งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ดุลการชำระเงิน Balance of Payments Taweesak Gunyochai : Satit UP

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ดุลการชำระเงิน Balance of Payments Taweesak Gunyochai : Satit UP"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ดุลการชำระเงิน Balance of Payments Taweesak Gunyochai : Satit UP

2 ดุลการชำระเงิน (Balance of Payments) คืออะไร

3 ดุลการชำระเงิน (Balance of Payments) คืออะไร
รายงานสถิติที่ได้จากาการรวบรวมรายการทางเศรษฐกิจและการเงินอย่างเป็นระบบระหว่างผู้มีถิ่นฐานของประเทศหนึ่งกับผู้มีถิ่นฐานของประเทศอื่นๆ ในรอบระยะเวลาหนึ่ง ผลสรุปของการทำธุรกรรมทางเศรษฐกิจระหว่างผู้มีถิ่นฐานในประเทศ กับผู้มีถิ่นฐานในต่างประเทศในช่วงระยะเวลาหนึ่ง

4 ใครเป็นผู้จัดทำรายงาน ดุลการชำระเงิน (Balance of Payment)

5 ใครเป็นผู้จัดทำรายงาน ดุลการชำระเงิน (Balance of Payment)
ผู้จัดทำ : ธนาคารแห่งประเทศไทย(ธปท) หรือ แบงค์ชาติ หรือ ธนาคารกลาง (The Bank of Thailand : BOT)

6 ระยะเวลาของจัดทำ ข้อมูล ดุลการชำระเงิน (Balance of Payment)

7 การจัดทำ : รายเดือน หรือ รายไตรมาส(3 เดือน) หรือ รายปี
ระยะเวลาของจัดทำ ข้อมูล ดุลการชำระเงิน (Balance of Payment) การจัดทำ : รายเดือน หรือ รายไตรมาส(3 เดือน) หรือ รายปี

8 ประโยชน์ และ ความสำคัญ ของบัญชีดุลการชำระเงิน

9 ความสำคัญของบัญชีดุลการชำระเงิน
1. ช่วยให้ทราบถึงปริมาณการค้าและกิจกรรมทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ 2. มีผลกระทบต่อตัวแปรทางเศรษฐกิจมหภาค เช่น GDP การจ้างงาน อัตราแลกเปลี่ยน อัตราดอกเบี้ย ฯลฯ 3. ทราบถึงระดับเงินทุนสำรองระหว่างประเทศ 4. ใช้คาดคะเนการเปลี่ยนแปลงนโยบายเศรษฐกิจ 5. ใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจ(ใช้ในการพิจารณารายรับ รายจ่ายของเงินตราต่างประเทศ ) วางนโยบายการเงินและการคลังของประเทศ นโยบายการเงิน ได้แก่ นโยบายอัตราดอกเบี้ย การซื้อคืนพันธบัตรรัฐบาลจากธนาคารพาณิชย์ (Repurchase Agreement) ทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยน  นโยบายการคลัง เช่น การใช้จ่ายของภาครัฐบาล นโยบายการจัดเก็บภาษี

10 ดุลการชำระเงิน บอกถึงอะไร ? : - สามารถแสดงให้เห็นถึงฐานะทางการเงินของประเทศนั้น ๆ ว่ามีระดับของการขาดดุลหรือเกินดุลอย่างไร ภายในรอบระยะเวลาหนึ่ง - ทราบถึงฐานะทางการเงินของประเทศว่าขณะนั้นเรามีปริมาณเงินตราต่างประเทศมากน้อยเพียงใดและมีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นหรือลดลงเท่าใด - ทราบถึงรายการแลกเปลี่ยนทางเศรษฐกิจกับต่างประเทศ ข้อดี : - รัฐบาลปรับเปลี่ยนนโยบายทางเศรษฐกิจให้สอดคล้องและทันสมัยกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป - สามารถนำไปใช้วางนโยบายการค้าและการเงินระหว่างประเทศให้เหมาะสม

11 องค์ประกอบของบัญชีดุลการชำระเงิน

12 ดุลการชำระเงิน ( Balance of Payment) ประกอบด้วย
บัญชีเงินทุน หรือ บัญชีทุน หรือ บัญชีทุนเคลื่อนย้าย ( Capital and Financial Account ) ดุลบัญชีเดินสะพัด ( Current Account ) ดุลการชำระเงิน ( Balance of Payment) ประกอบด้วย รายการความผิดพลาดคลาดเคลื่อน ( Errors and Omissions ) เงินสำรองระหว่างประเทศ ( International Reserve Account )

13 องค์ประกอบของบัญชีดุลการชำระเงิน ถ้าแบ่ง เป็น 3 บัญชีหลัก
ดุลบัญชีเดินสะพัด (Current Account) ดุลบัญชีทุนและการเงิน หรือ บัญชีทุน หรือ บัญชีทุนเคลื่อนย้าย (Capital and Financial Account) ดุลบัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศ (International Reserve Account) รายการสถิติคลาดเคลื่อน (Errors and Omissions)

14 องค์ประกอบของบัญชีดุลการชำระเงิน ดุลบัญชีเดินสะพัด (Current Account)
1.บัญชีการค้า ( ส่งออก-นำเข้า ) ดุลบัญชีเดินสะพัด (Current Account) ดุลบัญชีทุนและการเงิน หรือ บัญชีทุน หรือ บัญชีทุนเคลื่อนย้าย (Capital and Financial Account) ดุลบัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศ (International Reserve Account) รายการสถิติคลาดเคลื่อน (Errors and Omissions) 2. บัญชีบริการ ( ท่องเที่ยว + บริการต่าง ๆ ) 3.ดุลรายได้ (Income) 4. บัญชีบริจาค หรือ เงินโอน ( บริจาค+โอนเงินระหว่างประเทศ )

15 ดุลการชำระเงิน ( Balance of Payment) ประกอบด้วย
บัญชีเงินทุน หรือ บัญชีทุน หรือ บัญชีทุนเคลื่อนย้าย ( Capital and Financial Account ) ดุลบัญชีเดินสะพัด ( Current Account ) ดุลการชำระเงิน ( Balance of Payment) ประกอบด้วย ดุลบัญชีเงินโอนและบริจาค  ( Unrequited Transfer Account ) รายการความผิดพลาดคลาดเคลื่อน ( Errors and Omissions ) เงินสำรองระหว่างประเทศ ( International Reserve Account )

