ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
การจัดสรรตำแหน่งและการ คัดเลือก เพื่อบรรจุลูกจ้างชั่วคราวเข้า รับราชการ.
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
กฎหมายและระเบียบ สาธารณสุข ที่เกี่ยวข้อง.
กลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศการพัฒนาปศุสัตว์
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดบุรีรัมย์
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
สำนักความรับผิดทางแพ่ง
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
การบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค. การปรับการบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค ๑. เหตุผลความจำเป็น ๒. การใช้อำนาจ รมว.ศธ.ในการแต่งตั้งคณะกรรมการ.
สำนักบูรณาการสาธารณภัย อุบัติภัย และความปลอดภัยทางถนน มิติการพัฒนา องค์กร มิติประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ มิติคุณภาพ การให้บริการ มิติประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์
การประชุมติดตามโครงการ Thailand: Marina Hub of ASEAN 14 ตุลาคม วาระ 2.1 สถานะ โครงการ.
หัวข้อสัมมนา : ๑. ในฐานะหน่วยงาน ในจังหวัด ท่านทราบหรือไม่ว่า หน่วยงานใดได้ดำเนินการตาม ยุทธศาสตร์ใดบ้าง และท่านมีความ เข้าใจในการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
ทิศทางการนำระบบบริหาร จัดการคลังข้อสอบ และการทดสอบมาตรฐานฝีมือ แรงงาน ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์สู่หน่วย ปฏิบัติ โดย วรรณี โกมลกวิน ผู้อำนวยการกลุ่มงานกำหนด.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
สรุป การเมืองการปกครองท้องถิ่น ไทย POL 341 ผศ. ดร. ชาญชัย จิตรเหล่าอาพร คณะรัฐศาสตร์ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
สำนักงาน ก.ก. และสำนักงานตรวจสอบภายใน สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
“คลายทุกข์ สุขใจ ใกล้ประชาชน”
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
ขั้นตอนการจัดทำงบประมาณ
การจัดการเรียนการสอนภายในหน่วยงาน (Unit School)
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
ป.ย.ป. คณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง เป็นส่วนที่ตั้งขึ้นโดยอาศัยอํานาจตามความในมาตรา.
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
EB9 (3) มีการประชุมหรือสัมมนาหรือแลกเปลี่ยนความรู้ภายในหน่วยงาน เพื่อให้ความรู้เรื่องการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนแก่เจ้าหน้าที่ หรือไม่
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เป้าหมายจังหวัด TO BE NUMBER ONE
(ศปท.) ในฐานะกลไกการขับเคลื่อน ศอตช.
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ผู้ปฏิบัติ : ทีมสนับสนุน
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
รศ. ทวีศักดิ์ สูทกวาทิน สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
อดีต ปัจจุบัน อนาคต ของเอชไอวี ในประเทศไทย
ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ.2560
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
องค์กรตรวจสอบการทำงานภาครัฐ (สตง. / ปปช. / ปปท. )
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ตัวชี้วัดที่ 2.3 ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย (Integrity and Transparency Assessment: ITA) เฉพาะหลักฐานเชิงประจักษ์
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
แผนผังแสดงกลไกการป้องกันและแก้ไขปัญหาการทุจริตภาครัฐ
โครงการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส การดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
ประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การสนับสนุนและส่งเสริมศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ พ.ศ นายอัษฎาวุธ.
แนวทางการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปี 2562
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
เรื่องเพื่อทราบ : ปฏิทินสรุปผลตรวจราชการปี รอบ 2/2561
จังหวัดสมุทรปราการ.
สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดเชียงใหม่
การจัดองค์กรของรัฐในประเทศไทย ********************
การปกครองท้องถิ่น ในปัจจุบัน
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การขับเคลื่อน การจัดทำแผนการพัฒนากำลังคน รายจังหวัด
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต ความเป็นมา จากปัญหาการทุจริตที่ผ่านมา มีความรุนแรงอย่างต่อเนื่อง คณะรักษาความสงบแห่งชาติได้มีคำสั่งที่ ๖๙ /๒๕๕๗ เรื่องมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาการทุจริตประพฤติมิชอบ ลงวันที่ ๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๗ ให้ทุกส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐกำหนดมาตรการหรือแนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการทุจริตประพฤติมิชอบในหน่วยงาน โดยมุ่งการสร้างธรรมาภิบาลในการบริหารงาน และส่งเสริมการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในการตรวจสอบ เฝ้าระวัง เพื่อสกัดกั้นมิให้เกิดการทุจริตประพฤติมิชอบ รัฐบาลได้เห็นถึงความสำคัญของการแก้ไขปัญหาการทุจริต ซึ่งได้กำหนดเป็นวาระแห่งชาติ โดยรัฐบาลได้เสริมสร้างกลไกขับเคลื่อนในการป้องกันและแก้ไขปัญหา การทุจริต ขึ้นมา ๓ ระดับคือ คณะกรรมการต่อต้านการทุจริตแห่งชาติ เป็น กลไกระดับนโยบาย มีนายกรัฐมนตรี /หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ เป็นประธาน กรรมการจัดตั้งศูนย์อำนวยการต่อต้านการทุจริตแห่งชาติให้เป็น กลไกขับเคลื่อนภาพรวมประดับประเทศ และกลไกระดับปฏิบัติการ โดยการ ออกมาตรการเพิ่มประสิทธิภาพศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต ซึ่งประจำอยู่ทุก ส่วนราชการระดับกระทรวง หรือเทียบเท่า ปัจจุบันมีจำนวน 35 ศูนย์ ให้ เป็นกลไกประสานงาน กำกับ ติดตาม และรายงานผล การดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับนโยบาย ข้อสั่งการ ในการป้องกันและแก้ไข ปัญหาการทุจริต กับหน่วยงานภายใต้กำกับทั้งหมด ซึ่งได้แก่หน่วยงาน ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รวมทั้ง รัฐวิสาหกิจ และองค์การ มหาชน โดยมีสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตใน ภาครัฐ เป็นกลไกขับเคลื่อนประสาน กำกับ ติดตามผลการปฏิบัติงานของศูนย์ ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต ในฐานะที่สำนักงาน ป.ป.ท. เป็นฝ่ายเลขานุการ ของคณะกรรมการต่อต้านการทุจริตแห่งชาติ ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต มีบทบาท ภารกิจ อำนาจหน้าที่ ด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ และด้านคุ้มครอง จริยธรรม ดังนี้

