gigabyte (GB) 1024 Gigabytes = Terabyte (TB) บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
หน่วยความจำรอง (Secondary Storage) หน่วยความจำรอง คือ อุปกรณ์หรือสื่อบันทึกที่ทำหน้าที่ในการจัดเก็บบันทึกข้อมูลหรือผลลัพธ์ไว้อย่างถาวร สำหรับการเรียกกลับมาใช้หรือปรับแก้ได้ตามต้องการในภายหลัง ข้อแตกต่างระหว่างหน่วยความจำรองและหน่วยความจำหลักคือ หน่วยความจำรองสามารถจัดเก็บข้อมูลหรือคำสั่งได้ แม้ปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ หน่วยความจำรองจะมีขนาดความจุที่มากกว่าหน่วยความจำหลักในราคาที่ใกล้เคียงกัน ราคาต่อหน่วยถูกกว่า บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
หน่วยความจำรอง (Secondary Storage) (ต่อ) ชนิดของหน่วยความจำรอง แบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ แบบที่ใช้แถบแม่เหล็ก จะใช้สารแม่เหล็กเคลือบบนวัสดุ เช่น พลาสติกหรือโลหะ ทำให้มีคุณสมบัติในการบันทึกข้อมูลได้ ที่ใช้กันอยู่ทั่วไปคือแผ่นดิสก์เก็ต (Diskette) ฮาร์ดดิสก์ (Hard Disk) เทปแม่เหล็ก (Magnetic Tape) แบบที่ใช้แสง จะใช้แสงฉายลงในวัสดุทำให้มีคุณสมบัติในการบันทึกข้อมูลได้ นิยมใช้เก็บข้อมูลปริมาณมากๆ หรือซอฟต์แวร์ที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลง เพื่อใช้สำหรับแจกจ่ายหรือขาย เช่น เพลง หนัง หรือใช้ในสำรองข้อมูล (Backup) หน่วยความจำรองที่ใช้กันทั่วไปคือ ซีดีรอม ดีวีดี บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
หน่วยความจำรอง (Secondary Storage) (ต่อ) จานแม่เหล็กบันทึกข้อมูลชนิดแข็ง (Hard Disk) บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
หน่วยความจำรอง (Secondary Storage) (ต่อ) ซีดีรอม (CD-ROM) บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
หน่วยความจำรอง (Secondary Storage) (ต่อ) เทป (Tape) บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
หน่วยความจำรอง (Secondary Storage) (ต่อ) Thumb drive, Flash drive, Handy drive บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
หน่วยความจำหลัก VS หน่วยความจำรอง RAM Hard disk Compact Discs Floppy Disks Tape ถูก แพง เร็ว ช้า ราคา ความเร็วในการทำงาน บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ Storage Processing Input Output บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ (ต่อ) การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลของคอมพิวเตอร์จะดำเนินการกับเลขฐานสองในรูปแบบบิต (bit = binary digit) บิต เป็นข้อมูลพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ และ เป็นหน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุดของคอมพิวเตอร์ ไบต์ คือ กลุ่มของบิตที่ถูกนำมาเรียงต่อเนื่องกันเพื่อให้สามารถแทนข้อมูลชนิดอื่นได้ง่ายขึ้น บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ (ต่อ) บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
ฮาร์ดแวร์อื่น ๆ ภายในคอมพิวเตอร์ บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
ฮาร์ดแวร์อื่น ๆ ภายในคอมพิวเตอร์ (ต่อ) แผงวงจรหลัก (Mainboard) เป็นแผงควบคุมการทำงานของอุปกรณ์อื่นที่นำมาประกอบกันอยู่ในแผงวงจรหลักนี้ แผงวงจรหลักจะประกอบด้วย ช่อง หรือ สล็อต (Slot) สำหรับใส่ซีพียู ช่องสำหรับใส่หน่วยความจำหลัก ช่องสำหรับใส่แผ่นวงจรเพิ่มเติม อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกเล็กๆ หรือ ชิปเซ็ต (Chipset) ที่ทำหน้าที่ประสานการทำงานระหว่างอุปกรณ์ต่างๆ บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
ฮาร์ดแวร์อื่น ๆ ภายในคอมพิวเตอร์ (ต่อ) แผงวงจรหลัก (Mainboard) บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
