การเรียนรู้โดยใช้โครงการเป็นฐาน (Project based Learning : PBL) วิทยา ใจวิถี ผู้อำนวยการศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษาภาคเหนือ wittaya2503@gmail.com, 081 – 764 – 3448
นโยบาย ของรองเลขาธิการ กอศ. นายวณิชย์ อ่วมศรี ฝากถึงผู้เข้าร่วมการประชุม … J.Wittaya …
มีคนมาร่วมโครงการจำนวนมาก แสดงว่าโครงการน่าสนใจมาก ขอให้ทำงานเป็นทีม มีเครือข่าย ในวิทยาลัยหนึ่งๆ ที่มาวันนี้ ให้เป็นครูแกน เพื่อถ่ายทอดคนอื่นๆ ได้ ขอให้ศึกษานิเทศก์ ทุกคน เป็นพี่เลี้ยง ขอให้ ผอ.ผู้อาวุโส อ.ชัยชุมพล และโดยเฉพาะ อ.สุภาภรณ์ เป็นพี่เลี้ยงและการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง ขอให้มีการคัดเลือก เฉพาะผลงานที่เด่นๆ มานำเสนอในวันที่ 5 - 6 สิงหาคม 2557 ขอให้รวบรวมเป็นรายวิชา ที่ทำงาน PBL เพื่อใช้เป็นต้นแบบของรายวิชาต่างๆ ซึ่งต่อไปจะกลายเป็นนวัตกรรม ซึ่งนำไปสู่ที่เรียกว่า วิทยาลัยมีนวัตกรรม … J.Wittaya …
พยายามหาวิธีการที่เป็นต้นแบบ สร้างเกณฑ์ต้นแบบ การการวัดและประเมินผลสภาพจริง ขอให้ผลงานที่เกิดขึ้นมีผลต่อการพัฒนาคุณภาพครู ที่ก้าวไปสู่สมรรถนะที่กล่าวไว้ในหลักสูตร เน้นสมรรถนะให้ออกมาให้ชัดเจน ทำให้เกิดเทคโนโลยีของวิทยาลัย ร่วมกันค้นหา KPI ของการประเมิน เช่น ข้าว มากกว่า 1 ตัน ต่อไร่ โดยที่ใน 1 งาน ให้ได้ 25,000 บาท เพราะต้องเท่าคำว่า ไร่ละแสน วิเคราะห์ต้นทุนให้ได้ เช่น ข้าว 4,000 บาท ต่อไร่ ซึ่งปัจจุบันพบว่า มีต้นทุน 9,700 บาท ต่อไร่ ขายเพียง 10,000 บาท จึงไม่มีกำไร ซึ่งในขณะที่ ประเทศพม่า มีต้นทุนประมาณ 2,000 - 3,000 บาทต่อไร่ ประเทศเวียดนาม ประมาณ 5,700 บาท ต่อไร่ … J.Wittaya …
ขอให้วิเคราะห์หาค่าแรงงาน และอื่นๆ ออกมาเป็นรายการ ๆ ขอให้วิเคราะห์หาค่าแรงงาน และอื่นๆ ออกมาเป็นรายการ ๆ ให้วิจัยจิตพิสัยผู้เรียน วิจัยเทคโนโลยี และดำเนินการอย่างต่อเนื่อง (อย่าทำแบบไฟไหม้ฟาง) และหาแนวทางไปสู่การมีวิทยฐานะเชิงประจักษ์ไว้ด้วย ซึ่งจะเป็นงานที่สุดยอด ให้รายงานให้ผม (รองฯ วณิชย์) ทราบ ทุกครั้ง ทุกระยะ อย่างต่อเนื่อง โดยการใช้เทคโนโลยีเช่น Facebook หรือ Line หรือ Internet และรูปแบบเอกสารที่สมบูรณ์ โดยรายงานว่าวิทยาลัยที่ไหนที่น่าสนใจ มีผลงานเป็นที่น่าพอใจ ความก้าวหน้าของการทำงาน ท่านรองฯ จะแวะเยี่ยมชมอาจจะไม่แจ้งให้ทราบล่วงหน้า ถ้าผ่านไปเมื่อไร จะแวะเยี่ยมชม … J.Wittaya …
ตัวบ่งชี้การประกันคุณภาพภายนอกรอบสาม ตัวบ่งชี้ที่ ๔ ผลงานที่เป็นโครงงานทางวิชาชีพหรือสิ่งประดิษฐ์ของผู้เรียนที่ได้นำไปใช้ประโยชน์ ร้อยละของจำนวนผลงานที่เป็นโครงการทางวิชาชีพหรือสิ่งประดิษฐ์ของผู้เรียนที่ได้นำไปใช้ประโยชน์ไม่น้อยกว่า ๖ เดือนหรือได้รับรางวัล ยกย่องโดยหน่วยงานหรือองค์กรภายนอกที่ได้รับการยอมรับ หรือแข่งขันภายในสถานศึกษาที่มีกรรมการอย่างน้อย ๓ คน โดยมีกรรมการภายนอก ๑ คน และระบุการนำไปใช้ประโยชน์ในสถานศึกษา ชุมชน ระดับชาติ (นับชั้นปีสุดท้าย ของ ปวช.,ปวส.) คำนวณ โดย ปวช.ผู้เรียนปีสุดท้ายหาร 3 เช่น 150/3 = 50 คน) คำนวณ โดย ปวส.ผู้เรียนปีสุดท้ายหาร 2 เช่น 180/2 = 90 คน) ตัวบ่งชี้การประกันคุณภาพภายนอกรอบสาม … J.Wittaya …
