บทที่ 9 เศรษฐกิจการค้าและการเงินระหว่างประเทศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักมาตรฐานด้านการบัญชีภาครัฐ
Advertisements

แนวทางการจัดทำบัญชีสมดุลผลไม้
Your Investment Partner
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
การค้าระหว่างประเทศ.
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
การส่งเสริมและสนับสนุน ให้สหกรณ์เป็นวาระ แห่งชาติ.
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 10 “ ความร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ ” อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข.
สาระที่ สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน มาตรฐาน ส เข้าใจระบบและสถาบันทาง เศรษฐกิจต่างๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและความจำเป็น ของการร่วมมือกัน ทางเศรษฐกิจในสังคมโลก.
ประชาคมอาเซียน.
การพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยในไทย
ทัศนะเกี่ยวกับการกำหนดอัตราค่าจ้างขั้นต่ำ ประจำปี 2559
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
1.
Royal project and Government project พระบิดาแห่งชาวโคนมไทย.
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์ จังหวัด จังหวัด นราธิวาส 1.
สหกรณ์ ปี 2560 สหกรณ์ 4,629 สหกรณ์ (65%) ต้อง  สมาชิกไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 มีส่วนร่วม ในการดำเนินธุรกิจสหกรณ์  สหกรณ์มีเสถียรภาพทางการเงินในระดับ มั่นคงมาตรฐานขึ้นไป.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
แนวทางการบริหารจัดการเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษโดย สหกรณ์ นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการกองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตร และกลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ วันที่
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
ผลการปฏิบัติงานของ กลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาการบริหาร การจัดการสหกรณ์ ประจำเดือน มกราคม 2558.
สัญญาก่อสร้าง.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
International Economics Payment among Nation
การค้าระหว่างประเทศ International Trade
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
ระบบการเงินระหว่างประเทศ
การสัมมนาวิชาการ สมาคมนักวิจัยและเพาะเห็ดหอมแห่งประเทศไทย เรื่อง เห็ดไทย ... กับการก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน วันศุกร์ที่ 11 พฤษภาคม 2555 ณ โรงแรมเอเชียแอร์พอร์ต.
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
FTA.
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
1. การสอบกลางภาค วันที่ 6 ตุลาคม เวลา น. เก็บ 40 % 2
การบริหารงานคลังสาธารณะ
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
รศ. ทวีศักดิ์ สูทกวาทิน สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
การวิเคราะห์องค์กร รู้จักตนเอง
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
สำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ สาขา 7
วิกฤตเศรษฐกิจของประเทศไทย ปี 2540
ดุลการชำระเงิน Balance of Payments Taweesak Gunyochai : Satit UP
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
Topic 11 เงินเฟ้อ เงินฝืด การว่างงาน
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ผู้ประกอบการโลจิสติกส์ในเขตปลอดอากร นักตรวจสอบภาษีชำนาญการพิเศษ
บทบาทขององค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคต่าง ๆ
แนวทางการแก้ไขปัญหาก๊าซ LPG
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
บทที่ 6 เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน
ข้อดี ข้อเสีย ของ ค่าเงินบาทแข็ง
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
การจัดการความรู้ Knowledge Management
คณะกรรมาธิการเศรษฐกิจ การเงินและการคลัง สภานิติบัญญัติแห่งชาติ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การเตรียมตัวสู่ประชาคมอาเซียน
Topic 13 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
27 , 30 ตุลาคม 2549 ธนาคารแห่งประเทศไทย
รายได้ประชาชาติ รายวิชา : week 04.
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
อ. อรนพัฒน์ เหมือนเผ่าพงษ์ สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและธุรกิจที่พัก
4.2.3แผนการปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
กฎหมายระเบียบและนโยบายที่เกี่ยวข้อง
การขายและการตลาดสำหรับธุรกิจโรงแรมและที่พัก
การประชุมผู้บริหารระดับสูง
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 9 เศรษฐกิจการค้าและการเงินระหว่างประเทศ บทที่ 9 เศรษฐกิจการค้าและการเงินระหว่างประเทศ

9.1 สาเหตุของการค้าระหว่างประเทศ 9.1 สาเหตุของการค้าระหว่างประเทศ ไม่มีประเทศใดในโลกที่สามารถผลิตสินค้า ได้ทุกชนิดตามที่ประเทศต้องการ ความแตกต่างที่ก่อให้เกิดการค้าระหว่างประเทศ ความแตกต่างของทรัพยากรธรรมชาติ ความแตกต่างของต้นทุนการผลิตสินค้า

