แนวทางการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ ของ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กรอบแนวคิด การจัดทำยุทธศาสตร์ แผนงาน / โครงการ กรอบแนวคิด การจัดทำยุทธศาสตร์ แผนงาน / โครงการ นโยบายรัฐบาล ยุทธศาสตร์แค่ระยะ 20 ปี และการ ปฏิรูปประเทศ.
Advertisements

ทิศทางและนโยบายการจัดการศึกษา 2556 วิสัยทัศน์ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็น องค์กรหลักขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของประเทศไทยให้ได้มาตรฐานสากล.
บทบาทภารกิจที่ เปลี่ยนแปลงของ สสจ. หลัง ยกเลิกการเป็น สปสช. สาขาจังหวัด นางประภาพร บรรยงค์ หัวหน้ากลุ่มงานประกันสุขภาพ สสจ. ขอนแก่น.
การประชุมสัมมนาผู้อำนวยการ โรงเรียนในสังกัด วันที่ 13 มกราคม 2559 ณ ห้องประชุม สพป. อุดรธานี เขต 3.
ประธานกลุ่ม:พ.อ.กิตติศักดิ์ ดวงกลาง สมาชิก:ผู้แทนจาก สขว.กอ.รมน., ศปป.1 กอ.รมน., ศปป.6 กอ.รมน., กอ.รมน.ภาค 2, กอ.รมน.จังหวัด ก.ส., ข.ก., บ.ก., น.ค., ล.ย.,
การประชุม เพื่อขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาการทับซ้อนของ พื้นที่ป่าไม้และเขตปฏิรูปที่ดิน ระดับจังหวัด โดย นางมิ่งขวัญ วิชยารังสฤษดิ์ ปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.
1. 2 สถานะโครงการสำคัญในปีงบประมาณ 2559 พร้อมจะส่งมอบ 8,112 หน่วย พร้อมจะส่งมอบ 8,112 หน่วย ส่งมอบ 10 โครงการ 1,384 หน่วย อยู่ระหว่างก่อสร้าง จะแล้วเสร็จ.
ฝ่ายอำนวยการ งานธุรการและงาน สารบรรณ งานการเงินและบัญชี งานพัสดุ งานการเจ้าหน้าที่ งานสวัสดิการ งานนโยบายและที่รับ มอบหมาย ยิ้มงาม ถามไถ่ เต็มใจบริการ.
บริษัท จำกัด Logo company
Strategy Map วิสัยทัศน์ : “เป็นองค์การที่เป็นเลิศในการบริหารจัดการและคุ้มครองสิทธิการถือครองที่ดินของรัฐและประชาชน มุ่งเน้นการให้บริการโดยบริหารจัดการที่ดี
ปฐมนิเทศนักศึกษาฝึกงานภายนอก 18 สิงหาคม 2558
การประชุมซักซ้อมเตรียมการชี้แจงงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
Strategy Map สำนักงานสรรพากรภาค 3
แผนยุทธศาสตร์และการบริหารโครงการ
นักวิชาการเงินและบัญชี ชำนาญการ
โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
หนองบัวลำภู นายทรงเดช ทิพย์โยธา -ว่าง- นายเฉลิมชัย เรืองนนท์
นักวิชาการสาธารณสุขเชี่ยวชาญ ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 12 มกราคม 2550
พัฒนาระดับภาค ๖ ภาค การจัดทำแผน ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
รวบรวมข้อมูลโดย กลุ่มแผนงานงบประมาณอุดมศึกษา สำนักนโยบายและแผนการอุดมศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา.
ทิศทางการดำเนินงาน ของกรมการข้าว ปี 2561
ไคเซ็น KAIZEN.
ระเบียบวาระการประชุม
การส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ปี 2560
ระบบฐานข้อมูลอนามัยสิ่งแวดล้อมประเทศไทย
โครงสร้างอัตรากำลังของสำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย
ผลการดำเนินงานในภาพรวมของ โครงการ TO BE NUMBER ONE ประจำปี 2559