หลักฐานที่ใช้ในการพิจารณา ตัวบ่งชี้มาตรฐานการประกันคุณภาพภายใน 2555 5.1 ระดับคุณภาพในการบริหารจัดการโครงการ/ สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัย ของผู้เรียน 1. ข้อมูลผู้เรียน ระดับชั้น ปวช. 3 และระดับชั้น ปวส. 2 จำแนกตามประเภทวิชา สาขาวิชา สาขางาน 2. หลักฐานการส่งเสริม สนับสนุนการจัดทำ การจัดประกวด จัดแสดงโครงการ สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัย 3. ข้อมูลโครงการ สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัย ในระดับชั้น ปวช. 3 และระดับชั้น ปวส. 2 ในแต่ละสาขางาน 4. ข้อมูลโครงการ สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัยที่ได้รับรางวัลหรือนำไปใช้ประโยชน์ในสถานศึกษา และได้รับการเผยแพร่ 6. ข้อมูลโครงการ สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัยที่ได้รับรางวัลหรือนำไปใช้ประโยชน์ในระดับชุมชน จังหวัด ภาค และชาติ ตัวบ่งชี้มาตรฐานการประกันคุณภาพภายใน 2555 … J.Wittaya …
ด้านหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา มาตรฐานที่ 2 ด้านหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา “พัฒนาหลักสูตรและจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบการหรือประชาคมอาเซียน โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญด้วยเทคนิควิธีการสอนที่หลากหลายมุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพ และบูรณาการ คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม คุณลักษณะที่พึงประสงค์และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” … J.Wittaya …
หลักฐานที่ใช้ในการพิจารณา ตัวบ่งชี้ หลักฐานที่ใช้ในการพิจารณา 2.1 ระดับคุณภาพในการใช้และพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะรายวิชาที่สอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบการ หรือประชาคมอาเซียน 1. ข้อมูลสาขางานที่เปิดสอนในสถานศึกษา 2. รายงานการสำรวจความต้องการหรือความจำเป็นในการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะรายวิชา 3. หลักฐานความร่วมมือกับสถานประกอบการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะรายวิชา 4. หลักฐานการทดลองใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะรายวิชา 5. หลักฐานการประเมินหลักสูตรฐานสมรรถนะรายวิชา 6. หลักฐานที่สาขางานได้นำหลักสูตรฐานสมรรถนะรายวิชาที่พัฒนาแล้วไม่เกิน 3 ปี ไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน 7. ร้อยละของสาขางานที่ได้นำหลักสูตรฐานสมรรถนะรายวิชาที่พัฒนาแล้วไม่เกิน 3 ปี ไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน เทียบกับสาขางานที่เปิดสอนในสถานศึกษา … J.Wittaya …