ฮาร์ดแวร์อื่น ๆ ภายในคอมพิวเตอร์ (ต่อ) เครื่องอ่านแผ่นดิสก์ (Floppy Drive) เป็นอุปกรณ์สำหรับอ่านข้อมูลที่บรรจุอยู่ในแผ่นดิสก์ มีลักษณะเป็นกล่องสี่เหลียมขนาดเล็กกว่าจานแม่เหล็กชนิดแข็ง และด้านหน้าจะมีช่องสำหรับใส่แผ่นดิสก์ บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
ฮาร์ดแวร์อื่นๆ ภายในคอมพิวเตอร์ (ต่อ) เครื่องอ่านหรือบันทึกข้อมูลลงแผ่นซีดีหรือดีวีดี (CD/DVD Drive) เป็นอุปกรณ์สำหรับอ่านหรือบันทึกข้อมูลลงแผ่นซีดีหรือดีวีดี ประเภทของเครื่องอ่านหรือบันทึกข้อมูล CD-ROM สามารถอ่านแผ่นซีดีได้อย่างเดียว CD-Writer สามารถอ่านและบันทึกข้อมูลได้เฉพาะแผ่นซีดี DVD-ROM สามารถอ่านแผ่นซีดีและแผ่นดีวีดีได้ CD Combo สามารถอ่านและบันทึกข้อมูลลงบนแผ่นซีดีได้ และสามารถอ่านแผ่น DVD ได้ด้วย DVD-Writer สามารถอ่านและเขียนได้ทั้งแผ่นซีดีและแผ่นดีวีดี บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
ฮาร์ดแวร์อื่นๆ ภายในคอมพิวเตอร์ (ต่อ) เครื่องอ่านหรือบันทึกข้อมูลลงแผ่นซีดีหรือดีวีดี (CD/DVD Drive) บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
ฮาร์ดแวร์อื่นๆ ภายในคอมพิวเตอร์ (ต่อ) อุปกรณ์กำเนิดเสียง (Sound Card) ใช้แสดงผลลัพธ์ในรูปของเสียง บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
ฮาร์ดแวร์อื่นๆ ภายในคอมพิวเตอร์ (ต่อ) อุปกรณ์ควบคุมการแสดงผล (Display Controller Card) ที่ใช้ควบคุมการแสดงผลลัพธ์ออกทางจอภาพ นิยมเรียกว่า VGA Card บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
ฮาร์ดแวร์อื่นๆ ภายในคอมพิวเตอร์ (ต่อ) อุปกรณ์สื่อสารข้อมูลชนิดต่อพ่วงภายใน (Internal Communication Device) เป็นอุปกรณ์สำหรับสื่อสารข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์สำหรับต่อพ่วงภายใน เช่น โมเด็ม การ์ดเน็ตเวิร์ก หรืออุปกรณ์สื่อสารแบบไร้สายแบบติดอยู่กับแผงวงจรหลัก บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
ฮาร์ดแวร์อื่นๆ ภายในคอมพิวเตอร์ (ต่อ) แหล่งจ่ายไฟ (Power Supply) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้จ่ายกระแสไฟฟ้าไปเลี้ยงแผงวงจรหลักและอุปกรณ์ต่อพ่วงอื่น จะทำหน้าที่แปลงไฟฟ้ากระแสสลับ(AC) เป็นไฟฟ้ากระแสตรง(DC) ตามความต้องการของการใช้งานของคอมพิวเตอร์ บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
ประเภทของคอมพิวเตอร์ การจัดแบ่งประเภทของคอมพิวเตอร์ การแบ่งตามขนาด และความสามารถของหน่วยประมวลผลกลาง และอุปกรณ์เสริมรอบข้าง การแบ่งตามลักษณะการประมวลผล ประเภทของคอมพิวเตอร์ Super Computer Mainframe Computer Mini Computer Personal Computer บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
Super Computer จัดเป็นคอมพิวเตอร์ ที่มีประสิทธิภาพสูงสุด ใช้ในการประมวลผลข้อมูลที่มีจำนวนมาก และต้องการประมวลผลที่เร็วมาก เช่น NASA, การพยากรณ์อากาศ ฯลฯ ผู้ใช้สามารถเข้ามาใช้ข้อมูลหรือประมวลผลพร้อมกัน (ผ่าน Terminal) ได้เป็นพันๆเครื่อง มีราคาสูงหลายร้อยล้านบาท บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
Mainframe Computer เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ มีประสิทธิภาพสูงรองจาก Super Computer ใช้ในการประมวลผลข้อมูลที่มีจำนวนมาก ต้องการการประมวลผลที่รวดเร็ว เช่น ในองค์กรธุรกิจขนาดใหญ่, ธนาคารที่มีสาขาทั่วโลกหรือทั่วประเทศ มีราคาค่อนข้างแพงคือราคาหลายสิบล้านบาทขึ้นไป บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
Mini Computer เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดกลาง ประสิทธิภาพอยู่ระหว่าง Mainframe และ PC Computer ใช้ในการประมวลผลข้อมูลที่ต้องการประสิทธิภาพสูงกว่า PC เช่น องค์กรขนาดกลาง ไฟแนนซ์ มหาวิทยาลัย มีราคาหลายแสนจนถึงหลายล้านบาท บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