ระเบียบวาระการประชุม
ความคืบหน้าการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
วาระที่ 3.1 กิจกรรมเฉลิมพระเกียรติ
กรมกิจการเด็กและเยาวชน
รหัส รายวิชาหนึ่งหลักสูตรหนึ่งชุมชน
โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่
ปัญหาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
แนวทาง การจัดทำงบประมาณ ปี พ.ศ. 2562
สำนักส่งเสริมพัฒนาการบัญชี และถ่ายทอดเทคโนโลยี (สพถ.)
กองส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชน
โครงการบริหารจัดการเขตเกษตรเศรษฐกิจ สำหรับสินค้าเกษตรที่สำคัญ (Zoning) ปีงบประมาณ 2561 กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร โทร.-โทรสาร
PMQA ปี 53 หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ SP ส่วนราชการ SP 5 ส่วนราชการมีการถ่ายทอด (Cascading) ตัวชี้วัดและเป้าหมายระดับองค์การลงสู่ระดับหน่วยงาน(สำนัก/กอง)
แผนขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ 2561
ลำพูน นายพงษ์ธาดา แก้วกมล หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการโยธาธิการ
สงขลา นายไมตรี สรรพสิน นางฐาปณี รสสุคนธ์ นายพิชัย อุทัยเชฏฐ์
กรอบแนวทางในการจัดทำงบประมาณ แผนยุทธศาสตร์แบบบูรณาการ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
กรอบการบริหารยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ ปี 2560
อุบลราชธานี นายนิวัตร ชูสมุทร นายชัยศักดิ์ ปิยะประสิทธิ์
การเตรียมตัวสู่ประชาคมอาเซียน
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดนครนายก
สมุทรสงคราม -ว่าง- นายธีระชาติ ไทรทอง นางภาวดี ภูมรินทร์
ผลการประชุมกลุ่มสาธารณสุข ไทย-ลาว
ร่างแผนปฏิรูปองค์การ สำนักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
แผนผังความคิด.
การติดตามเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณ
การใช้ประโยชน์ข้อมูลสภาพ และปัญหาด้านทรัพยากรน้ำในลุ่มน้ำ
พืชเกษตรอย่างครบวงจรในระดับพื้นที่
แผนการขับเคลื่อน Smart Agricultural Curve ปี 2561 (ระบบส่งน้ำและกระจายน้ำ) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรมชลประทาน วันพุธที่ 6 กันยายน 2560.
โครงการชลประทานมุกดาหาร สำนักงานชลประทานที่ 7
คัดสรรกิจกรรมพัฒนาชุมชนดีเด่น ประจำปี 2562
ผู้วิจัย : สุภาพร อภิพันธุ์
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควมคุมโรค
ผลงานตามโครงการพระราชดำริ โครงการ TO BE NUMBER ONE 1
Work Smart Award 2017 โครงการชลประทานมุกดาหาร
เรียนรู้เทคนิคการสร้าง PowerPoint slide Index
แผนพัฒนาการเกษตรตำบลแสลงพันปีงบประมาณ ๒๕๖๐ พื้นที่เพาะปลูกพืช เศรษฐกิจ
แผนงานบูรณาการพัฒนาระบบการให้บริการประชาชนของหน่วยงานภาครัฐ
แผนงานบูรณาการพัฒนาระบบการให้บริการประชาชนของหน่วยงานภาครัฐ
รูปภาพประกอบเกี่ยวกับ
สรุปผลการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ. ศ ของ ภ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ของ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช

1 2 3 4 5 6 แนวทางการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ให้ความสำคัญกับการจัดทำงบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ ที่สอดคล้องตามกรอบยุทธศาสตร์ชาติ 1 2 ให้มีการจัดทำข้อเสนองบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 เบื้องต้น ให้มีการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 โดยนำข้อเสนองบประมาณลำดับที่ 1 และ 2 มาประกอบการพิจารณา 3 ให้มีการกำหนดเป้าหมาย กลยุทธ์ ผลผลิต/โครงการ กิจกรรม และตัวชี้วัดผลสำเร็จ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ที่มีความชัดเจน 4 ให้มีการจัดทำแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณที่ชัดเจน 5 ให้มีการบูรณาการงบประมาณในมิติพื้นที่ (Area) โดยส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่น บูรณาการการจัดทำงบประมาณร่วมกับจังหวัด/กลุ่มจังหวัด 6

การจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 โครงสร้างแผนงานตามยุทธศาสตร์ เพื่อการจัดการงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 กำหนดขึ้นภายใต้ ร่างกรอบยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2558 – 2577) ทิศทางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 – 2559) นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ (พ.ศ. 2558 – 2564) และ นโยบายสำคัญของรัฐบาล การจัดการงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 กำหนดให้สามารถแสดงค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานได้ 3 ส่วน ประกอบด้วย รายจ่ายบุคลากรภาครัฐ (แผนงานบุคลากรภาครัฐ) รายจ่ายตามภารกิจพื้นฐาน (แผนงานพื้นฐาน) รายจ่ายตามภารกิจยุทธศาสตร์ (แผนงานยุทธศาสตร์) แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานบูรณาการ

กรอบยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) “ยั่งยืน” “มั่นคง” ความมั่นคง 1 2 3 4 5 6 การสร้าง ความสามารถ ในการแข่งขัน การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน การสร้างโอกาส ความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม การสร้าง การเติบโตบนคุณภาพชีวิต ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ “มั่งคั่ง” เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ “ประเทศมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนา ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” นำไปสู่การพัฒนาให้คนไทยมีความสุข และตอบสนองตอบต่อการบรรลุ ซึ่งผลประโยชน์แห่งชาติ ในการที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิต สร้างรายได้ระดับสูง เป็นประเทศพัฒนาแล้ว และสร้างความสุขของคนไทย สังคมมีความมั่นคง เสมอภาคและเป็นธรรม ประเทศสามารถแข่งขันได้ในระบบเศรษฐกิจ

ความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี กับแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ครม. มีมติเมื่อวันที่ 22 ธ.ค. 2558 เห็นชอบทิศทางและกรอบยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 – 2564) ตามที่สำนักงานฯ เสนอ โดยมี ความเห็นเพิ่มเติมว่าแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ต้องมีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และมีการแปลงยุทธศาสตร์ชาติดังกล่าวเป็นแผนงาน/โครงการ ในช่วง 5 ปี โดยระบุแผนปฏิบัติการ และกำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จที่เป็นรูปธรรม รวมทั้งให้มีการประเมินผลของการดำเนินงานทุกรอบ 1 ปี และ 5 ปี พ.ศ. 2579 2558 ยุทธศาสตร์ ด้านความมั่นคง ยุทธศาสตร์ ด้านการสร้างความสามารถ ในการแข่งขัน ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน ยุทธศาสตร์ด้าน การสร้างโอกาส ความเสมอภาคและ เท่าเทียมกันทางสังคม ยุทธศาสตร์ด้าน การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี 2560 2561 2562 2563 2564 แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13 14 15 แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 จะสอดรับกับกรอบยุทธศาสตร์ชาติระยะยาว 20 ปี ในลักษณะของการถ่ายทอดยุทธศาสตร์ ระยะยาวลงสู่การปฏิบัติในช่วงเวลา 5 ปี แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 - 2564)

6-6-4 ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี สู่ยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่12