หลักฐานที่ใช้ในการพิจารณา ตัวบ่งชี้ หลักฐานที่ใช้ในการพิจารณา 2.2 ระดับคุณภาพในการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา 1. ข้อมูลครูผู้สอนทั้งหมดในสถานศึกษา 2. หลักฐานหรือคำสั่งมอบหมายวิชาสอนหรือตารางสอน 3. แผนการจัดการเรียนรู้ ด้วยเทคนิควิธีการสอนที่หลากหลายที่มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพและบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของครูแต่ละคนทุกรายวิชาที่สอน 4. ร้อยละของครูที่จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ ด้วยเทคนิควิธีการสอนที่หลากหลาย ที่มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพ และบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทุกรายวิชาที่สอนเทียบกับครูผู้สอนทั้งหมดในสถานศึกษา … J.Wittaya …
หลักฐานที่ใช้ในการพิจารณา ตัวบ่งชี้ หลักฐานที่ใช้ในการพิจารณา 2.3 ระดับคุณภาพ ในการจัดการเรียน การสอนรายวิชา 1. ข้อมูลรายวิชาทั้งหมดที่สถานศึกษาจัดการเรียนการสอน 2. หลักฐานหรือคำสั่งมอบหมายวิชาสอนหรือตารางสอน 3. หลักฐานของรายวิชาที่ดำเนินการจัดการเรียนการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิควิธีการสอนที่หลากหลาย ที่มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพ และบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4. หลักฐานของรายวิชาที่มีการใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสม ในการจัดการเรียนการสอน … J.Wittaya …
หลักฐานที่ใช้ในการพิจารณา ตัวบ่งชี้ หลักฐานที่ใช้ในการพิจารณา 2.3 ระดับคุณภาพ ในการจัดการเรียน การสอนรายวิชา (ต่อ) 5. หลักฐานของรายวิชาที่มีการนิเทศการจัดการเรียนการสอนและให้ครูทำบันทึกหลังการสอน 6. หลักฐานของรายวิชาที่ครูนำผลจากการสอนด้วยเทคนิควิธี การสอนที่หลากหลาย และผลการนิเทศการจัดการเรียนการสอนไปจัดทำวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาหรือพัฒนาการเรียนการสอน 7. หลักฐานของรายวิชาที่ครูนำผลจากการวิจัยไปแก้ไขปัญหาหรือพัฒนาการเรียนการสอน … J.Wittaya …
หลักฐานที่ใช้ในการพิจารณา ตัวบ่งชี้ หลักฐานที่ใช้ในการพิจารณา 2.4 ระดับคุณภาพ ในการวัดและประเมินผลการจัดการเรียน การสอนรายวิชา 1. ข้อมูลครูผู้สอนทั้งหมดในสถานศึกษา 2. หลักฐานหรือคำสั่งมอบหมายวิชาสอนหรือตารางสอน 3. หลักฐานการกำหนด และแจ้งหลักเกณฑ์และวิธีการวัดและประเมินผลให้ผู้เรียนทราบก่อนการจัดการเรียนการสอนของครู ทุกคนในทุกรายวิชาที่สอน 4. หลักฐานการวัดและประเมินผลตามแผนการจัดการเรียนรู้ของครูทุกคนใน ทุกรายวิชาที่สอน 5. หลักฐานการใช้วิธีการวัดและประเมินผลที่หลากหลายและเหมาะสมของครูทุกคนในทุกรายวิชาที่สอน … J.Wittaya …
หลักฐานที่ใช้ในการพิจารณา ตัวบ่งชี้ หลักฐานที่ใช้ในการพิจารณา 2.4 ระดับคุณภาพ ในการวัดและประเมินผลการจัดการเรียนการสอนรายวิชา (ต่อ) 6. หลักฐานการให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการวัดและประเมินผลของครูทุกคนในทุกรายวิชาที่สอน 7. หลักฐานการนำผลจากการวัดและประเมินผลไปใช้ใน การพัฒนาสมรรถนะผู้เรียน ที่มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพ และบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของครูทุกคนในทุกรายวิชาที่สอน … J.Wittaya …