ประชาชนในแต่ละประเทศบริโภคสินค้า ที่ผลิตขึ้นไม่หมด เมื่อประเทศมุ่งผลิตสินค้าที่ตนชำนาญ ประชาชนในแต่ละประเทศบริโภคสินค้า ที่ผลิตขึ้นไม่หมด นำสินค้าที่เหลือไปขายให้อีกประเทศ เกิดการค้าระหว่างประเทศ

9.2 ผลดีและผลเสียของการค้าระหว่างประเทศ 1 ผลดีของการค้าระหว่างประเทศ ทำให้ประเทศสามารถใช้ปัจจัยการผลิตที่มีอยู่ให้เป็นประโยชน์มากที่สุด ช่วยให้ประเทศสามารถนำเข้าสินค้าต่าง ๆ ที่ต้องการ ทำให้ประชาชนมีโอกาสเรียนรู้เทคนิคการผลิต การจัดการและการบริหารการค้า

2. ผลเสียของการค้าระหว่างประเทศ ทำให้ประเทศมีปัญหาการขาดดุลการค้า ด้านอัตราการค้า

9.3 นโยบายการค้าระหว่างประเทศ 1. นโยบายการค้าเสรี ( Free Trade Policy ) 2. นโยบายการค้าแบบคุ้มกัน ( Protective Trade Policy )

2. นโยบายการค้าแบบคุ้มกัน รูปแบบภาษี 1.1 การตั้งกำแพงภาษีศุลกากรกับสินค้านำเข้าในอัตราสูง 2.รูปแบบที่ไม่ใช่ภาษี 2.1 การจำกัดปริมาณสินค้านำเข้าหรือโควต้าการนำเข้า

2.2 การกำหนดมาตรฐานสินค้านำเข้า 2.3 การกำหนดกฎระเบียบเกี่ยวกับวิธีการต่าง ๆเกี่ยวกับการส่งออกและการนำเข้าสินค้า 2.4 การทุ่มตลาด

9.4 องค์กรการค้าระหว่างประเทศ องค์กรการค้าโลก ( World Trade Organization = WTO )

9.5 การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ การที่ประเทศมากกว่าหนึ่งประเทศขึ้นไปมารวมกันอย่างเป็นทางการ เพื่อเชื่อมเศรษฐกิจของแต่ละประเทศใน ภูมิภาคเดียวกัน เพื่อขยายลู่ทางการค้าระหว่างกันให้กว้างขวางยิ่งขึ้นโดยการลดหย่อนภาษีศุลกากรระหว่างกัน ลดอุปสรรคทางการค้า

ประเภทการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ เขตลดพิกัดอัตราภาษีศุลกากร (Preferential Area) เช่น อาเซียน เขตการค้าเสรี (Free Trade Area) เช่น เขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) และเขตการค้าเสรีอเมริกาเหนือ (NAFTA)

ประเภทการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ 3. สหภาพศุลกากร (Customs Union) 4. ตลาดร่วม (Common Market) 5.สหภาพเศรษฐกิจ (Economic Union) เช่น สหภาพยุโรป

9.6 สถาบันการเงินระหว่างประเทศ 1. ธนาคารโลก (World Bank) - ให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่ประเทศที่ได้รับภัยพิบัติจากสงคราม - ให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาเศรษฐกิจแก่ประเทศสมาชิก

2. กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (International Monetary Fund : IMF) : รักษาเสถียรภาพในระบบอัตราแลกเปลี่ยนของประเทศสมาชิก

3. ธนาคารพัฒนาเอเชีย (Asian Development Bank : ADB) ส่งเสริมเศรษฐกิจและความร่วมมือกันในภูมิภาคเอเชียและตะวันออกไกลและให้ความช่วยเหลือทางการเงินและวิชาการเพื่อเร่งรัดพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศสมาชิกที่กำลังพัฒนาในภูมิภาค

9.7 ดุลการชำระเงิน (Balance of Payments) บันทึกรายการรับและจ่ายเงินตราต่างประเทศ ที่เกิดจากการแลกเปลี่ยนทางเศรษฐกิจระหว่างผู้มีถิ่นฐานในประเทศนั้นกับผู้มีถิ่นฐานของประเทศอื่นๆ ในเวลาใดเวลาหนึ่ง ซึ่งปกติ จะคิด 1 ปี