16 องค์ประกอบของบัญชีดุลการชำระเงิน ถ้าแบ่ง เป็น 4 บัญชีหลัก
ดุลบัญชีเดินสะพัด (Current Account) ดุลบัญชีทุนและการเงิน หรือ บัญชีทุน หรือ บัญชีทุนเคลื่อนย้าย (Capital and Financial Account) ดุลบัญชีเงินโอนและบริจาค  (Unrequited Transfer Account) ดุลบัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศ (International Reserve Account) รายการสถิติคลาดเคลื่อน (Errors and Omissions)

17 องค์ประกอบของบัญชีดุลการชำระเงิน ดุลบัญชีเดินสะพัด (Current Account)
1.บัญชีการค้า ( ส่งออก-นำเข้า ) ดุลบัญชีเดินสะพัด (Current Account) ดุลบัญชีทุนและการเงิน หรือ บัญชีทุน หรือ บัญชีทุนเคลื่อนย้าย (Capital and Financial Account) ดุลบัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศ (International Reserve Account) ดุลบัญชีเงินโอนและบริจาค  (Unrequited Transfer Account) รายการสถิติคลาดเคลื่อน (Errors and Omissions) 2. บัญชีบริการ ( ท่องเที่ยว + บริการต่าง ๆ ) 3.ดุลรายได้ (Income)

18 1. ดุลบัญชีเดินสะพัด ( Current Account )

19 1) ดุลบัญชีเดินสะพัด (Current Account)
ประกอบด้วย 4 ดุลบัญชีย่อย ดุลการค้า (Trade Balance) 2. ดุลบริการ (Net Service) 3. ดุลรายได้ (Income) 4. ดุลเงินโอนและบริจาค (Current Transfers)

20 บัญชีเดินสะพัด ( Current Account )
ประกอบด้วย ดุลการค้า ( Trade Balance ) ดุลเงินโอนและบริจาค ( Current Transfers ) ดุลบริการ ( Net Service ) ดุลรายได้ ( Income )

21 บัญชีเดินสะพัด ( Current Account ) ประกอบด้วย
คือ การบันทึกรายการสินค้านำเข้าและส่งออกของประเทศ ดุลการค้าเกินดุล ดุลการค้าสมดุล ดุลการค้าขาดดุล คือ การบันทึกรายการรับและให้บริการทางด้าน เช่น การขนส่ง ท่องเที่ยว การบริการของรัฐ และการบริการอื่น ๆ ส่งออก > นำเข้า ส่งออก = นำเข้า ดุลการค้า (Trade Account) ดุลบริการ (Service Account) ส่งออก < นำเข้า ดุลการค้า และ บริการ บัญชีเดินสะพัด ( Current Account ) ประกอบด้วย ดุลเงินโอนและบริจาค ( Current Transfers ) ดุลรายได้ ( Income Account ) รายได้รับจากแรงงานที่ไปทำงานต่างประเทศ , รายได้จากการลงทุน ส่วนรายจ่ายนั้นจะเกี่ยวกับส่วนของทุนและหนี้สิน เช่น การจ่ายเงินปันผล การบันทึกรายการให้เปล่าที่เป็นตัวเงินและสิ่งของ เช่น - การส่งเงินกลับมาให้ญาติ - การส่งเงินไปให้บุตรหลานที่เรียนในต่างประเทศ

22 1) ดุลบัญชีเดินสะพัด (Current Account)
ประกอบด้วย 4 บัญชีย่อย 1. บัญชีดุลการค้า (Trade Account) รายการนำเข้าส่งออก สินค้า ของประเทศ 2. บัญชีดุลบริการ (Service Account) รายการรับและให้บริการ ทางด้านการขนส่ง ท่องเที่ยว การบริการของรัฐ และการบริการอื่น ๆ 3. บัญชีดุลรายได้ (Income Account) 3.1) ผลตอบแทนจากการจ้างงาน ในรูปของ ค่าจ้าง เงินเดือน ดอกเบี้ย เงินปันผล สวัสดิการต่าง ๆ ซึ่งเป็นรายได้รับจากแรงงานที่ไปทำงานต่างประเทศ (เมื่อส่งกลับมาเมืองไทย) ) รายได้จากการลงทุนในต่างประเทศ(ผลตอบแทนที่ได้รับจากการถือครองทรัพย์สินทางการเงินในต่างประเทศ ) การลงทุนในหลักทรัพย์(หุ้น) และการลงทุนอื่นๆ 4. บัญชีดุลเงินโอนและบริจาค (Transfer Payment Account) รายการให้เปล่า ทั้งรับและจ่าย เป็นตัวเงินและสิ่งของ เช่น การส่งเงินกลับมาให้ญาติ , การส่งเงินไปให้บุตรหลานที่เรียนในต่างประเทศ หมายถึงสิ่งของที่สามารถจับต้องได้  เช่น ข้าว  น้ำมัน  เครื่องใช้ไฟฟ้า เสื้อผ้า เป็นต้น -  บริการขนส่ง  ซึ่งรวมถึงค่าระวางสินค้าและค่าประกันภัยในการขนส่งระหว่างประเทศ  และค่าโดยสารเดินทางระหว่างประเทศ -  บริการท่องเที่ยว  ซึ่งรวมถึงการใช้จ่ายของนักท่องเที่ยวในต่างประเทศ  เช่น ค่าใช้จ่ายด้านอาหาร   ที่พัก  ของที่ระลึก  และการเดินทางภายในประเทศ -  บริการธุรกิจและวิชาชีพต่างๆ ซึ่งมีความหลากหลายมาก รายการที่สำคัญสำหรับประเทศไทยได้แก่  ค่าสื่อสารโทรคมนาคม (โทรศัพท์ระหว่างประเทศ)   ค่ารับเหมาก่อสร้าง  ค่าเครื่องหมายสารค้า  ค่าลิขสิทธิ์

23 2. ดุลบัญชีทุนและการเงิน หรือ บัญชีทุน หรือ บัญชีทุนเคลื่อนย้าย (Capital and Financial Account)

24 ดุลบัญชีทุนและการเงิน หรือ บัญชีทุน หรือ บัญชีทุนเคลื่อนย้าย
เป็นบัญชีที่บันทึกด้านการเงินระหว่างประเทศที่มีการเคลื่อนย้ายทุนและหนี้สินระหว่างประเทศ (ทั้งทุนไหลเข้าและออก) คือ เงินทุนไหลเข้า - เงินทุนไหลออก