Personal Computer หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล มักจะถูกเรียกว่าMicrocomputer หรือ Personal Computer หรือ PC (พีซี) จัดเป็นคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก ราคาถูก เหมาะสำหรับใช้งานส่วนตัว ใช้ในสำนักงาน หรือองค์กรขนาดเล็ก หรือตามบ้านพักทั่วไป แบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม คอมพิวเตอร์ขนาดสถานีงาน (Workstation) คอมพิวเตอร์ขนาดตั้งโต๊ะ (Desktop Computer) คอมพิวเตอร์ขนาดกระเป๋า (Laptop หรือ Notebook) คอมพิวเตอร์ขนาดพกพา (Handhelds หรือ Personal Digital Assistants:PDA) บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
Personal Computer (ต่อ) Workstation เป็นคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลที่มีประสิทธิภาพสูง เหมาะใช้คำนวณทางคณิตศาสตร์หรือวิศวกรรม Desktop Computer เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ พบได้ทั่วไปตามสำนักงาน หรือในห้องปฏิบัติการเพื่อการเรียนการสอน Laptop หรือ Notebooks มีความสามารถเท่ากับ Desktop Computer แต่มีขนาดเล็กเท่ากับกระเป๋า หรือ สมุดโน้ต Handhelds หรือ Personal Digital Assistants: PDA มีขนาดเท่าโทรศัพท์พกพา สามารถป้อนข้อมูลด้วยปากกาคอมพิวเตอร์ (Stylus) หรือ นิ้วมือได้ บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
Personal Computer (ต่อ) Workstation บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
Personal Computer (ต่อ) Desktop Computer บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
Personal Computer (ต่อ) Laptop หรือ Notebooks บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
Personal Computer (ต่อ) Handhelds หรือ PDA บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
การหาข้อมูลและราคาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์แต่ละชิ้นส่วนมีราคาแพงมากน้อยขึ้นอยู่กับชนิดและยี่ห้อของอุปกรณ์เหล่านั้น ดังนั้นจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งทีจะต้องทำการตรวจสอบราคาก่อนซื้อ การค้นหาข้อมูลและราคา สามารถกระทำได้โดย การสอบถามราคาจากร้านค้าที่จำหน่ายด้วยตนเอง เช่น เดินเข้าไปสอบถามราคาสินค้าด้วยตนเอง การโทรไปถาม การขอราคาสินค้าจากใบแสดงราคา หรือแผ่นพับโฆษณา(Brochure) เป็นต้น การตรวจสอบราคาจากเว็บไซต์ เป็นวิธีการตรวจสอบราคาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ทีสะดวกทีสุด การสอบถามจากผู้รู้ เป็นวิธีการทีดีสำหรับผู้ซื้ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์มือใหม่ บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
การหาข้อมูลและราคาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ตัวอย่างเว็บไซต์ที่ใช้ตรวจสอบราคาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ http://www.jib.co.th/ http://www.itfocusthai.com/ http://www.buycoms.com/ http://www.thesystem.co.th/thesystem/price/ บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
เงื่อนไขในการเลือกซื้ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ เงื่อนไขการเลือกซื้ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ประกอบด้วย ความต้องการในการใช้งาน งบประมาณ ประเภทการใช้งาน ความต้องการของซอฟต์แวร์ การบริการและรับประกัน บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
การบำรุงรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์เบื้องต้น วิธีการบำรุงรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์เบื้องต้น รักษาความสะอาดทั่วไปภายนอกเครื่อง ควรปิดเครื่องและดึงปลั๊กออกจากเครื่องทุกครั้งที่มีฝนฟ้าคะนอง ควรใช้อุปกรณ์สำรองไฟฟ้า (UPS) ระวังเรื่องสภาพอากาศตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ในที่ที่มีความชื้นสูง ไม่ควรวางเครื่องคอมพิวเตอร์ใกล้กับแหล่งที่ก่อให้เกิดสนามแม่เหล็ก หรือใกล้บริเวณที่ที่มีการสั่นสะเทือนได้ง่าย บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
คำถาม บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