ความเชื่อมโยงเป้าหมายกระทรวง/หน่วยงานกับแผนฯ 12 กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช แผนฯ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 4 การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน เป้าหมาย การรักษาและฟื้นฟูฐานทรัพยากรธรรมชาติ เพิ่มพื้นที่ป่าไม้เป็นร้อยละ 40 การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม สัดส่วนพื้นที่ป่าไม้ของประเทศ พื้นที่ปลูกและฟื้นฟูป่าพื้นที่ป่าชายเลน จำนวนชนิดพันธุ์ของสิ่งมีชีวิติที่ใกล้สูญพันธุ์ หรืออยู่ในภาวะคุกคาม การจัดทำแนวเขตที่ดินของรัฐ (One Map) สัดส่วนของขยะมูลฝอยชุมชนได้รับการจัดการอย่างถูกต้องฯ คุณภาพน้ำผิวดินที่อยู่ในเกณฑ์ดี คุณภาพอากาศในพื้นที่วิกฤตหมอกควัน ตัวชี้วัดแผน 12 เป้าหมายกระทรวง รักษา ฟื้นฟูและจัดการการใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติ จัดการสิ่งแวดล้อมและลดมลพิษ พื้นที่ป่าไม้ได้รับการรักษา 102.3 ล้านไร่ พื้นที่ป่าไม้ที่ทวงคืนได้ 140,000 ไร่ พื้นที่ป่าไม้เพิ่มขึ้น 150,000 ไร่ ส่งเสริมการปลูกป่าเศรษฐกิจ 15,050 ไร่ จำนวนชนิดพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตที่ใกล้สูญพันธุ์หรืออยู่ในภาวะคุกคาม ได้รับการอนุรักษ์คุ้มครอง 20 ชนิด กำหนดแหล่งแร่เพื่อใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ 4 ชนิด จัดหาที่ดินให้ผู้ยากไร้ 304,248 ไร่ แหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ได้รับการพัฒนาศักยภาพ 249 แห่ง ขยะมูลฝอยได้รับการจัดการอย่างถูกต้องจำนวน 14.7 ล้าน ตัน คุณภาพน้ำผิวดินอยู่ในระดับดี 49 แหล่งน้ำ คุณภาพอากาศในพื้นที่วิกฤตหมอกควันอยู่ในระดับ มาตรฐานร้อยละ 85 คุณภาพอากาศในพื้นที่วิกฤตดีขึ้น ประชากรมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม 6,000,000 คน ตัวชี้วัด เป้ากระทรวง เป้าหมายหน่วยงาน อนุรักษ์ และฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่า จัดการขยะและลดมลพิษหมอกควันจากไฟป่า พื้นที่ป่าไม้ได้รับการรักษา 61.089 ล้านไร่ จำนวนชนิดพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตที่ใกล้สูญพันธุ์หรืออยู่ในภาวะคุกคาม ได้รับการอนุรักษ์คุ้มครอง 13 ชนิด พื้นที่ป่าไม้เพิ่มขึ้น 56,000 ไร่ (เป็นเงินนอก จำนวน 27,000 ไร่ ) พื้นที่ป่าไม้ที่ทวงคืนได้ 35,000 ไร่ แหล่งท่องเที่ยวในพื้นที่อนุรักษ์ได้รับการพัฒนาและเพิ่มศักยภาพ เพื่อรองรับนักท่องเที่ยวอย่างเหมาะสม 243 แห่ง อุทยานแห่งชาติทางทะเลมีการบริหารจัดการขยะและของเสียอย่างมีระบบ 156 ตัน มีเครือข่ายการแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควัน จำนวน 1,370 เครือข่าย ตัวชี้วัด