25 2) ดุลบัญชีทุนและการเงิน หรือ บัญชีทุน หรือ บัญชีทุนเคลื่อนย้าย
ประกอบด้วย เงินทุนเอกชน - เงินลงทุนโดยตรง - เงินลงทุนในหลักทรัพย์ - เงินกู้ยืม - สินเชื่อการค้า เงินทุนรัฐบาล (เงินทุนทางการ) เงินกู้จากต่างประเทศ - สินเชื่อจากต่างประเทศ

26 ดุลบัญชีทุนและการเงิน หรือ ดุลบัญชีบัญชีทุน หรือ ดุลบัญชีบัญชีทุนเคลื่อนย้าย หรือ ดุลบัญชีเงินทุน
ประกอบด้วย 1.บัญชีทุน (Capital Account) 2. บัญชีการเงิน (Financial account)

27 2) ดุลบัญชีทุนและการเงิน หรือ บัญชีทุน หรือ บัญชีทุนเคลื่อนย้าย
ประกอบด้วย 2 ดุลบัญชี ดุลบัญชีทุน (Capital Account) 2. ดุลบัญชีการเงิน (Financial account)

28 2) ดุลบัญชีทุนและการเงิน หรือ บัญชีทุน หรือ บัญชีทุนเคลื่อนย้าย
1. บัญชีทุน (Capital Account) รายรับและรายจ่ายที่เกิดจากการเคลื่อนย้ายเงินทุน ทั้งในรูปตัวเงินและไม่ใช่ตัวเงิน เช่น การซื้อขายและโอนสิทธิ์ ในสินทรัพย์ถาวร (เช่น ที่ดิน บ้านอยู่อาศัย) การยกเลิกหนี้สิน เป็นต้น 2. บัญชีการเงิน (Financial account) รายการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงิน ประกอบด้วย การลงทุนทางตรง การลงทุนในหลักทรัพย์ การลงทุนอื่นๆ เงินทุนโดยตรง (Direct Investment) เงินทุนในหลักทรัพย์( Portfolio Investment) เงินทุนประเภทอื่น (Other Investment)

29 จากการลงทุนของนักลงทุน
2) ดุลบัญชีทุนและการเงิน หรือ บัญชีทุน หรือ บัญชีทุนเคลื่อนย้าย 1. เงินลงทุนโดยตรง (Direct Investment) คือ รายการที่มีการเคลื่อนย้ายลงทุนไปยังอีกประเทศหนึ่งเพื่อหวังผลระยะยาว เช่น การสร้างโรงงาน 2. เงินลงทุนในหลักทรัพย์ (Portfolio Investment) ทั้งระยะสั้นและระยะยาว 3. เงินทุนประเภทอื่น ๆ (Other Investment) คือ รายการสินเชื่อทางการค้า เงินกู้ยืม และบัญชีเงินฝากระหว่างประเทศ จากการลงทุนของนักลงทุน

30 3. ดุลบัญชีเงินโอนและบริจาค (Unrequited Transfer Account)
** บางครั้งบัญชีนี้ถูกนำไปอยู่ในบัญชีย่อยของดุลบัญชีเดินสะพัด **

31 3) ดุลบัญชี ดุลบัญชีเงินโอนและบริจาค
- เงินโอนภาครัฐบาล ( Government Transfer ) - เงินโอนภาคเอกชน ( Private Transfer ) - ผลตอบแทนจากการจ้างงาน ในรูปของ ค่าจ้าง เงินเดือน ดอกเบี้ย เงินปันผล สวัสดิการต่าง ๆ ซึ่งเป็นรายได้รับจากแรงงานที่ไปทำงานต่างประเทศ (เมื่อส่งกลับมาเมืองไทย) - รายได้จากการลงทุนในต่างประเทศ(ผลตอบแทนที่ได้รับจากการถือครองทรัพย์สินทางการเงินในต่างประเทศ ) การลงทุนในหลักทรัพย์(หุ้น) และการลงทุนอื่นๆ - รายการให้เปล่า ทั้งรับและจ่าย เป็นตัวเงินและสิ่งของ เช่น การส่งเงินกลับมาให้ญาติ , การส่งเงินไปให้บุตรหลานที่เรียนในต่างประเทศ บันทึกรายการเกี่ยวกับเงินบริจาค เงินช่วยเหลือ และเงินโอนต่างๆ ระหว่างประเทศ โดยเอกชน หรือรัฐบาล รวมถึงรายการที่อยู่ในรูปของสิ่งของด้วย

32 4. ดุลบัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศ (International Reserve Account)

33 ดุลบัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศ คืออะไร
คือ สินทรัพย์ต่างประเทศที่ถือครองหรือควบคุมโดยธนาคารกลางและสามารถนำ มาใช้ประโยชน์ทันทีที่จำเป็น คือ ยอดที่แสดงการเปลี่ยนแปลงในปริมาณทุนสำรองเงินตราต่างประเทศของประเทศ ในรอบระยะเวลาหนึ่ง ซึ่งเกิดจากการปรับความแตกต่างระหว่างยอดรวมทางด้านรายรับและรายจ่ายเงินตราต่างประเทศ ของทั้งบัญชีเดินสะพัดและบัญชีทุนเคลื่อนย้ายของประเทศนั้น ๆ บัญชีแสดงการเปลี่ยนแปลงปริมาณทุนสำรองเงินตราและ สินทรัพย์ต่างประเทศที่ถือครองโดย ธนาคารกลาง

34 ทรัพย์สินที่ถือเป็นทุนสำรองระหว่างประเทศ
ทุนสำรองของประเทศจะประกอบด้วย ทองคำ (Monetary Gold) เงินตราต่างประเทศสกุลหลัก (Foreign Exchange) หลักทรัพย์รัฐบาล 3. สิทธิพิเศษในการถอนเงิน (Special Drawing Rights : SDRs) 4. สินทรัพย์สมทบ IMF(เงินสำรองที่มีอยู่ที่ IMF ) (Net IMF Account) (สินเชื่อจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศ) SDRs คือเงินที่ออกโดยกองทุนการเงินระหว่างประเทศเพื่อใช้ระหว่างประเทศสมาชิกเป็นทางการ เสมือนหนึ่งเป็นเงินฝากประจำ SDR’s 1 หน่วย เทียบเท่าทองคำ กรัม แต่จะแลกเปลี่ยนเป็นทองคำไม่ได้

35 ทรัพย์สินที่ถือเป็นทุนสำรองระหว่างประเทศ
ทุนสำรองของประเทศจะประกอบด้วย ทองคำ (Monetary Gold) ที่ฝากไว้กับกองทุนการเงินระหว่างประเทศ และธนาคารกลางของประเทศ เงินตราต่างประเทศสกุลหลัก (Foreign Exchange) ที่ดำรงอยู่ที่ธนาคารกลางและธนาคารพาณิชย์ หลักทรัพย์รัฐบาล 3. สิทธิพิเศษในการถอนเงิน (Special Drawing Rights : SDRs) 4. สินทรัพย์สมทบ IMF(เงินสำรองที่มีอยู่ที่ IMF ) (Net IMF Account) (สินเชื่อจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศ)