9.7.1 ส่วนประกอบของดุลการชำระเงิน (Balance of Payments) ดุลบัญชีเดินสะพัด (Current Account) ดุลบัญชีทุนหรือบัญชีเงินทุนเคลื่อนย้าย (Capital Account) ดุลบัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศ (International Reserve Account)

1. ดุลบัญชีเดินสะพัด (Current Account) 1.1 ดุลการค้า (Trade Account) 1.2 ดุลบริการ (Service Account) 1.3 ดุลเงินโอนหรือเงินบริจาค (Transfer Account) 1.4 ดุลรายได้ (Income Account)

1.1 ดุลการค้า (Trade Account) แสดงมูลค่าการส่งออกสินค้าและ มูลค่าการนำเข้าสินค้า (-) (+) มูลค่าสินค้าส่งออก > มูลค่าสินค้านำเข้า ดุลการค้าเกินดุล (Trade Surplus)

มูลค่าการส่งออก < มูค่าการนำเข้า มูลค่าการส่งออก < มูค่าการนำเข้า ดุลการค้าขาดดุล

ปี 2556 มูลค่าการส่งออก 6,909.7 พันล้านบาท อันดับ 1 ส่งออกไปจีน ร้อยละ 11.9 อันดับ 2 ส่งออกไปสหรัฐอเมริการ้อยละ 10.0 อันดับ 3 ส่งออกไปญี่ปุ่นร้อยละ 9.7

สินค้าส่งออก 5 อันดับแรกของไทย ปี 2556 ล้านบาท 1 รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ 738,113   2 คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ 537,049   3 น้ำมันสำเร็จรูป 386,003   4 อัญมณีและเครื่องประด้บ 305,838 5 เคมีภัณฑ์ 274,939 ที่มา : กรมศุลกากร

ปี 2556 มูลค่าการนำเข้า 7,657.3 พันล้านบาท อันดับ 1 นำเข้าจากญี่ปุ่น ร้อยละ 16.4 อันดับ 2 นำเข้าจากจีน ร้อยละ 15.1 อันดับ 3 นำเข้าจากสหรัฐอาหรับเอมิเรสต์ร้อยละ 6.9

ประเภทสินค้านำเข้าของไทย ปี 2556 อันดับ พันล้านบาท 1 วัตถุดิบ 2,881.3   2 สินค้าทุน 2,010.8   3 เชื้อเพลิง 1,609.4   4 สินค้าอุปโภคบริโภค 691.6 5 ยานพาหนะ 452.5 ที่มา : กรมศุลกากร

ตลาดนำเข้าที่สำคัญของไทย ตลาดนำเข้าที่สำคัญของไทยมีอยู่ 4 ตลาด ได้แก่ ญี่ปุ่น อาเซียน สหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา

1.2 ดุลบริการ (Service Account) มูลค่าการบริการที่คนของประเทศให้หรือรับจากต่างประเทศ (-) (+) มูลค่าบริการรับ > มูลค่าบริการจ่าย ดุลบริการเกินดุล มูลค่าบริการรับ < มูลค่าบริการจ่าย ดุลบริการขาดดุล

- การธนาคารและการประกันภัย - ลิขสิทธ์ สัมปทาน และเครื่องหมายการค้า ดุลบริการ - การท่องเที่ยว - การขนส่ง - การธนาคารและการประกันภัย - ลิขสิทธ์ สัมปทาน และเครื่องหมายการค้า

จำนวนนักท่องเที่ยว ปี 2556 No. Country Name ล้านคน ร้อยละ   World 1,060 100.00 1 France 83.0 7.8 2 United States 69.8 6.6 3 Spain 60.7 5.7 4 China 55.7 5.3 5 Italy 47.7 4.5 6 Turkey 35.7 3.4 7 Germany 31.5 3.0 10 Thailand 26.5 2.5 ที่มา: World Tourism Organization

รายได้จากการท่องเที่ยว ปี 2556 No. Country Name พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ 1 สหรัฐอเมริกา 139.6 2 สเปน 60.4 3 ฝรั่งเศส 56.1 4 จีน 51.7 5 มาเก๊า 51.6 6 อิตาลี 43.9 7 ไทย 42.1 ที่มา: World Tourism Organization