Anti-Corruption Operation Centre  Background Since corruption has been a severe problem in Thailand, on 18 June 2014, the National Committee of Peace and Order (NCPO) issued an Order No.69/2014 on “Measures to Prevent Corruption and Misconduct” assigning all government and state agencies to define the measures and procedures to prevent and eliminate corruption and misconduct in their organisations. The order focused on building good governance at work and encouraging all relevant sectors to participate in inspecting and monitoring government activities in order to prevent corruption in the public sector. A strong focus on combating corruption is vital, the Royal Thai Government, therefore, held the war on corruption as a national agenda. RTG has strengthened the 3 level mechanisms to prevent and eliminate corruption as follows; 1. At the policy level: the National Anti-Corruption Committee chaired by the Prime Minister/Head of NCPO 2. At the national level: the National Anti-Corruption Centre driving the overall domestic performance. 3. At the operational level: the Anti-Corruption Operation Centre established in all ministries or their equivalent which their efficiency have been significantly improved. Recently, there are 35 Anti-Corruption Operation Centres to coordinate, direct, monitor, and report agencies’ anti-corruption performance. These agencies are from central, regional and local as well as state enterprises and public organisations. PACC as the secretary to the National Anti-Corruption Committee is regarded as a mechanism to coordinate, direct and monitor the activities of Anti-Corruption Operation Centres’ operation. Roles, missions and authorities of the Anti-Corruption Operation Centre to prevent and suppress corruption and misconduct and protect ethics are as follows;