ตัวชี้วัด ผลผลิต/โครงการ 1. แหล่งท่องเที่ยวในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ - บริการด้านการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ 243 แห่ง 2. องค์ความรู้ด้านการอนุรักษ์ป่าไม้และสัตว์ป่า - จำนวนงานวิจัยด้านการอนุรักษ์ป่าไม้และสัตว์ป่า 22 โครงการ - จำนวนข้อมูลที่บันทึกในฐานข้อมูล 100 รายการ - ให้บริการและถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการอนุรักษ์ป่าไม้และสัตว์ป่า 1,620 ครั้ง 3. โครงการจัดการพื้นที่คุ้มครองที่เป็นมรดกโลก มรดกแห่งอาเซียนฯ - บริหารจัดการและดูแลทรัพยากรธรรมชาติ พื้นที่มรดกโลกและ มรดกอาเซียน 4 แนว 4. พื้นที่ป่าอนุรักษ์ได้รับการบริหารจัดการ - พื้นที่ป่าอนุรักษ์ได้รับการบริหารจัดการ 73 ล้านไร่ 5. ฐานข้อมูลพื้นที่ป่าอนุรักษ์ - จำนวนชั้นข้อมูลที่สามารถนำไปใช้เพื่อการบริหาร จัดการพื้นที่ป่า อนุรักษ์ 5 ชั้น 6. โครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในภาคป่าไม้ฯ - มีชุมชนต้นแบบนำร่องในการจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ยั่งยืน เพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกภาคป่าไม้ 8 ชุมชน 7. โครงการศูนย์ข้อมูลติดตามการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่าและเตือนภัยพิบัติ ในพื้นที่อนุรักษ์ (ระยะที่ 2) - ติดตามการบุกรุกทำลายพื้นที่ป่าอนุรักษ์ ไม่น้อยกว่า 1,200 จุด - ประมวลผลการเปลี่ยนแปลงอันก่อให้เกิดภัยพิบัติที่อาจเกิดขึ้นบนพื้นที่ อนุรักษ์ได้อย่างต่อเนื่อง รวมถึงการรายงานผ่านระบบ ไม่น้อยกว่า 208 ครั้ง 8. โครงการรักษาความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติ - จำนวนชุมชนที่มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ 100 หมู่บ้าน - จำนวนแปลงที่ดินที่สามารถทำการตรวจสอบพิสูจน์การครอบครองที่ดิน 10,000 แปลง - ปรับปรุงพระราชกฤษฎีกาแนวเขตพื้นที่อนุรักษ์ 4,000 ระวาง - พื้นที่ต้นน้ำในลุ่มน้ำขนาดเล็กที่วิกฤตได้รับการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ 100 ลุ่มน้ำ(ขนาดเล็ก) - จำนวนหน่วยงานที่ดำเนินการตามแผนปฏิบัติการงาช้างแห่ง ประเทศไทยได้รับการจัดการ 22 ศูนย์ - จำนวนหมู่ดับไฟป่าเคลื่อนที่ได้รับการจัดตั้งเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ในการดับไฟป่า 20 หมู่ - จำนวนพื้นที่ป่าอนุรักษ์ที่ได้มีการติดตามแก้ไขปัญหาช้างป่าและ สัตว์ป่าที่สร้างผลกระทบต่อราษฎรนอกพื้นที่อนุรักษ์ 38 แห่ง - พื้นที่อนุรักษ์ที่เสื่อมสภาพได้รับการฟื้นฟู 18,500 ไร่ - ทรัพยากรปะการังในอุทยานแห่งชาติได้รับการคุ้มครอง 48,212 ไร่ - จำนวนหน่วยพิทักษ์ป่าและจุดสกัดที่ได้รับการจัดตั้งเพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพในการคุ้มครองพื้นที่ป่าอนุรักษ์ 20/35 หน่วย/จุด 9. โครงการเพิ่มศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ (บูรณาการ) - เพิ่มศักยภาพด้านการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ จำนวน 9 แห่ง 10. โครงการฟื้นฟูพื้นที่ป่าอนุรักษ์ (ลุ่มน้ำ) ระยะที่ 1 (บูรณาการ) - ฟื้นฟูพื้นที่ป่าอนุรักษ์ (ลุ่มน้ำ) ระยะที่ 1 จำนวน 10,000 ไร่ 1. โครงการขยะแบบองค์รวมในพื้นที่อุทยานแห่งชาติทางทะเล (บูรณาการ) - อุทยานแห่งชาติทางทะเลมีการบริหารจัดการขยะและ ของเสียอย่างมีระบบ 156 ตัน 2. โครงการเสริมสร้างความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาไฟป่า และหมอกควัน - มีเครือข่ายการแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควัน จำนวน 1,370 เครือข่าย ผลผลิต/โครงการ ตัวชี้วัด งบประมาณ 5,732.7195 ล้านบาท 99.5997 ล้านบาท งบประมาณรวม 10,916.2308 ล้านบาท ซึ่งอยู่ในยุทธศาสตร์ที่ 4 จำนวน 5,832.3192 ล้านบาท และแผนงานบุคลากรภาครัฐ 5,092.6735 ล้านบาท หมายเหตุ

สรุปงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ 2560 กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช งบประมาณกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช 10,916.2308 ล้านบาท 1. แผนงานบุคลากร 5,092.6735 ล้านบาท 2. แผนงานพื้นฐาน 4,685.7255 ล้านบาท แผนงานพื้นฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ 426.3188 ล้านบาท แผนงานพื้นฐานด้านการจัดการน้ำและสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน 4,259.4067 ล้านบาท 3. แผนงานยุทธศาสตร์ 1,045.4880 ล้านบาท แผนงานอนุรักษ์ ฟื้นฟู และป้องกันทรัพยากรธรรมชาติ 1,045.4880 ล้านบาท 4. แผนงานบูรณาการ 92.3438 ล้านบาท แผนงานบูรณาการจัดการทรัพยากรน้ำ 39.0000 ล้านบาท แผนงานบูรณาการบริหารจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม 6.8900 ล้านบาท แผนบูรณาการเพิ่มรายได้จากการท่องเที่ยวและบริการ 46.4538 ล้านบาท

ขอขอบคุณ www.DNP.go.th สภาปี57