กระบวนการเรียนรู้ที่ดี เกิดจากกระบวนการสร้างความเข้าใจกับสิ่งที่ได้เรียนรู้มา เป็นกระบวนการเชื่อมโยงระหว่างความรู้เก่าที่มีอยู่ในตัวผู้เรียนกับความรู้ใหม่ที่ได้รับ เกิดจากการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น ยิ่งมีการถกเถียงแลกเปลี่ยนกับผู้อื่นมาก การเรียนรู้ก็ยิ่งเกิดขึ้นได้มาก นนนนน J.wittaya
เกิดจากผู้เรียนสามารถกำหนดขั้นตอนการเรียนและวิธีการเรียนรู้ด้วยตนเองได้มาก ยิ่งในกรณีที่ผู้เรียนพึ่งพาตนเองได้มาก การเรียนรู้ยิ่งเกิดขึ้นได้มาก ผู้เรียนมีความชัดเจนในเป้าหมาย หรือวัตถุประสงค์ของการเรียนและเป้าหมายการเรียนนั้นมีความหมายกับตัวผู้เรียน มีการผสมผสานระหว่างจิตใจ ร่างกาย สภาพแวดล้อม และบริบทของการเรียน นั่นคือ เมื่อมีการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งที่เรียนกับชีวิตจริง นนนนน J.wittaya
“การเรียนรู้ที่ดีไม่ได้มาจากการหาวิธีการสอนที่ดีแก่ผู้สอน กระบวนการทางปัญญา ฝึกสังเกต ฝึกบันทึก ฝึกการนำเสนอ ฝึกการฟัง ฝึกถาม – ตอบ ฝึกการค้นหาคำตอบ ฝึกตั้งสมมุติฐาน ฝึกทำวิจัย ฝึกเชื่อมโยงบูรณาการ ฝึกการเรียนที่หลากหลาย “การเรียนรู้ที่ดีไม่ได้มาจากการหาวิธีการสอนที่ดีแก่ผู้สอน แต่มาจากการให้โอกาสที่ดีแก่ผู้เรียนในการสร้าง” (constructionism) นนนนน wittaya2503@gmail.com
การเรียนรู้แบบใช้โครงงาน (Project Based Learning) การเรียนรู้แบบใช้หัวข้อปัญหา (Problem Based Learning) นนนนน wittaya2503@gmail.com
การเรียนรู้ด้วยโครงการคืออะไร? เป็นวิธีการจัดการเรียนรู้ที่ยึดผู้เรียนเป็นสำคัญวิธีการหนึ่ง ช่วยพัฒนาผู้เรียนทั้งด้านความรู้และทักษะผ่านการทำงานที่มีการค้นคว้าและการใช้ความรู้ในชีวิตจริง ใช้ผลงานและการแสดงออกถึงศักยภาพจากการเรียนรู้ ถูกขับเคลื่อนโดยใช้คำถามกำหนดกรอบการเรียนรู้ที่เป็นตัวเชื่อมโยงระหว่างมาตรฐานการเรียนรู้กับทักษะการคิดสู่สถานการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิตจริง wittaya2503@gmail.com 16/09/61
ลักษณะสำคัญของการเรียนรู้ด้วยโครงการ เรื่องหรือประเด็นปัญหาที่จะจัดเป็นโครงการ เป็นเรื่องที่ผู้เรียนสนใจ ต้องการหาคำตอบ 2. วิธีการหาคำตอบ เป็นการศึกษาด้วยตนเอง ที่มีลักษณะ เป็นกระบวนการ มีระบบ มีวิธีการศึกษาหลายวิธี ซึ่งครอบคลุมถึงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้อื่น มีการศึกษาจากแหล่งการเรียนรู้ / แหล่งข้อมูลที่หลากหลาย มีครูเป็นที่ปรึกษาตลอดกระบวนการทางาน 3. ค้นพบองค์ความรู้ หรือข้อสรุปจากโครงการ ซึ่งมีลักษณะ สามารถนำไปใช้ในชีวิตจริงได้ กระตุ้นให้ต้องการที่จะศึกษาหาคำตอบอย่างต่อเนื่อง สามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้อื่นได้ wittaya2503@gmail.com 16/09/61
กลยุทธการเรียนการสอน แบบโครงการเป็นฐาน wittaya2503@gmail.com 16/09/61
Learning Process / Constructionism Motivation Learning/ Knowledge Information Searching Self-Learning Conclusion and Presentation Show and Share/ Reflection Knowledge Transfer นนนนน Experiment wittaya2503@gmail.com