36 ความสำคัญของเงินทุนสำรองระหว่างประเทศ
- แสดงการเปลี่ยนแปลงฐานะการเงินระหว่างประเทศของประเทศหนึ่งๆ - เป็นทุนหนุนหลังการออกธนบัตร(พิมพ์ธนบัตร) - รักษาสภาพคล่องในการชำระหนี้ระหว่างประเทศ - รักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ - ใช้เป็นทุนรักษาอัตรา แลกเปลี่ยนเงินตรา ต่างประเทศ เพื่อให้อัตรา แลกเปลี่ยนมีเสถียรภาพ โดยทั่วไปธนาคารกลางจะถือสินทรัพย์เงินสำรองไว้จำนวนหนึ่งเพื่อ “หนุนหลัง” การผลิตธนบัตรซึ่งถือเป็นหนี้สินประเภทหนึ่งของธนาคารกลาง  และธนาคารกลางจะซื้อขายสินทรัพย์เงินสำรองในตลาดเงินตรา(หรือ “แทรงแซงตลาด”)  เพื่อให้เกิดผลต่อสภาวะเศรษฐกิจ   โดยอาจมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงปริมาณเงินหรืออัตราแลกเปลี่ยน

37 ความสัมพันธ์ดุลชำระเงิน กับ เงินทุนสำรองระหว่างประเทศ
บัญชีดุลการชำระเงิน (Balance of Payment) : BOP = บัญชีเดินสะพัด + บัญชีทุนเคลื่อนย้าย + สถิติคลาดเคลื่อน + บัญชีทุนสำรอง (X-M) + (CI-CO) + (Error and Omission) X = การส่งออกสินค้าและบริการ M = การนำเข้าสินค้าและบริการ CI = เงินทุนไหลเข้า CO = เงินทุนไหลออก ยอดของดุลการชำระเงิน (เกิน หรือ ขาด) จะมีผลต่อการเพิ่มหรือลดของเงินทุนสำรองระหว่างประเทศ ด้วย

38

39 รายการสถิติคลาดเคลื่อน (Errors and Omission)

40 รายการสถิติคลาดเคลื่อน (Errors and Omission)
เกิดจากความผิดพลาดในการรวบรวมข้อมูล หรือ การเก็บข้อมูลที่ไม่ครบถ้วนเนื่องจากอุปสรรคและปัญหาต่าง ๆ เช่น การลักลอบสินค้าหนีภาษี การค้ายาเสพติด การฟอกเงิน การจัดเก็บตัวเลขที่นักท่องเที่ยวใช้จ่ายในประเทศไทย เป็นตัวเลขที่เกิดจากการปรับค่ารายการดุลการชำระเงินให้มีความถูกต้องมากยิ่งขึ้น ซึ่งความผิดพลาดที่อาจเกิดจากการเก็บข้อมูล

41 ดุลการชำระเงิน ( Balance of Payments) ประกอบด้วย
เงินลงทุนในหลักทรัพย์ (Portfolio Investment) เงินทุนประเภทอื่น ๆ (Other Investment) เงินลงทุนโดยตรง (Direct Investment) เงินโอนภาคเอกชน ( Private Transfer ) เงินโอนภาครัฐบาล ( Government Transfer ) 1.บัญชีทุน (Capital Account) 2. บัญชีการเงิน (Financial account) 4. บัญชีบริจาค หรือ เงินโอน ( บริจาค+โอนเงินระหว่างประเทศ ) บัญชีเงินทุน หรือ บัญชีทุน หรือ บัญชีทุนเคลื่อนย้าย หรือ บัญชีทุนและการเงิน ( Capital and Financial Account ) 3.ดุลรายได้ (Income) ดุลบัญชีเดินสะพัด ( Current Account ) ดุลการชำระเงิน ( Balance of Payments) ประกอบด้วย 2. บัญชีบริการ ( ท่องเที่ยว + บริการต่าง ๆ ) 1.บัญชีการค้า ( ส่งออก-นำเข้า ) รายการความผิดพลาดคลาดเคลื่อน ( Errors and Omissions ) เงินสำรองระหว่างประเทศ ( International Reserve Account )

42 ดุลการชำระเงิน ( Balance of Payments) ประกอบด้วย
เงินลงทุนในหลักทรัพย์ (Portfolio Investment) เงินทุนประเภทอื่น ๆ (Other Investment) เงินลงทุนโดยตรง (Direct Investment) เงินโอนภาคเอกชน ( Private Transfer ) เงินโอนภาครัฐบาล ( Government Transfer ) 1.บัญชีทุน (Capital Account) 2. บัญชีการเงิน (Financial account) บัญชีเงินทุน หรือ บัญชีทุนเคลื่อนย้าย หรือ บัญชีทุน หรือ บัญชีทุนและการเงิน (Capital and Financial Account) บัญชีบริจาค หรือ เงินโอน (Unrequited Transfer Account) 3.ดุลรายได้ (Income) ดุลการชำระเงิน ( Balance of Payments) ประกอบด้วย ดุลบัญชีเดินสะพัด ( Current Account ) 2. บัญชีบริการ ( ท่องเที่ยว + บริการต่าง ๆ ) 1.บัญชีการค้า ( ส่งออก-นำเข้า ) รายการความผิดพลาดคลาดเคลื่อน ( Errors and Omissions ) เงินสำรองระหว่างประเทศ ( International Reserve Account )

43 ดุลการค้า = รายได้การนำเข้า-ส่งออกสินค้า
ดุลบริการ = ก็นึกถึงเรื่องการบริการ โดยเฉพาะเรื่องของการท่องเที่ยว และค่าขนส่ง ดุลรายได้และเงินโอน = รายได้จากการไปทำงานในต่างแดน และการโอนเงินบริจาค ดุลบัญชีเดินสะพัด = ดุลการค้า + ดุลบริการ + ดุลรายได้ + เงินโอน ดุลบัญชีเงินทุนเคลื่อนย้าย = การเดินทางของเงินทุน เช่น ลงทุนในตลาดหุ้น การเอาเงินมาลงทุนเปิดกิจการโรงงาน เป็นต้น ดุลการชำระเงิน = ดุลบัญชีเดินสะพัด + ดุลบัญชีเงินทุนเคลื่อนย้าย การเปลี่ยนแปลงในดุลการชำระเงิน = การเปลี่ยนแปลงในบัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศ + ความผิดพลาดคลาดเคลื่อนทางสถิติ