อำนาจหน้าที่ กลุ่มงานป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ๑. ศึกษา วิเคราะห์ รวบรวมข้อมูลสภาพปัญหา เพื่อจัดทำข้อเสนอแนะมาตรการ แนวทางการป้องกันและปราบปราม การทุจริตและประพฤติมิชอบของส่วนราชการเสนอต่อหัวหน้าส่วนราชการ ๒. จัดทำแผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบของส่วนราชการ ๓. ให้คำปรึกษาแนะนำ ประสานงาน เร่งรัด กำกับและติดตาม ให้ส่วนราชการ และรัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชนในกำกับของกระทรวง ดำเนินการขับเคลื่อนภารกิจตามแผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ๔. รับข้อร้องเรียนเรื่องการทุจริต การปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบของเจ้าหน้าที่ของส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจองค์การมหาชนในกำกับของกระทรวง และส่งต่อไปยังส่วนราชการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวมถึงประสานติดตามอย่างต่อเนื่องจนได้ข้อยุติ ๕. เป็นกลไกการปฏิบัติหรือประสานการปฏิบัติงานร่วมกับศูนย์อำนวยการต่อต้านการทุจริตแห่งชาติ (ศอตช.) สำนักงาน ป.ป.ท. สำนักงาน ป.ป.ช. หรือหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง ตามที่ ศอตช. มอบหมายและกำกับติดตามการดำเนินการตามมติ- ข้อสั่งการ ของ คตช. ที่เกี่ยวข้อง ๖. ทำการตรวจสอบเปรียบเทียบผลการดำเนินการปกครอง วินัยของหน่วยงานในสังกัด เสนอความเห็นต่อปลัดกระทรวงหรือรัฐมนตรีแล้วแต่ละกรณี แล้วแจ้งให้ศอตช. ทราบ ๗. เป็นศูนย์กลางในการเผยแพร่ข่าวสารเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในส่วนราชการ ๘. ส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในส่วนราชการ ๙. ติดตามประเมินผลการดำเนินงานของส่วนราชการ และรัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน และจัดทำรายงานผลการดำเนินงานการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในภาพรวมของส่วนราชการส่งสำนักงาน ป.ป.ท. สำนักงาน ป.ป.ช. สำนักงาน ก.พ. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

Role, Mission, Power and Duties of the Prevention and Suppression of Corruption and Misconduct Unit 1. Study, analyse and gather information for drafting recommendations, measures and guidelines to prevent and suppress corruption and misconduct in a public sector to the heads of the organisations. 2. Prepare the action plan to prevent and suppress corruption and misconduct in the public sectors. 3. Advise, coordinate, expedite and monitor the public sectors, state enterprises and public organisations under supervision of each Ministry according to the action plan. 4. Receive complaints against officials in the public sectors, state enterprises and public organisations under supervision of each Ministry involving corruption activities, wrongfully performing or failing to perform their duties. These complaints will be forwarded to agencies in charge as well as other relevant authorities and will be followed-up by the Prevention and Suppression of Corruption and Misconduct Unit until the final outcome is reached. 5. Operate and coordinate with the Anti-Corruption Administration Centre, PACC, NACC, or other relevant organisations as assigned by the Anti-Corruption Administration Centre and direct/monitor the implementation of other related National Anti-Corruption Committee’s resolutions and orders. 6. Compare and inspect the administrative and disciplinary actions of accountable agencies and submit the recommendations to the Permanent Secretary or the Minister of each Ministry depending on circumstances and subsequently notify the Ministry’s Anti-Corruption Centre. 7. Publicize news on prevention and suppression of corruption and misconduct in the public sector. 8. Encourage all sectors to participate in the prevention and suppression of corruption in government activities. 9. Monitor the performance of the public sector, state enterprises and public organisations, and report the overall results on prevention and suppression of corruption and misconduct to PACC, NACC, OCSC and other relevant organisations.