National Training Laboratories, Bethel, Maine, USA The Learning Pyramid Average Retention Rate Lecture 5 % (เรียนในห้องเรียน นั่งฟังบรรยาย) Reading (อ่านด้วยตัวเอง) 10 % Audiovisual (ฟังและได้เห็น เช่น ดูโทรทัศน์ ฟังวิทยุ) 20 % Demonstration 30 % (ได้เห็นตัวอย่าง) Discussion group 50 % นนนนน (พูดคุยแลกเปลี่ยนความรู้กันในกลุ่ม) Practice by doing 75 % (ได้ทดลองปฏิบัติเอง) 80 % Teach others (ได้สอนผู้อื่น เช่น การติว) National Training Laboratories, Bethel, Maine, USA
สมรรถนะของผู้เรียนจากการเรียนรู้แบบโครงการ 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี wittaya2503@gmail.com 16/09/61
โครงการพัฒนาทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี ทำการตัดสินใจได้อย่างรอบคอบ มีความคิดริเริ่ม แก้ไขปัญหาที่ซับซ้อนได้ จัดการกับตนเองได้ สื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับ ความต้องการ ของสถานประกอบการ wittaya2503@gmail.com 16/09/61
ทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 ประกอบด้วย ความรับผิดชอบ และการปรับตัว ฝึกความรับผิดชอบต่อตนเอง และมีความยืดหยุ่นต่อบริบทของสถานประกอบการและชุมชน กำหนดมาตรฐานและเป้าหมายขั้นสูงทั้งของตนเองและผู้อื่น และดำเนินการให้บรรลุผลตามมาตรฐานและเป้าหมายที่กำหนด อดทนต่ออุปสรรคทั้งปวง ทักษะการสื่อสาร เข้าใจ จัดการและสร้างสรรค์วิธีการสื่อสารด้วยการพูด การเขียนและมัลติมีเดีย ในรูปแบบและบริบทต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ wittaya2503@gmail.com 16/09/61
ความคิดสร้างสรรค์และความใฝ่รู้ใฝ่เรียน พัฒนาไปใช้และสื่อสารแนวคิดใหม่ๆ ไปสู่ผู้อื่น เปิดกว้างรับฟัง ตอบสนองต่อมุมมองที่หลากหลาย การคิดอย่างมีวิจารณญาณและคิดเป็นระบบ ฝึกการแสดงเหตุผล เพื่อแสดงความเข้าใจและสร้างทางเลือกที่หลากหลาย และเข้าใจการเชื่อมโยงระหว่างกันอย่างเป็นระบบ ทักษะการใช้ข้อมูลสารสนเทศและสื่อ วิเคราะห์ เข้าถึง จัดการบูรณาการ ประเมินผลและสร้างสรรค์ข้อมูลสารสนเทศในรูปแบบ และสื่อที่หลากหลาย wittaya2503@gmail.com 16/09/61
ทักษะระหว่างบุคคลและทักษะการทำงานร่วมกัน แสดงให้เห็นการทำงานเป็นทีมและภาวะความเป็นผู้นำ การปรับตัวตามบทบาทและความรับผิดชอบที่หลากหลาย การทำงานอย่างมีคุณภาพร่วมกับผู้อื่น ฝึกความเห็นใจและเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง การระบุกำหนด และแก้ปัญหา สามารถที่จะกำหนดขอบเขตของปัญหา วิเคราะห์และแก้ปัญหาได้ การกำกับตนเอง กำกับความต้องการในการเรียนและความเข้าใจของตนเอง ใช้แหล่งเรียนรู้ที่เหมาะสม ถ่ายทอดสิ่งที่เรียนรู้สู่ผู้อื่นได้ ความรับผิดชอบต่อสังคม แสดงความใส่ใจและรับผิดชอบต่อประโยชน์ของสังคมส่วนใหญ่ แสดงพฤติกรรมที่เหมาะสมต่อบุคคล สถานที่และบริบทของสังคม wittaya2503@gmail.com 16/09/61
Thank You wittaya2503@gmail.com : 081 – 764 - 3448