44 ลักษณะของความสัมพันธ์ของ “ ดุลการค้า ” และ “ ดุลการชำระเงิน “ และ “ ทุนสำรองระหว่างประเทศ “

45 (เงินไหลเข้ามาเท่ากับไหลออก)
ความหมายของการขาดดุลและเกินดุลในดุลการชำระเงินระหว่างประเทศ (Deficit and Surplus in Balance of Payment) ในบัญชีดุลการชำระเงินระหว่างประเทศ อาจมีรายการที่ทำให้เงินตราไหลออกไม่เท่ากับเงินตราไหลเข้า ซึ่งเรียกว่า ความไม่สมดุล หรือ ไม่ได้ดุล ในบัญชีดุลการชำระเงิน ทั้งนี้การเกินดุล และขาดดุลในบัญชีดุลการชำระเงินนี้นี้จะถูกชดเชยให้หมดไปโดยบัญชีที่ เรียกว่า “ บัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศ “ 1. ดุลการชำระเงินเกินดุล (Surplus Balance of Payment) (เงินไหลเข้ามามากว่าไหลออก) 2. ดุลการชำระเงินขาดดุล (Deficit Balance of Payment) (เงินไหลออกมากกว่าไหลเข้า) 3. ดุลการชำระเงินสมดุล (Balanced Balance of Payment) (เงินไหลเข้ามาเท่ากับไหลออก)

46 ดังนั้น : ดุลบัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศจะแตกต่างจากบัญชีอื่นๆ เพราะการเพิ่มขึ้น หรือ ลดลงของการเกินดุลบัญชีเดินสะพัด และ บัญชีเงินทุน จะส่งผลต่อการทุนสำรองระหว่างประเทศ ในกรณีที่ดุลการชำระเงินขาดดุล จะต้องนำเอาส่วนหนึ่งส่วนใดของทุนสำรองระหว่างประเทศมาชดเชยส่วนที่ขาดดุลและทำให้เงินทุนสำรองลดลงจากเดิม ดุลการชำระเงิน ขาดดุล (ลด) ทุนสำรองระหว่างประเทศ (ลด) ในกรณีที่ดุลการชำระเงินเกินดุล ผลที่เกิดขึ้นในบัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศ จะทำให้เงินทุนสำรองเพิ่มขึ้นจากเดิม ดุลการชำระเงิน เกินดุล (เพิ่ม) ทุนสำรองระหว่างประเทศ (เพิ่ม)

47 ดุลบัญชีทุนและการเงิน ดุลบัญชีทุนและการเงิน
ดุลบัญชีดุลการชำระเงิน เกินดุลสุทธิ ดุลบัญชีดุลการชำระเงิน ขาดดุลสุทธิ ดุลบัญชีเดินสะพัด เงินไหลเข้า > เงินไหลออก เท่ากับ 2 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ดุลบัญชีเดินสะพัด เงินไหลเข้า < เงินไหลออก เท่ากับ 5 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ดุลบัญชีทุนและการเงิน เงินไหลเข้า < เงินไหลออก เท่ากับ 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ดุลบัญชีทุนและการเงิน เงินไหลเข้า > เงินไหลออก เท่ากับ 2 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ เงินตราไหลเข้า เพิ่มขึ้น 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ เงินตราไหลออก ลดลง 3 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ดุลบัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศเพิ่มขึ้น 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ดุลบัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศ ลดลง 3 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ

48 - + ดุลบัญชีเดินสะพัด ดุลบัญชีเดินสะพัด ดุลบัญชีทุนและการเงิน
ดุลการชำระเงินเกินดุล (รายรับ > รายจ่าย) ดุลการชำระเงินขาดดุล (รายรับ < รายจ่าย) ทุนสำรองระหว่างประเทศ ( เงินทุนสำรองระหว่างประเทศ ) เพิ่มขึ้น ไทยจะถือครองเงินตราต่างประเทศในมือมากขึ้น ทุนสำรองระหว่างประเทศ ( เงินทุนสำรองระหว่างประเทศ ) ลดลง เงินทุนสำรองระหว่างประเทศจะถูกนำไปใช้เพื่อชดเชยการขาดดุลการชำระเงิน

49 อย่าสับสน / แยกแยะ คำต่อไปนี้
ดุลบัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศ ( ชื่อเรียก 1 ในฐานะ 3 บัญชีของบัญชีดุลการชำระเงิน ) ทุนสำรองระหว่างประเทศ (จำนวนเงิน / ปริมาณเงิน) บัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศ (ชื่อในทางการเขียนทางการบัญชี)

50

51 หลักการเขียนในทางบัญชี
บัญชีรายการ 2 บัญชี ( บัญชีเดินสะพัด + บัญชีทุน) รวมกันแล้ว ดุลการชำระเงินเกินดุล เงินไหลเข้า > เงินไหลออก เงินทุนสำรองระหว่างประเทศเพิ่มขึ้น บัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศติดลบ เงินไหลเข้า < เงินไหลออก ดุลการชำระเงินขาดดุล เงินทุนสำรองระหว่างประเทศลดลง บัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศเป็นบวก

52 ถ้า บัญชีเดินสะพัด และ บัญชีทุนเคลื่อนย้ายมียอดสุทธิเป็นเครดิต(+) หมายความว่าประเทศมีรายรับที่เป็นเงินตราต่างประเทศมากกว่ารายจ่าย หรือ ประเทศมีดุลการชำระเงินเกินดุล เพื่อให้ยอดบัญชีดุลการชำระเงินสมดุลบัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศต้องมียอดเป็นเดบิต(-) นั่นคือ จะทำให้ทุนสำรองระหว่างประเทศเพิ่มขึ้น ถ้า บัญชีเดินสะพัด และ บัญชีทุนเคลื่อนย้ายมียอดสุทธิเป็นเดบิท(-) หมายความว่าประเทศมีรายจ่ายที่เป็นเงินตราต่างประเทศมากกว่ารายรับ หรือ ประเทศมีดุลการชำระเงินขาดดุล เพื่อให้ยอดบัญชีดุลการชำระเงินสมดุล บัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศต้องมียอดเป็นเครดิต(+) นั่นคือ จะทำให้ทุนสำรองระหว่างประเทศลดลง