ดุลการท่องเที่ยวไทยปี 2554 1. ชาวต่างชาติมาไทย 19.2 ล้านคน 2. รายได้จากการท่องเที่ยว 7.8 แสนล้านบาท 3. คนไทยไปเที่ยวต่างประเทศ 5.4 ล้านคน 4. รายจ่ายในการเที่ยว 1.2 แสนล้านบาท 5. ดุลการท่องเที่ยวเกินดุล 6.6 แสนล้านบาท

ดุลบริการของไทย (พันล้านบาท)

ดุลบริการ ดุลรายได้ และดุลเงินโอนของไทย (พันล้านบาท)

1.3 ดุลเงินโอนหรือเงินบริจาค (Transfer Account) บันทึกรายการเกี่ยวกับเงินบริจาค เงินช่วยเหลือและเงินโอนต่างๆ ระหว่างประเทศ โดยเอกชนหรือรัฐบาล รวมถึงรายการที่อยู่ในรูปของสิ่งของด้วย

1.4 ดุลรายได้ (Income Account) การบันทึกรายการเกี่ยวกับการส่งเงินจากการทำงานของแรงงานกลับไปยังภูมิลำเนา รวมถึงการส่งกำไรหรือดอกเบี้ยจากการลงทุนทางตรงและการลงทุนในหลักทรัพย์ไปยังต่างประเทศ

2. ดุลเงินทุนหรือดุลเงินทุนเคลื่อนย้าย(Capital Account) แสดงมูลค่าของการเคลื่อนย้ายเงินทุนระหว่างประเทศทั้งในระยะสั้นและระยะยาว ทั้งภาครัฐและเอกชน ได้แก่ เงินลงทุนโดยตรง เงินลงทุนในหลักทรัพย์ (หุ้นสามัญ พันธบัตรรัฐบาล หุ้นกู้)และเงินกู้ยืม เป็นต้น

ปี รัฐบาล โดยตรง ธนาคารแห่ง ประเทศไทย ธ. พาณิชย์ ภาคอื่นๆ รวม (ล้านบาท) 2542 33,745 48,708 84,395 241,630.87 393,998 2543 35,433 49,746 58,302 198,672 342,153 2544 34,963 39,107 42,321 173,998 290,389 2545 32,934 24,611 34,857 158,749 251,151 2546 29,587 4,167.34 30,257 153,254 217,265 2547 25,684 506.81 28,164 156,643 210,997.94 2548 19,291.79 1,305.27 28,479.17 189,258.48 238,334.79 2549 17,554.87 3,650.64 30,968.79 219,354.21 271,528.53 2550 9,913.86 2,660.61 25,331.88 248,873.57 292,779.96 2551 11,992.66 3,245.05 28,814.78 270,054.32 314,106.87 2552 14,096.35 4,911.03 32,157.74 240,524.03 291,689.21 2553 10,020.04 5,218.21 24,798.10 120,116,80 106,153.19

ดุลการชำระเงิน สินค้าออก 226.1 สินค้าเข้า 217.8 ดุลการค้า หน่วย : พันล้านดอลลาร์ 1995 1996 1997 1998 2011 2012 2013 สินค้าออก 55.7 54.6 56.7 52.8 225.4 226.1 225.4 201.9 สินค้าเข้า 70.3 70.8 61.3 40.6 217.8 219.0 ดุลการค้า -14.6 -16.1 - 4.6 12.2 23.5 8.3 6.4 บริการ รายได้ เงินโอน 1.4 1.7 1.5 2.0 -11.6 -5.6 -9.2 ดุลบัญชีเดินสะพัด - 13.2 -14.3 - 3.1 14.2 11.9 2.7 -2.8 ดุลบัญชีทุน 21.9 19.5 - 4.3 - 9.7 -7.2 11.5 1.2 เอกชน 20.8 18.2 - 7.6 - 15.4 n.a. n.a n.a รัฐบาล 1.1 1.3 1.5 1.8 n.a. n.a. n.a ธ.แห่งประเทศไทย 1.7 3.9 n.a. n.a. n.a ความคลาดเคลื่อนสุทธิ - 1.4 - 2.9 - 3.1 - 2.8 -3.5 -8.9 - 3.4 ดุลการชำระเงิน 7.2 2.1 - 10.6 1.7 1.2 5.3 -5.0 ที่มา : ธนาคารแห่งประเทศไทย

3. บัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศ (International Reserve Account) บันทึกรายการเกี่ยวกับการไหลเข้าออกของ ทุนสำรองระหว่างประเทศ โดยบัญชีนี้จะมี หน้าที่สำคัญคือ เพื่อขจัดจำนวนแตกต่างระหว่างรายรับรายจ่ายของบัญชีดุลการชำระเงินให้เป็นดุลการชำระเงินที่สมดุล

รายรับ > รายจ่าย จาก 2 บัญชีแรก ดุลการชำระเงินเกินดุล รายรับ > รายจ่าย ดุลการชำระเงินเกินดุล ทุนสำรองระหว่างประเทศเพิ่มขึ้น รายรับ < รายจ่าย ดุลการชำระเงินขาดดุล ทุนสำรองระหว่างประเทศลดลง

ทุนสำรองระหว่างประเทศของบางประเทศ (พันล้านเหรียญ)

9.7.3 การแก้ปัญหาการขาดดุลบัญชีเดินสะพัด การส่งเสริมการส่งออก จัดหาตลาดสินค้าในต่างประเทศ - ปรับปรุงสินค้าให้มีคุณภาพและได้มาตรฐาน

การแก้ปัญหาการขาดดุลบัญชีเดินสะพัด (ต่อ) การลดการนำเข้าสินค้าจากต่างประเทศ รณรงค์และปลูกฝังให้คนไทยเปลี่ยนค่านิยมหันมาใช้สินค้าและบริการที่ผลิตในประเทศ ทำให้ดุลบริการเกินดุลมากขึ้น เช่น การส่งเสริมการท่องเที่ยวในไทย

การแก้ปัญหาการขาดดุลบัญชีเดินสะพัด (ต่อ) การลดค่าของเงิน (Devaluation) ราคาสินค้าส่งออก ในตลาดต่างประเทศถูกลง ราคาสินค้านำเข้า ตลาดในประเทศสูงขึ้น ส่งออกได้มากขึ้น นำเข้าลดลง การขาดดุลลดลง หรือ อาจทำให้เกินดุลได้

ผู้ที่ได้ประโยชน์จากการที่เงินบาทมีค่าลดลง - ผู้ส่งออก - นักท่องเที่ยวต่างชาติที่มาเที่ยวไทย ผู้ที่เสียประโยชน์จากการที่เงินบาทมีค่าลดลง ผู้นำเข้า คนไทยไปเที่ยวต่างประเทศ คนไทยที่กู้เงินจากต่างประเทศ

9.8 ความหมายของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศ (Foreign Exchange Rate)

9.9 ระบบอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ระบบอัตราแลกเปลี่ยนคงที่หรือตายตัว (Fixed Exchange Rate) ระบบที่อิงค่าเงินไว้กับเงินสกุลเดียว (Single Peg System) ระบบที่ผูกค่าเงินไว้กับตะกร้าเงิน (Multiple Peg System)

ระบบอัตราแลกเปลี่ยนเสรี หรือระบบอัตราแลกเปลี่ยนลอยตัว - ระบบอัตราแลกเปลี่ยนลอยตัวเสรี (Independent Float System) ระบบอัตราแลกเปลี่ยนลอยตัวแบบมีการจัดการ (Managed Float System)

9.10 ระบบอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศของไทย

ระบบอัตราแลกเปลี่ยนของประเทศไทย ปี พ.ศ.2489-2497 ระบบอัตราแลกเปลี่ยนอิงกับเงินดอลลาร์สหรัฐและเงินปอนด์ ปี พ.ศ. 2498-2505 ใช้ทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยนโดยอิงกับเงินดอลลาร์สหรัฐ ปี พ.ศ.2506-2520 ระบบค่าเสมอภาค( Par value) 1 พฤศจิกายน 2521 – 14 กรกฎาคม 2527 ทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยนประจำวันร่วมกับธนาคารพาณิชย์

ระบบอัตราแลกเปลี่ยนของประเทศไทย 15 กรกฎาคม 2527 – 4 พฤศจิกายน 2527 ทุนรักษาระบบอัตราแลกเปลี่ยนประจำวันโดยอิงกับเงินดอลลาร์สหรัฐ 5 พฤศจิกายน 2527 – 1 กรกฎาคม 2540 ระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบตะกร้าเงิน 2 กรกฎาคม 2540 อัตราแลกเปลี่ยนลอยตัวภายใต้การจัดการ