อำนาจหน้าที่ กลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรม ๑. คุ้มครองจริยธรรมตามประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน และประมวลจริยธรรมอื่นๆ ๒. ทำหน้าที่ฝ่ายเลขานุการของคณะกรรมการจริยธรรมประจำส่วนราชการ ๓. ประสานการดำเนินงานเกี่ยวกับจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี แผนงาน/โครงการ ตลอดจนบูรณาการแผนงาน/โครงการเกี่ยวกับการคุ้มครองจริยธรรม การส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม จรรยาข้าราชการ และเสริมสร้างวินัยของ ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชนในกำกับของกระทรวง ๔. รวบรวมปัญหาการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมของส่วนราชการ และรัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชนในกำกับของกระทรวง ตลอดจนเสนอแนะแนวทางการปรับปรุงประมวลจริยธรรมต่อสำนักงาน ก.พ. ๕. ติดตาม ประเมินผลการดำเนินการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม จรรยาข้าราชการ การเสริมสร้างวินัย และ การดำเนินการตามประมวลจริยธรรมข้าราชการของส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจและองค์การมหาชนเสนอ หัวหน้าส่วนราชการ และส่งผลการดำเนินการให้กลุ่มงานป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ จัดทำรายงานผลการดำเนินงานการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในภาพรวมของส่วนราชการ

Role, Mission, Power and Duties of Ethics Protection Unit 1. Protect ethics as prescribed in the Civil Servant’s Code of Ethics and other Code of Ethics. 2. Serve as the secretary to the Ethics Committee in the public sector. 3. Coordinate on the annual Action Plan and work plan/project, integrate work plan/project on ethics protection and promotion of virtue, ethics, and civil servants’ morality as well as strengthening the discipline in the public sectors, state enterprises and public organisations. 4. Gather information from the public sectors, state enterprises and public organisations under the supervision of each Ministry when implementing the Code of Ethics. Recommend the guidelines to improve the Code of Ethics to the Office of the Civil Service Commission (OCSC). 5. Monitor/evaluate the organisations’ operation to promote virtue, ethics, and civil servants’ morality, strengthen officers’ self-discipline and follow the Code of Ethics of public sectors, state enterprises and public organisations present the outcome to the head of each organisation. The Ethics Protection Unit will submit the organisations’ operations report to the Prevention and Suppression of Corruption and Misconduct Unit and prepares an overall performance report of prevention and suppression of corruption and misconduct in the public sectors.

แผนผังแสดงกลไกการป้องกันและแก้ไขปัญหาการทุจริตภาครัฐ คณะกรรมการต่อต้านการทุจริตแห่งชาติ คณะรัฐมนตรี ศูนย์อำนวยการการต่อต้านการทุจริตแห่งชาติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวง ปลัดกระทรวง ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต ระดับกระทรวง รองปลัดกระทรวง : หัวหน้าศูนย์ ฯ กลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรม กลุ่มงานป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ หน่วยงานส่วนกลาง ระดับกรม ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต ระดับจังหวัด รัฐวิสาหกิจ/ องค์การมหาชน กรุงเทพมหานคร หน่วยงานส่วนภูมิภาค องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น - จังหวัด - อำเภอ - ตำบล/หมู่บ้าน - องค์การบริหารส่วนจังหวัด - เทศบาล - องค์การบริหารส่วนตำบล - เมืองพัทยา

National Anti-Corruption Committee Mechanism to Prevent and Eliminate Corruption and Misconduct in the Public Sector National Anti-Corruption Committee Cabinet Minister National Anti-Corruption Centre Permanent Secretary Deputy Permanent Secretary : Head of the centre Anti-Corruption Operation Centre (Ministerial Level) Ethics Protection Unit Prevention and Suppression of Corruption and Misconduct Unit Central Organization Department Level Anti-Corruption Operation Centre Provincial Level State Enterprise /public organisation Bangkok Metropolitan Administration Regional organisation Local administration -Province -District -Sub District/Village Provincial Administrative Organisation (city/ Town/ Sub District Municipality) Sub District Administrative Organisation - The City of Pattaya