53 วิธีการบันทึกรายการในทางบัญชี
ใช้หลักบัญชีคู่ (Double Bookkeeping Entry) ดังนี้ 1. รายการที่ได้รับเงินตราต่างประเทศเข้าประเทศ จะบันทึกรายการทางด้านเครดิต(Credit) และมีเครื่องหมายเป็นบวก Dr. ทุนสำรองระหว่างประเทศ (การบันทึกในทางบัญชีเป็น - ) Cr. รายการที่ได้รับเงินตราต่างประเทศ (การบันทึกในทางบัญชีเป็น + ) ตัวอย่าง : บริษัทไทยส่งออกอัญมณีไปต่างประเทศมูลค่า 400 ล้านบาท Dr. ทุนสำรองระหว่างประเทศ 400 ล้านบาท ( ล้านบาท ) Cr. บัญชีเดินสะพัด (สินค้าออก) 400 ล้านบาท ( ล้านบาท ) 2. รายการที่สูญเสียเงินตราต่างประเทศออกนอกประเทศ จะบันทึกรายการทางด้านเดบิต(Debit)และมีเครื่องหมายเป็นลบ Dr. รายการที่สูญเสียเงินตราต่างประเทศ (การบันทึกในทางบัญชีเป็น - ) Cr. ทุนสำรองระหว่างประเทศ (การบันทึกในทางบัญชีเป็น + ) ตัวอย่าง : ธนาคารพาณิชย์ไทยชำระหนี้สินให้กับเจ้าหนี้ธนาคารพาณิชย์ในต่างประเทศ 500 ล้านบาท Dr. ทุนเคลื่อนย้าย(ภาคเอกชน) 500 ล้านบาท ( ล้านบาท ) Cr. ทุนสำรองระหว่างประเทศ ล้านบาท ( ล้านบาท )

54 1. ดุลบริการและรายได้เกินดุล 1000 ล้านบาท
ถ้าประเทศ ก มีดุลการค้าเท่ากับ 2000 ล้านบาท ดุลบัญชีเดินสะพัดเท่ากับ 3000 ล้านบาท ดุลบัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศเท่ากับ 1000 ล้านบาท ข้อใดกล่าวได้ถูกต้อง (A’net ปี 51) 1. ดุลบริการและรายได้เกินดุล 1000 ล้านบาท 2. ดุลการค้าและบริการเกินดุล 3000 ล้านบาท 3. ดุลบัญชีทุนขาดดุลเท่ากับ 2000 ล้านบาท 4. ดุลการชำระเงินขาดดุลเท่ากับ 1000 ล้านบาท เฉลย : ให้ทั้ง 1. และ 4. เป็นข้อถูก โจทย์กำหนด ดุลบัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศเท่ากับ 1,000 ล้านบาท แสดงว่าดุลชำระเงินต้องขาดดุล 1,000 ล้านบาท เนื่องจาก ถ้าดุลการชำระเงินขาดดุล เงินทุนสำรองระหว่างประเทศจะลดลง ถ้าดุลการชำระเงินเกินดุล เงินทุนสำรองระหว่างประเทศจะเพิ่มขึ้น ในทางบัญชีกับในทางเลขคณิตศาสตร์ บางทีเครื่องหมาย ( - ) แปลความหมายไม่เหมือนกัน เพราะในทางบัญชี การ ( - ) ออก อาจไม่ได้แปลว่า เราขาดทุนหรือขาดดุล แต่แปลว่า "ยอดยกไป" หรือตัดไป เช่น X+3 = 5 การหาค่า x ก็ต้องเอา -3 ใส่เข้าไปทั้งซ้ายและขวา นึกออกไหม เพื่อให้มันเท่ากัน เพราะฉะนั้น x = = 2 เพราะฉะนั้น ( - ) ไม่ได้แปลว่าขาดทุน มันทำทั้ง 2 ข้าง เพื่อให้ได้สมการที่เราต้องการ ( - ) ในทางการบัญชี เวลายอดบัญชีดุลชำระเงินเกินดุล เช่น แต่เวลาเราจะยกไปปีต่อไป เท่ากับเราต้อง (- เลยไม่ได้แปลว่าติดลบ แต่แปลว่า ยกไป) ซึ่ง นี่เขาเรียกเป็นชื่อบัญชีว่า “ บัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศ “ ซึ่งจะต้องมียอดที่มีเครื่องหมายตรงข้ามกับ"บัญชีดุลการชำระเงิน"(ยกเว้นเป็น 0) - สังเกตดีดีว่า ข้อนี้โจทย์เค้าใช้คำว่า ดุลบัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศเท่ากับ 1000 ล้านบาท คือ +1,000 ล้าน นั่นก็หมายความว่า ดุลการชำระเงินต้องมีเครื่องหมายตรงข้ามคือ -1,000 ล้าน คือ ขาดดุลการชำระเงิน 1,000 ล้าน - ส่วนที่เข้าใจว่าดุลการชำระเงินเป็นบวก(เกินดุล) ทุนสำรองระหว่างประเทศ(เงินทุนสำรองระหว่างประเทศ)จะเพิ่มขึ้น เข้าใจถูกแล้ว แต่อย่าสับสน คำว่า บัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศ กับ ทุนสำรองระหว่างประเทศ(จำนวนเงิน) - เวลา ดุลการชำระเงินเป็น + (ทุนสำรองระหว่างประเทศเพิ่มขึ้น) แต่ในทางการเขียนบัญชี “ บัญชี “ ทุนสำรองระหว่างประเทศจะติด ( - ) ข้อนี้ดูดีดีโจทย์ เขาไม่ได้บอกว่าทุนสำรองระหว่างประเทศเพิ่มหรือลด แต่เค้าบอก “ บัญชี “ ทุนสำรองระหว่างประเทศมานะจ๊ะ คำว่า บัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศ กับ ทุนสำรองระหว่างประเทศ อย่าสับสน ต้องอ่านโจทย์ให้เข้าใจ

55 ดุลบัญชีเดินสะพัด (+) ดุลการชำระเงิน ขาดดุล ( - ) หรือ เกินดุล ( + )
ทุนสำรองระหว่างประเทศ เงินทุนสำรองระหว่างประเทศเพิ่มขึ้น / ลดลง บัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศเป็น + หรือ - ดุลบัญชีทุนและการเงิน (-) ดุลบัญชีเดินสะพัด (-) ทุนสำรองระหว่างประเทศ เงินทุนสำรองระหว่างประเทศเพิ่มขึ้น / ลดลง บัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศเป็น + หรือ - ดุลการชำระเงิน ขาดดุล ( - ) หรือ เกินดุล ( + ) ดุลบัญชีทุนและการเงิน (+) ดุลบัญชีเดินสะพัด (+) ดุลการชำระเงิน เกินดุล ( + ) ทุนสำรองระหว่างประเทศ เงินทุนสำรองระหว่างประเทศเพิ่มขึ้น บัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศเป็น - ดุลบัญชีทุนและการเงิน (+) ดุลบัญชีเดินสะพัด (-) ดุลการชำระเงิน ขาดดุล ( - ) ทุนสำรองระหว่างประเทศ เงินทุนสำรองระหว่างประเทศลดลง บัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศเป็น + ดุลบัญชีทุนและการเงิน (-)

56 ดุลบัญชีเดินสะพัด (+) ดุลการชำระเงิน ขาดดุล ( - )
ทุนสำรองระหว่างประเทศ เงินทุนสำรองระหว่างประเทศลดลง บัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศเป็น + ดุลบัญชีทุนและการเงิน (-) ดุลบัญชีเดินสะพัด (+) ทุนสำรองระหว่างประเทศ เงินทุนสำรองระหว่างประเทศเพิ่มขึ้น บัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศเป็น - ดุลการชำระเงิน เกินดุล ( + ) ดุลบัญชีทุนและการเงิน (-) ดุลบัญชีเดินสะพัด (-) ทุนสำรองระหว่างประเทศ เงินทุนสำรองระหว่างประเทศลดลง บัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศเป็น + ดุลการชำระเงิน ขาดดุล ( - ) ดุลบัญชีทุนและการเงิน (+) ดุลบัญชีเดินสะพัด (-) ทุนสำรองระหว่างประเทศ เงินทุนสำรองระหว่างประเทศเพิ่มขึ้น บัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศเป็น - ดุลการชำระเงิน เกินดุล ( + ) ดุลบัญชีทุนและการเงิน (+)

57 ลักษณะของความสัมพันธ์ของ “ ค่าเงินบาท / อัตราแลกเปลี่ยน “ และ “ ทุนสำรองระหว่างประเทศ “

58 ค่าเงินบาทแข็งค่าขึ้น (เงินดอลล่าร์สหรัฐอ่อนค่าลง)
ทุนสำรองระหว่างประเทศ เงินทุนสำรองระหว่างประเทศเพิ่มขึ้น ค่าเงินบาทอ่อนค่าลง (เงินดอลล่าร์สหรัฐแข็งค่าขึ้น) ทุนสำรองระหว่างประเทศ เงินทุนสำรองระหว่างประเทศลดลง

59 การแก้ไขปัญหาการดุลบัญชีการชำระเงินขาดดุล

60 การแก้ไขปัญหาการดุลบัญชีการชำระเงินขาดดุล
การเพิ่มผลผลิตในประเทศ และ ส่งเสริมการส่งออก  ช่วยลดการขาดดุลการค้า เพิ่มอุปทานของเงินในระบบเศรษฐกิจ โดยใช้นโยบายการเงิน เพิ่มปริมาณเงินในระบบเพื่อให้มีเงินในการใช้และการลงทุน ปรับโครงสร้างภาษีอากรให้เอื้อต่อการผลิตในประเทศ  ส่งเสริมการลงทุนและการผลิต ส่งเสริมการลงทุนทั้งในและต่างประเทศ  ให้เงินตราต่างประเทศไหลเข้า จัดหาตลาดในต่างประเทศ  เพิ่มตลาดการส่งออกสินค้า การลดการนำเข้าสินค้าจากต่างประเทศ และส่งเริมให้มาใช้สินค้าที่ผลิตภายในประเทศ  ลดการขาดดุลการค้า ทำให้ดุลบริการเกินดุลมากขึ้น โดยเฉพาะส่งเสริมการท่องเที่ยวภายในประเทศ ทำให้ดุลบัญชีบริการเกินดุล การลดค่าเงินบาท  การส่งออกง่ายขึ้น และ ลดการนำ(ราคาสินค้านำเข้าแพงมากขึ้น)

61 ผลกระทบของการที่ดุลการชำระเงินไม่สมดุล

62 ผลกระทบของความไม่สมดุลของดุลการชำระเงินต่ออัตราแลกเปลี่ยน
1. ประเทศที่ใช้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราแบบคงที่ - รัฐบาลมีหน้าที่ในการบริหารให้ดุลการชำระเงินของประเทศอยู่ในสภาวะสมดุลตลอดเวลา หรือใกล้เคียงกับสภาวะสมดุล - กรณีที่ 1 ดุลการชำระเงินเกินดุล, เงินตราต่างประเทศไหลเข้ามาในประเทศเพิ่มขึ้น, ต้องการเงินสกุลท้องถิ่นมากขึ้น(อุปสงค์ต่อเงินตราต่างประเทศน้อยลง อุปสงค์ต่อเงินสกุลท้องถิ่นมีมากขึ้น), ส่งผลให้เงินสกุลท้องถิ่นจะแข็งค่าขึ้น - กรณีที่ 2 ดุลการชำระเงินขาดดุล, เงินตราต่างประเทศไหลออกนอกประเทศ, มีความต้องการแลกเงินสกุลท้องถิ่นให้เป็นเงินต่างประเทศมากขึ้น (อุปสงค์ต่อเงินตราต่างประเทศมากขึ้น อุปสงค์ต่อเงินสกุลท้องถิ่นมีน้อยลง), ส่งผลให้ค่าเงินสกุลท้องถิ่นจะอ่อนค่าลง กรณีอัตราแลกเปลี่ยนแบบคงที่ - เพื่อรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราให้มีเสถียรภาพ รัฐบาลจะเข้าแทรกแซงค่าเงินโดยการซื้อหรือขายเงินตราสกุลต่างประเทศในตลาดเงินแล้วแต่กรณี - ประเทศทีใช้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบคงที่ จำเป็นต้องมีทุนสำรองที่เป็นเงินตราสกุลต่างประเทศจำนวนมากให้เพียงพอที่จะใช้รักษาค่าเงินตราสกุลของประเทศตนเอาไว้

63 ผลกระทบของความไม่สมดุลของดุลการชำระเงินต่ออัตราแลกเปลี่ยน
2. ประเทศที่ใช้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัว - จะปล่อยให้ค่าเงินสกุลท้องถิ่นของตนเปลี่ยนแปลงไปตามอุปสงค์และอุปทานในตลาด โดยรัฐบาลจะไม่มีหน้าที่ในการรักษาระดับ - ดุลการชำระเงินเกินดุล, เงินตราต่างประเทศไหลเข้ามามาก, ต้องการแลกเป็นเงินสกุลท้องถิ่นมากขึ้น, เงินสกุลท้องถิ่นแข็งตัวขึ้น, ส่งออกลดลง นำเข้าเพิ่มขึ้น ดุลการชำระเงินเกินดุลลดลงในเวลาต่อมา (จะทำให้ดุลการชำระเงินขาดดุลมากขึ้นในที่สุด) - ดุลการชำระเงินขาดดุล เงินตราต่างประเทศไหลออกประเทศมาก, ไม่ต้องการถือครองเงินสกุลท้องถิ่น, เงินสกุลท้องถิ่นอ่อนค่าลง, ส่งออกมากขึ้น ง่ายขึ้น การนำเข้าลดลง ดุลการชำระเงินเกินดุลเพิ่มมากขึ้นในเวลาต่อมา (จะทำให้ดุลการชำระเงินเกินดุลมากขึ้นในที่สุด)

64 ผลกระทบของความไม่สมดุลของดุลการชำระเงินต่ออัตราแลกเปลี่ยน
3. ประเทศที่ใช้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนลอยตัวแบบจัดการ(Managed Float) - ปล่อยให้เป็นไปตามกลไกของอุปสงค์และอุปทานแต่รัฐบาลจะเข้าแทรกแซงบ้างในกรณีที่ต้องการควบคุมความผันผวน - รัฐบาลจะใช้นโยบายการเงินในการแทรกแซง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการปรับอัตราดอกเบี้ยภายในประเทศ เพื่อควบคุมปริมาณการไหลเข้าออกของเงินทุนจากต่างประเทศ เช่น ถ้าประเทศขาดดุล ค่าเงินจะอ่อนค่าลง รัฐบาลจะใช้นโยบายอัตราดอกเบี้ยสูงเพื่อดึงดุดเงินทุนจากต่างประเทศ เพื่อเพิ่มการไหลเข้าของเงินตราต่างประเทศ --- > ค่าเงินแข็งค่าขึ้น --- > ทำให้มีปริมาณทุนสำรองฯ มากขึ้น

65 ความสัมพันธ์ระหว่างดุลการชำระเงินกับอัตราแลกเปลี่ยน
ความสัมพันธ์จะขึ้นอยู่กับว่าประเทศนั้นๆ ใช้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบใด ซึ่งหากเป็นแบบไทยในอดีต ซึ่งใช้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนคงที่ (Fixed Exchange Rate Regime) เวลาเกิดความไม่สมดุลของดุลการชำระเงิน เช่น ขาดดุล หรือเกินดุล ธนาคารกลางหรือรัฐบาลของประเทศมีหน้าที่รักษาเสถียรภาพของอัตราแลกเปลี่ยนให้อยู่ในระดับที่ต้องการจะคงไว้ ดังนั้น เมื่อมีการเกินดุลของดุลการชำระเงิน ธนาคารกลางจะต้องเข้าไปแทรกแซงตลาดอัตราแลกเปลี่ยน โดยการซื้อเงินตราต่างประเทศที่เกินดุลนั้นขึ้นมา เพื่อรักษาสมดุลในตลาดอัตราแลกเปลี่ยนระหว่างอุปสงค์และอุปทาน ในกรณีนี้เงินทุนสำรองระหว่างประเทศจะปรับสูงขึ้น ส่วนในกรณีที่ดุลการชำระเงินขาดดุล ธนาคารกลางหรือรัฐบาลก็ทำในลักษณะตรงกันข้าม หากใช้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนลอยตัว (Floating Exchange Rate Regime) เมื่อเกิดความไม่สมดุลของดุลการชำระเงิน อัตราแลกเปลี่ยนจะเปลี่ยนแปลงโดยอัตโนมัติตามการทำงานของกลไกตลาด เช่น ในกรณีที่ดุลการชำระเงินเกินดุล หมายถึงมีเงินตราต่างประเทศเข้ามามาก ค่าเงินของประเทศนั้น ๆ ก็จะมีค่าแข็งขึ้น ซึ่งจะมีผลทำให้การส่งออกลดลง ขณะที่การนำเข้าจะเพิ่มขึ้น ซึ่งจะมีผลทำให้ดุลการชำระเงินเกินดุลลดลง และค่อย ๆ ปรับเข้าสู่ดุลยภาพ โดยธนาคารกลางไม่จำเป็นต้องใช้มาตรการแทรกแซงเพื่อให้อัตราแลกเปลี่ยนกลับเข้าสู่ดุลยภาพเช่นในกรณีของระบบอัตราแลกเปลี่ยนคงที่ หากใช้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนลอยตัวแบบมีการจัดการ (Managed-Floating Exchange Rate Regime) ซึ่งเป็นแบบกึ่งลอยตัว กึ่งมีการจัดการกับอัตราแลกเปลี่ยน โดยธนาคารกลางอาจจะปล่อยให้มีการปรับตัวตามกลไกตลาดในบางช่วง แต่บางช่วง หากเห็นว่ามีความไม่สมดุลในดุลการชำระเงิน ก็อาจจะเลือกที่จะเข้ามาจัดการดูแลอัตราแลกเปลี่ยนได้

66 ผลกระทบของดุลการชำระเงินต่ออัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ
ขึ้นอยู่กับระบบการเงินระหว่างประเทศว่าใช้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบไหน แบบคงที่ ลอยตัว ลอยตัวแบบมีการจัดการ คงที่ ต้องมีทุนสำรองจำนวนมาก ลอยตัว เปลี่ยนแปลงตามอุปสงค์ อุปทาน ของเงินตรา ลอยตัวแบบมีการจัดการ เปลี่ยนแปลงตามอุปสงค์ อุปทาน รัฐบาลเข้าแทรกแซงค่าเงินบางครั้ง

67 ผลกระทบของการที่ดุลการชำระเงินไม่สมดุล
- ฐานะทุนสำรองระหว่างประเทศ ถ้าดุลการชำระเงินขาดดุลแสดงว่าทุนสำรองระหว่างประเทศลดลง ถ้าดุลการชำระเงินเกินดุลแสดงว่าทุนสำรองระหว่างประเทศเพิ่มขึ้น - ฐานะหนี้สินระหว่างประเทศ - ความคล่องตัวของระบบเศรษฐกิจระหว่างประเทศ - ระบบเศรษฐกิจขาดเสถียรภาพ


ดาวน์โหลด ppt ดุลการชำระเงิน Balance of Payments Taweesak Gunyochai : Satit UP

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google